The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

8. thai 21001

8. thai 21001

92

ขอ แนะนําในการกรอกแบบรายการ ควรระมัดระวงั ในเรอื่ ง ตอไปนี้
1. กรอกดวยความเขาใจ กอนจะกรอกตองอานขอความใหถี่ถวน และควรสอบถาม ถามี

ขอ ความที่ยังไมเ ขาใจ
2. กรอกขอ ความทเ่ี ปนจรงิ ไมกรอกขอความทเี่ ปนเทจ็ เพราะอาจมีผลเสยี หาย ตอตัวผูกรอก

ในภายหลงั
3. กรอกใหครบถวน ชองวางที่ไมไดกรอกขอความตองขีดเสนใตใหเต็มชอง ไมเวนท่ีวางไว

เพราะอาจมผี มู ากรอกขอความเพมิ่ เติมไดภ ายหลงั
4. กรอกขอความดวยตนเอง ไมควรใหผูอ่ืนกรอกแบบรายการแทน ยกเวนในกรณีที่จําเปน

อยางย่ิง เชน ไมอยูในสภาพที่จะเขียนหนังสือได ถาใหผูอื่นกรอกขอความในแบบรายการตองอาน
ขอความน้นั กอ นเพอ่ื ความแนใ จวา ถูกตอง

5. ตรวจทานทกุ คร้ัง เมือ่ กรอกแบบรายการหรอื ลงนามในเอกสาร

กิจกรรม บทที่ 4 การเขียน

1. ใหผูเ รียนเรยี บเรียงขอ ความตอ ไปน้ีใหถกู ตอ งมีความหมายท่สี มบูรณ พรอมระบเุ หตุผล
1.1 การชาํ เราจาํ เปนตองหาท่ีเหมาะ ๆ ใตตนไมยงิ่ ดี
1.2 ฉนั ไปตลาดเพอ่ื ซ้อื ปลาหางมาทาํ แกงสม
1.3 เพ่ือนจะไปเทย่ี วจังหวัดจนั ทบุรี

2. ใหผูเรยี นเขียนแผนภาพความคดิ เรอ่ื ง การเขียน จากเน้ือหาวิชาภาษาไทย
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน พรอ มท้งั ระบุวาเปน แผนภาพความคิดรปู แบบใด

3. ใหผเู รียนเขยี นเรยี งความเรือ่ งทตี่ นเองสนใจ จาํ นวน 1 เรอ่ื ง โดยใชห ลักการเขียนเรยี งความดวย
4. ใหผ เู รยี นเขียนจดหมายถงึ ครู กศน. ท่ีสอนภาษาไทยเพื่อขอลาปวยเน่ืองจากเปนไขหวัดใหญ
ไมสามารถไปพบกลมุ ตามวนั เวลา และสถานท่ีได พรอ มใสซองตดิ แสตมปสงทางไปรษณยี 
เพ่ือใหค รู กศน. ใหคะแนนเกบ็ ระหวางภาคเรียนดว ย
5. จงบอกคาํ ขวัญประจาํ จงั หวดั ของทาน
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
6. ใหผ ูเรยี นรวบรวมคําขวัญท่ีไดพบ พรอ มจดบนั ทกึ ไวอยางนอ ย 10 คําขวัญ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

93

7. จงเขียนคําขวัญชักชวนคนในชุมชนของทานใหชวยกันรักษาความสะอาดของแหลงนํ้า
หรอื สถานที่สาธารณะอยางใด อยางหน่งึ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

เฉลยกจิ กรรม บทที่ 4 การเขียน

1. ใหผ ูเรียนเรยี บเรยี งขอความตอ ไปนใี้ หถ ูกตอ งมีความหมายทส่ี มบูรณ พรอมระบเุ หตผุ ล
1.1 การชาํ เราจาํ เปน ตองหาทเ่ี หมาะๆ ใตตน ไมยงิ่ ดี เพราะตองเวน วรรคคําวา การชํา
1.2 ฉนั ไปตลาดเพือ่ ซ้ือปลาหางมาทาํ แกงสม เพราะคําวาปลาหางเปนคาํ ราชาศพั ท
1.3 เพ่อื นจะไปเทย่ี วจงั หวดั จันทบรุ ี เพราะคาํ วา จันทรบรุ ีเขียนผดิ

2. ใหผเู รียนเขียนแผนภาพความคดิ เรอ่ื ง การเขียน จากเนอื้ หาวชิ าภาษาไทย ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน พรอมทงั้ ระบวุ าเปน แผนภาพความคดิ รปู แบบใด

94

บทท่ี 5
หลกั การใชภาษา

สาระสําคญั

การใชทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู การระดมความคิด การประชุม การวิเคราะห
การประเมิน การเขาใจระดับของภาษา สามารถใชพูดและเขียนไดดี ทําใหเกิดประโยชนท้ังตอสวนตน
และสว นรวม ทัง้ ยงั เปน การอนรุ กั ษข นบธรรมเนยี มประเพณี และวัฒนธรรมไทย

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง ผเู รยี นสามารถ

1. อธบิ ายความแตกตางของคาํ พยางค วลี ประโยค ไดถ กู ตอง
2. ใชเครือ่ งหมายวรรคตอน อกั ษรยอ คาํ ราชาศพั ทไ ดถ ูกตอ ง
3. อธบิ ายความแตกตางระหวางภาษาพดู และภาษาเขียนได
4. อธิบายความแตกตาง ความหมายของสํานวน สุภาษติ คาํ พงั เพย และนาํ ไปใชใ น
ชีวิตประจําวนั ไดถ กู ตอง

ขอบขายเน้อื หา

เรอ่ื งที่ 1 การใชค าํ และการสรา งคําในภาษาไทย
เรอ่ื งท่ี 2 การใชเคร่อื งหมายวรรคตอน และอกั ษรยอ
เรอ่ื งที่ 3 ชนิดและหนา ทีข่ องประโยค
เรอ่ื งท่ี 4 หลักในการสะกดคํา
เรื่องท่ี 5 คําราชาศพั ท
เรอ่ื งท่ี 6 การใชสํานวน สภุ าษติ คําพงั เพย
เรื่องท่ี 7 หลกั การแตง คาํ ประพันธป ระเภทตา ง ๆ
เรื่องท่ี 8 การใชภาษาทเ่ี ปนทางการและไมเปนทางการ

95

เร่ืองท่ี 1 การใชค าํ และการสรางคาํ ในภาษาไทย

การใชคํา

การส่ือสารดวยการพูดและเขียนจะมีประสิทธิภาพหรือสื่อสารไดดีนั้นตองใชคําใหถูกตอง
โดยใชคําท่ีมีความหมายชัดเจน ใชคําใหถูกกับกาลเทศะและบุคคล การใชเคร่ืองหมาย การเวนวรรค
ตอน การสะกดการันตตอ งถกู ตอง ซ่งึ การใชค าํ ใหถ ูกตอ งมีหลักการ ดงั นี้

1. ใชคาํ ใหถ กู ตองเหมาะสมกับประโยคและขอ ความ การใชค าํ บางคําในประโยคหรือขอ ความ
บางครงั้ มกั ใชคําผิด เชน คําวา มวั่ สมุ กบั หมกมุน บางคนจะใชว า “นกั เรยี นมกั ม่วั สมุ กับตาํ ราเรยี นเมื่อ
ใกลสอบ” ซ่ึงไมถูกตองควรใชคําวา หมกมุน แทนคาํ วา ม่ัวสุม มักจะใชคาํ วา รโหฐาน
ในความหมายวา ใหญโต ซ่ึงความหมายของคาํ น้ี หมายถึง ที่ลับ ควรใชคาํ วา มโหฬาร แทน

2. ควรใชใหถูกตองตามหลักภาษา เชน มักจะใชหมายกาํ หนดการแทนคํา กาํ หนดการ
ในงานปกติทัว่ ไปซึ่งคาํ วา หมายกําหนดการ จะใชก บั งานพระราชพธิ ี กาํ หนดการ จะใชก บั งานท่ัวไป
เปนตน

3. ควรแบงวรรคตอนของคําไทยใหถกู ตอง เพราะหากแบง วรรคตอนผดิ กจ็ ะทาํ ให ความหมาย
ผิดไปได เชน คนกิน กลว ย แขกรอนจนตาเหลือก ควรเขยี น กลวยแขกใหติดกัน ยานี้กินแลวแข็ง แรง
ไมม ี โรคภยั เบียดเบยี น ควรเขียน แข็งแรงใหต ดิ กนั

4. ใชลักษณะนามใหถูกตอง ลักษณะนามเปนลักษณะพิเศษของภาษาไทย ควรใชใหถูกตอง
โดยเฉพาะลักษณะนามบางคําท่ีไมมีโอกาสใชบอยอาจจะจําไมได เชน “ชาง” ซึ่งลักษณะนามชาง
เปน เชือก ตวั อยาง ชา ง 2 เชอื ก มกั จะใชผิดเปนชา ง 2 ตัว หรอื ชาง 2 ชา ง เปน ตน

5. ใชคําใหตรงความหมาย คําไทย คําหนึ่งมีความหมายไดหลายอยาง บางคํามีความหมาย
โดยตรง บางคํามีความหมายแฝง บางคํามีความหมายโดยนัย และบางคํามีความหมายใกลเคียง
จงึ ตองเลอื กใชใหตรงความหมาย

5.1 คาํ ท่มี ีความหมายไดห ลายอยาง เชน “ขนั ” ถา เปนคาํ นาม หมายถึง ภาชนะใชตักน้ํา
เชน ขนั ใบนด้ี แี ท “ขนั ” ถาเปน คํากริยาก็จะหมายถึง ทําใหตึง เสียงรองของไกและนก เชน นกเขาขัน
เพราะจริง ๆ “ขนั ” ถา เปน คาํ วิเศษณ หมายถงึ นาหัวเราะ เชน เธอดูนา ขันจรงิ ๆ เปน ตน

5.2 ความหมายใกลเคยี ง การใชค าํ ชนดิ น้ีตองระมัดระวังใหดี เชน มืด มัว ยิ้ม แยม เล็ก
นอย ใหญ โต ซอม แซม ขบ กัด เปน ตน

ตัวอยาง มืด หมายถงึ ไมส วา ง มองไมเหน็ เชน หอ งนีม้ ดื มาก
มัว หมายถงึ คลุม มนึ หลง เพลนิ
เชน ลูก ๆ มัวแตรองราํ ทําเพลง
มืดมัว เชน วันน้ีอากาศมืดมัวจริง ๆ

96

6. การใชคําที่มีความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัย เราตองศึกษาที่มาของคําและ
ดูสภาพแวดลอ ม เราจะทราบความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัยของคาํ นนั้

ตัวอยาง แม หมายถึง หญิงท่ีใหกําเนิดแกลูกเปนความหมายหลัก แตคําตอไปน้ีไมมี
ความหมายหลกั เชน แมนํ้า แมครัว แมเหล็ก แมม ด แมเ ลา แมส่อื ฯลฯ

เสือ หมายถงึ สตั วช นดิ หน่ึงอยูในปากินเน้ือสัตวเปนอาหาร มีนิสัยดุราย แตคําวา “เสือ”
ตอไปน้ไี มไดม คี วามหมายตามความหมายหลัก เชน เสอื ผูหญิง เสอื กระดาษ เปนตน

7. ใชคําทมี่ ีตัวสะกดการันต ใหถูกตองในการเขียนเพราะคําที่ออกเสียงเหมือนกัน แตเขียน
สะกดการันตตางกันยอมมีความหมายตางกัน เชน สัน สันต สรร สรรค สันทน ท้ังหาคําน้ีเขียน
ตางกัน ออกเสียงเหมือนกันแตความหมายไมเหมือนกัน คําวา สันต หมายถึง สงบ สรร หมายถึง
เลอื กสรร สรรค หมายถึง สราง เปนตน จึงตองระมัดระวังในการเขียนคําใหถูกตองตามสะกดการันต
และตรงความหมายของคํานน้ั ๆ

การเขยี นคาํ การเลอื กใชคํา ยังมีขอควรระวังอีกหลายลักษณะ ขอใหผูเรียนศึกษาและสังเกต
ใหด ี เพ่ือจะไดใ ชภาษาในการสื่อสารไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

การสรางคํา

คาํ ทีใ่ ชในภาษาไทยดัง้ เดมิ สวนมากจะเปน คําพยางคเ ดียว เชน พ่ี นอ ง เดือนดาว จอบ ไถ
หมู หมา กิน นอน ดี ชัว่ สอง สาม เปน ตน เมื่อโลกววิ ฒั นาการ มีสง่ิ แปลกใหมเพม่ิ ข้นึ ภาษาไทยก็
จะตองพฒั นาทงั้ รปู คาํ และการเพมิ่ จาํ นวนคํา เพือ่ ใหม ีคาํ ในการสอื่ สารใหเ พียงพอกับการเปลย่ี นแปลง
ของวัตถุส่ิงของและเหตุการณตาง ๆ ดวยการสรางคํา ยืมคาํ และเปล่ียนแปลงรูปรางคาํ ซ่ึงจะมี
รายละเอียด ดงั นี้

แบบสรางคํา

แบบสรา งคํา คือ วิธีการนาํ อักษรมาประสมเปนคําเกิดความหมายและเสียงของแตละพยางค
ใน 1 คํา จะตองมีสวนประกอบ 3 สวน เปนอยางนอย คือ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต อยางมาก
ไมเ กิน 5 สว น คือ สระ พยัญชนะ วรรณยุกต ตวั สะกด ตัวการนั ต

รปู แบบของคํา

คาํ ไทยทีใ่ ชอ ยปู จ จบุ ันมีทงั้ คําท่ีเปนคาํ ไทยดงั้ เดิม คําทม่ี าจากภาษาตา งประเทศ คําศัพทเ ฉพาะ
ทางวชิ าการ คําที่ใชเ ฉพาะในการพูด คาํ ชนิดตาง ๆ เหลา น้ีมีชอ่ื เรียกตามลักษณะและแบบสรางของคํา
เชน คํามลู คาํ ประสม คําสมาส คําสนธิ คําพองเสียง คําพองรูป คําเหลาน้ีมีลักษณะพิเศษเฉพาะ
ผูเรียนจะเขาใจลกั ษณะแตกตา งของคาํ เหลา นี้ไดจากแบบสรา งของคาํ

97

ความหมายและแบบสรางของคาํ ชนดิ ตาง ๆ

คาํ มลู

คาํ มูล เปน คําเดยี วที่มิไดป ระสมกับคาํ อน่ื อาจมี 1 พยางค หรอื หลายพยางคก็ได แตเม่ือแยก

พยางคแลวแตละพยางคไมม คี วามหมายหรอื มีความหมายเปนอยางอ่ืนไมเหมือนเดิม คําภาษาไทยที่ใช

มาแตเ ดมิ สว นใหญเปน คํามลู ท่ีมีพยางคเ ดียวโดด ๆ เชน พอ แม กิน เดนิ เปนตน

ตวั อยางแบบสรา งของคํามูล

คน มี 1 พยางค คือ คน

สิงโต มี 2 พยางค คือ สงิ - โต

นาฬกิ า มี 3 พยางค คอื นา - ฬิ - กา

ทะมดั ทะแมง มี 4 พยางค คอื ทะ - มัด - ทะ - แมง

กระเหย้ี นกระหือรือ มี 5 พยางค คอื กระ - เหี้ยน - กระ - หือ - รอื

จากตัวอยางแบบสรางของคํามูล จะเห็นวาเม่ือแยกพยางคจากคําแลว แตละพยางคไมมี

ความหมายในตัวหรืออาจมีความหมายไมครบทุกพยางค คําเหลาน้ีจะมีความหมายก็ตอเม่ือนํา

ทุกพยางคมารวมเปนคาํ ลกั ษณะเชนนี้ ถือวาเปนคําเดยี วโดด ๆ

คาํ ประสม

คําประสม คือ คําท่ีสรางข้ึนใหมโดยนําคํามูลต้ังแต 2 คําข้ึนไปมาประสมกัน เกิดเปน
คําใหมขนึ้ อกี คําหน่ึง

1. เกิดความหมายใหม
2. ความหมายคงเดิม
3. ความหมายใหกระชับข้นึ
ตัวอยา งแบบสรางคําประสม
แมยาย เกิดจากคํามลู 2 คาํ คือ แมก ับยาย
ลูกนํ้า เกดิ จากคาํ มลู 2 คํา คือ ลกู กับนํ้า
ภาพยนตรจ ีน เกิดจากคาํ มลู 2 คาํ คอื ภาพยนตรกับจีน
จากตัวอยางแบบสรา งคําประสม จะเห็นวาเมือ่ แยกคําประสมออกจากกนั จะไดคํามูลซ่ึงแตละ
คาํ มคี วามหมายในตวั เอง
ชนิดของคําประสม
การนาํ คาํ มาประสมกัน เพ่อื ใหเกดิ คาํ ใหมข ึ้นเรียกวา “คาํ ประสม” นน้ั มวี ธิ สี รางคํา
ตามแบบสรางอยู 5 วธิ ดี ว ยกนั คือ
1. คาํ ประสมทเ่ี กดิ จากคาํ มลู ทม่ี ีรปู เสียง และความหมายตางกัน เมือ่ ประสมกันเกดิ เปน
ความหมายใหม ไมตรงกบั ความหมายเดมิ เชน

98

แม หมายถึง หญิงทใ่ี หก ําเนิดลูก

ยาย หมายถงึ แมข องแม

แมกับยาย ไดคาํ ใหม คอื แมย าย หมายถึง แมข องเมีย

คาํ ประสมชนดิ นมี้ ีมากมาย เชน แมค รวั ลูกเสือ พอ ตา มอื ลงิ ลูกนา้ํ ลกู นอ ง ปากกา เปน ตน

2. คําประสมท่ีเกิดจากคํามูลที่มีรูป เสียง และความหมายตางกัน เม่ือประสมกันแลวเกิด

ความหมายใหม แตยังคงรักษาความหมายของคําเดมิ แตล ะคาํ เชน

หมอ หมายถึง ผูร ู ผูชาํ นาญ ผูรกั ษาโรค

ดู หมายถึง ใชสายตาเพ่ือใหเ ห็น

หมอกับดู ไดค ําใหม คือ หมอดู หมายถึง ผทู าํ นายโชคชะตาราศี

คาํ ประสมชนิดน้ี เชน หมอความ นักเรียน ชาวนา ของกนิ รอนใจ เปนตน

3. คําประสมท่เี กดิ จากคาํ มลู ทม่ี ีรูป เสยี ง ความหมายเหมอื นกัน เม่ือประสมแลวเกิดความหมาย

ตางจากความหมายเดิมเลก็ นอย อาจมคี วามหมายทางเพิ่มขน้ึ หรือลดลงก็ได การเขียนคําประสมแบบนี้

จะใชไมย มก ๆ เติมขางหลงั เชน

เรว็ หมายถึง รีบ ดวน

เรว็ ๆ หมายถงึ รบี ดว นย่ิงข้ึน เปนความหมายที่เพิ่มข้นึ

ดาํ หมายถงึ สีดาํ

ดาํ ๆ หมายถึง ดาํ ไมส นทิ เปนความหมายในทางลดลง

คําประสมชนิดน้ี เชน ชา ๆ ซํ้า ๆ ดี ๆ นอย ๆ ไป ๆ มา ๆ เปน ตน

4. คําประสมที่เกิดจากคํามูลที่มีรูปและเสียงตางกัน แตมีความหมายเหมือนกัน เม่ือนํามา

ประสมกันแลว ความหมายไมเปลย่ี นไปจากเดมิ เชน

ยมิ้ หมายถงึ แสดงใหป รากฏวาชอบใจ

แยม หมายถึง คลี่ เผยอปากแสดงความพอใจ

ย้ิม แยม ไดค าํ ใหม คือ ยิ้มแยม หมายถึง ย้ิมอยางชื่นบาน คําประสมชนิดน้ี

มมี ากมาย เชน โกรธเคือง รวดเร็ว แจม ใส เสอ่ื สาด บานเรอื น วดั วาอาราม ถนนหนทาง เปนตน

5. คําประสมที่เกิดจากคํามูลท่ีมีรูป เสียง และความหมายตางกัน เม่ือนํามาประสมจะตัด

พยางค หรอื ยน พยางคใหสั้นเขา เชน คาํ วา ชันษา มาจากคาํ วา ชนมพรรษา

ชนม หมายถึง การเกดิ

พรรษา หมายถงึ ป

ชนม พรรษา ไดค ําใหม คอื ชนมพรรษา หมายถงึ อายุ

คําประสมประเภทน้ี ไดแ ก

เดียงสา มาจาก เดียง ภาษา

สถาผล มาจาก สถาพร ผล

เปรมปรีดิ์ มาจาก เปรม ปรดี า

99

คําสมาส

คาํ สมาสเปน วิธสี รา งคาํ ใหมในภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนําคาํ ตง้ั แต 2 คาํ ขึ้นไปมาประกอบ

กนั คลา ยคําประสม แตคาํ ท่นี าํ มาประกอบแบบคําสมาสนั้นนํามาประกอบหนา ศัพท การแปลคําสมาส

จึงแปลจากขา งหลังมาขางหนา เชน

บรม ยงิ่ ใหญ ครู บรมครู ครผู ูยง่ิ ใหญ

สุนทร ไพเราะ พจน คาํ พดู สุนทรพจน คําพูดท่ีไพเราะ

การนําคํามาสมาสกัน อาจเปนบาลีสมาสกับบาลี สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต หรือบาลี

สมาสสนั สกฤตกไ็ ด

ในบางครั้งคําประสมที่เกิดจากคําไทยประสมกันกับคําบาลีหรือสันสกฤตบางคํามีลักษณะคลาย

คําสมาสเพราะแปลจากขางหลงั มาขางหนา เชน ราชวัง แปลวา วังของพระราชา อาจจัดวาเปนคําสมาส

ไดส วนคําประสมท่ีมคี วามหมายจากขา งหนา ไปขางหลงั และมิไดใ หค วามผิดแผกแมคาํ นั้นประสมกับคํา

บาลีหรือสนั สกฤตกถ็ ือวาเปน คําประสม เชน มูลคา ทรัพยส ิน เปน ตน

การเรียงคาํ ตามแบบสรา งของคําสมาส

1. ถา เปน คาํ ที่มาจากบาลีและสันสกฤต ใหเรียงบทขยายไวขางหนา เชน
อุทกภัย หมายถงึ ภัยจากนา้ํ
อายขุ ัย หมายถึง สน้ิ อายุ

2. ถา พยางคทา ยของคาํ หนาประวิสรรชนยี  ใหตัดวิสรรชนียอ อก เชน
ธรุ ะ สมาสกับ กจิ เปน ธรุ กิจ
พละ สมาสกับ ศกึ ษา เปน พลศึกษา

3. ถาพยางคท ายของคาํ หนามตี ัวการันตใหต ดั การันตออกเมือ่ เขาสมาส เชน
ทัศน สมาสกบั ศึกษา เปน ทัศนศึกษา
แพทย สมาสกับ สมาคม เปน แพทยสมาคม

4. ถา คําซา้ํ ความ โดยคาํ หน่ึงไขความอกี คําหนงึ่ ไมมีวิธเี รยี งคาํ ท่ีแนนอน เชน
นร คน สมาสกบั ชน คน เปน นรชน คน
วถิ ี ทาง สมาสกบั ทาง ทาง เปน วถิ ที าง ทาง
คช ชาง สมาสกบั สาร ชา ง เปน คชสาร ชา ง

การอานคาํ สมาส

การอา นคําสมาสมีหลักอยวู า ถาพยางคทา ยของคําลงทายดวย สระอะ อิ อุ เวลาเขาสมาส
ใหอา นออกเสียง อะ อิ อุ น้ัน เพยี งครึ่ง เสียง เชน

เกษตร สมาสกับ ศาสตร เปน เกษตรศาสตร อานวา กะ เสด ตระ สาด
อุทก สมาสกบั ภยั เปน อทุ กภัย อานวา อุ ทก กะ ไพ

100

ประวตั ิ สมาสกับ ศาสตร เปน ประวัติศาสตร อา นวา ประ หวัด ติ สาด

ภูมิ สมาสกับ ภาค เปน ภูมิภาค อา นวา พู มิ พาก

เมรุ สมาสกบั มาศ เปน เมรมุ าศ อา นวา เม รุ มาด

ขอสงั เกต

1. มคี ําไทยบางคาํ ที่คาํ แรกมาจากภาษาบาลีสันสกฤต สวนคําหลังเปนคําไทย คําเหลาน้ีได

แปลความหมายตามกฎเกณฑของคําสมาส แตอานเหมือนกับวาเปนคําสมาส ทั้งนี้ เปนการอานตาม

ความนยิ ม เชน

เทพเจา อา นวา เทพ พะ เจา

พลเรือน อานวา พล ละ เรอื น

กรมวงั อา นวา กรม มะ วัง

2. โดยปกตกิ ารอา นคําไทยท่ีมมี ากกวา 1 พยางค มกั อานตรงตัว เชน

บากบั่น อานวา บาก บนั่

ลกุ ลน อา นวา ลกุ ลน

มีแตคาํ ไทยบางคําทเี่ ราอา นออกเสยี งตัวสะกดดวย ท้ังท่ีเปนคําไทยมิใชคําสมาส ซึ่งผูเรียน

จะตอ งสังเกต เชน

ตุกตา อา นวา ตุก กะ ตา

จักจั่น อานวา จัก กะ จั่น

จัก๊ จี้ อานวา จัก๊ กะ จี้

ชักเยอ อา นวา ชกั กะ เยอ

สปั หงก อานวา สับ ปะ หงก

คําสนธิ

คําสนธิ คือ การเชื่อมเสียงใหกลมกลืนกันตามหลกั ไวยกรณบาลีสันสกฤต เปนการเชือ่ มอกั ษร

ใหต อเน่ืองกันเพ่อื ตดั อักษรใหนอ ยลง ทําใหค ําพดู สละสลวยนาํ ไปใชประโยชนในการแตงคําประพนั ธ

คําสนธิ เกิดจากการเช่ือมคําในภาษาบาลีและสันสกฤตเทานั้น ถาคําที่นํามาเช่ือมกัน

ไมใชภ าษาบาลสี ันสกฤต ไมถือวาเปนสนธิ เชน กระยาหาร มาจากคํา กระยา อาหาร ไมใชสนธิ เพราะ

กระยา เปนคาํ ไทยและถงึ แมว า คาํ ทนี่ ํามารวมกนั แตไมไดเ ชอื่ มกัน เปนเพียงประสมคําเทานั้น ก็ไมถือวา

สนธิ เชน

ทิชาชาติ มาจาก ทชิ า ชาติ

ทศั นาจร มาจาก ทศั นา จร

วทิ ยาศาสตร มาจาก วทิ ยา ศาสตร

แบบสรางของคาํ สนธทิ ีใ่ ชใ นภาษาบาลีและสนั สกฤต มีอยู 3 ประเภท คือ

101

1. สระสนธิ
2. พยญั ชนะสนธิ
3. นิคหิตสนธิ
สําหรับการสนธใิ นภาษาไทย สวนมากจะใชแ บบสรา งของสระสนธิ

แบบสรา งของคาํ สนธิทีใ่ ชในภาษาไทย

1. สระสนธิ
การสนธิสระทาํ ได 3 วิธี คือ

1.1 ตัดสระพยางคท าย แลวใชส ระพยางคหนา ของคําหลงั แทน เชน
มหา สนธกิ ับ อรรณพ เปน มหรรณพ
นร สนธกิ ับ อนิ ทร เปน นรนิ ทร
ปรมะ สนธิกับ อินทร เปน ปรมินทร
รัตนะ สนธกิ บั อาภรณ เปน รตั นาภรณ
วชริ สนธกิ ับ อาวธุ เปน วชิราวธุ
ฤทธิ สนธกิ ับ อานภุ าพ เปน ฤทธานุภาพ
มกร สนธกิ ับ อาคม เปน มกราคม

1.2 ตัดสระพยางคทายของคําหนา แลวใชสระพยางคหนาของคําหลัง แตเปลี่ยนรูป
อะ เปน อา อิ เปน เอ อุ เปน อู หรือ โอ ตัวอยา งเชน

เปล่ียนรปู อะ เปนอา
เทศ สนธิกับ อภิบาล เปน เทศาภิบาล
ราช สนธกิ ับ อธิราช เปน ราชาธริ าช
ประชา สนธิกบั อธปิ ไตย เปน ประชาธิปไตย
จฬุ า สนธิกบั อลงกรณ เปน จฬุ าลงกรณ
เปลย่ี นรปู อิ เปน เอ
นร สนธกิ ับ อิศวร เปน นเรศวร
ปรม สนธิกบั อินทร เปน ปรเมนทร
คช สนธกิ บั อินทร เปน คเชนทร
เปลยี่ นรปู อุ เปน อู หรือ โอ
ราช สนธิกบั อุปถัมภ เปน ราชปู ถัมภ
สาธารณะ สนธิกับ อุปโภค เปน สาธารณูปโภค
วิเทศ สนธกิ ับ อุบาย เปน วเิ ทโศบาย
สขุ สนธกิ ับ อุทัย เปน สโุ ขทัย
นัย สนธกิ บั อุบาย เปน นโยบาย

102

1.3 เปล่ียนสระพยางคทายของคําหนา อิ อี เปน ย อุ อู เปน ว แลวใชสระ พยางค
หนาของคาํ หลังแทน เชน

เปลย่ี น อิ อี เปน ย
มติ สนธกิ ับ อธิบาย เปน มัตยาธบิ าย
รงั สี สนธิกบั โอภาส เปน รงั สโยภาส รังสโี ยภาส
สามคั คี สนธกิ บั อาจารย เปน สามัคยาจารย
เปลีย่ น อุ อู เปน ว
สนิ ธุ สนธกิ บั อานนท เปน สินธวานนท
ธนู สนธกิ ับ อาคม เปน ธันวาคม
2. พยัญชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีนอ ย คือ เมอื่ นาํ คํา 2 คาํ มาสนธกิ นั ถา หากวาพยญั ชนะ
ตวั สุดทา ยของคาํ หนา กับพยญั ชนะตัวหนา ของคําหลังเหมือนกัน ใหตัดพยัญชนะที่เหมือนกันออกเสียง
ตัวหน่งึ เชน
เทพ สนธกิ บั พนม เปน เทพนม
นวิ าส สนธิกับ สถาน เปน นิวาสถาน
3. นิคหติ สนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใชวิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ใหสังเกต
พยญั ชนะตวั แรกของคาํ หลังวา อยใู นวรรคใด แลว แปลงนคิ หติ เปนพยัญชนะตวั สดุ ทายของวรรคนั้น เชน
สํ สนธิกบั กรานต เปน สงกรานต
ก เปน พยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตวั สุดทายของวรรค กะ คือ ง
สํ สนธิกับ คม เปน สังคม
ค เปน พยญั ชนะวรรค กะ พยญั ชนะตัวสุดทา ยของวรรค กะ คอื ง
สํ สนธกิ บั ฐาน เปน สัณฐาน
ฐ เปนพยัญชนะวรรค กะ พยญั ชนะตัวสดุ ทา ยของวรรค กะ คอื ณ
สํ สนธกิ บั ปทาน เปน สัมปทาน
ป เปนพยัญชนะวรรค กะ พยญั ชนะตวั สดุ ทา ยของวรรค กะ คือ ม
ถา พยญั ชนะตวั แรกของคาํ หลงั เปน เศษวรรค ใหคงนคิ หติ ตามรปู เดิม อา นออกเสียง อังหรอื อนั เชน
สํ สนธกิ ับ วร เปน สังวร
สํ สนธกิ บั หรณ เปน สงั หรณ
สํ สนธกิ บั โยค เปน สงั โยค
ถา สํ สนธกิ ับคาํ ทขี่ ึ้นตน ดว ยสระ จะเปลย่ี นนิคหิตเปน ม เสมอ เชน
สํ สนธกิ บั อทิ ธิ เปน สมิทธิ
สํ สนธกิ บั อาคม เปน สมาคม

103

สํ สนธกิ ับ อาส เปน สมาส
สํ สนธิกบั อทุ ัย เปน สมุทัย

คาํ แผลง

คาํ แผลง คอื คาํ ท่ีสรา งข้นึ ใชในภาษาไทยอกี วธิ หี นึ่ง โดยเปลยี่ นแปลงอกั ษรทป่ี ระสมอยูใ น
คําไทยหรือคาํ ท่ีมาจากภาษาอ่ืนใหผิดไปจากเดิม ดวยวิธีตัด เติม หรือเปล่ียนรูป แตยังคงรักษา
ความหมายเดิมหรอื เคาความเดมิ

แบบสรา งของการแผลงคํา
การแผลงคาํ ทําได 3 วธิ ี คอื
1. การแผลงสระ
2. การแผลงพยญั ชนะ
3. การแผลงวรรณยุกต
1. การแผลงสระ เปนการเปล่ยี นรปู สระของคาํ น้ัน ๆ ใหเปนสระรูปอืน่ ๆ

ตวั อยาง

คาํ เดิม คาํ แผลง คําเดิม คาํ แผลง

ชยะ ชัย สายดอื สะดือ
โอชะ โอชา สุริยะ สุรยี 
วชริ ะ วเิ ชยี ร ดริ จั ฉาน เดรจั ฉาน
พชั ร เพชร พจิ ิตร ไพจิตร
คะนึง คํานึง พชี พืช
ครหะ เคราะห กีรติ เกียรติ
ชวนะ เชาวน สุคนธ สวุ คนธ
สรเสริญ สรรเสริญ ยวุ ชน เยาวชน
ทรู เลข โทรเลข สุภา สุวภา

2. การแผลงพยัญชนะ
การแผลงพยัญชนะก็เชนเดียวกับการแผลงสระ คือ ไมมีกฎเกณฑตายตัวเกิดข้ึนจาก

ความเจรญิ ของภาษา การแผลงพยญั ชนะเปนการเปลย่ี นรูปพยัญชนะตวั หนงึ่ ใหเปน อีกตวั หนึ่ง หรอื เพ่ิม
พยัญชนะลงไปใหเสยี งผดิ จากเดิม หรือมีพยางคมากกวาเดิม หรือตัดรูปพยัญชนะ การศึกษาท่ีมาของ
ถอยคาํ เหลานจี้ ะชว ยใหเขา ใจความหมายของคําไดถกู ตอ ง

104

ตวั อยาง คาํ แผลง คําเดมิ คําแผลง
คาํ เดิม
ผนวช
กราบ กาํ ราบ บวช ประทม บรรเทา
ระเบยี บ
เกดิ กําเนิด ผทม สําแดง
สะพร่ัง
ขจาย กาํ จาย เรียบ ระรวย
อญั เชิญ
แข็ง กาํ แหง คําแหง แสดง บาํ เพ็ญ
บันดาล
คณู ควณ คํานวณ คํานูณ พรั่ง ชลี ชุลี
สีกา
เจียร จําเนียร รวยรวย

เจาะ จาํ เพาะ เฉพาะ เชิญ

เฉียง เฉลยี ง เฉวียง เพ็ญ

ชว ย ชาํ รว ย ดาล

ตรยั ตาํ รบั อัญชลี

ถก ถลก อบุ าสิกา

3. การแผลงวรรณยกุ ต
การแผลงวรรณยกุ ตเ ปน การเปลี่ยนแปลงรปู หรือเปลีย่ นเสยี งวรรณยุกต เพอ่ื ใหเ สยี งหรอื

รูปวรรณยกุ ตผดิ ไปจากเดมิ
ตวั อยาง

คาํ เดมิ คําแผลง คาํ เดิม คําแผลง

เพยี ง เพ้ยี ง พทุ โธ พทุ โธ

เสนหะ เสนห  บ บ

คาํ ซอ น

คําซอ น คือ คําประสมชนิดหน่ึงท่ีเกิดจากการนําเอาคําต้ังแตสองคําข้ึนไป ซ่ึงมีเสียงตางกันมี
ความหมายเหมือนกัน หรือคลายคลึงกัน หรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย
ใหญโ ต เปนตน ปกติคาํ ท่นี าํ มาซอนกนั น้ันนอกจากจะมีความหมายเหมือนกนั หรอื ใกลเ คียงกันแลว มกั จะ
มเี สยี งใกลเคียงกันดวยเพ่ือใหออกเสียงงาย สะดวกปาก คําท่ีนํามาซอนแลวทําใหเกิดความหมายน้ัน
แบงเปน 2 ลกั ษณะ คือ

1. ซอนคาํ แลวมีความหมายคงเดิม คาํ ซอนลักษณะน้ีจะนาํ คําที่มีความหมายเหมือนกันมา
ซอ นกันเพอ่ื ขยายความซึ่งกันและกัน เชน ขาทาส วา งเปลา โงเ ขลา เปน ตน

105

2. ซอ นคําแลว มีความหมายเปล่ียนแปลงไปจากเดิม
2.1 ความหมายเชิงอุปมา คาํ ซอนลักษณะนี้จะเปนคาํ ซอนท่ีคําเดิมมีความหมาย

เปนรปู แบบเมื่อนํามาซอ นกับความหมายของคาํ ซอ นนน้ั จะเปลย่ี นไปเปนนามธรรม เชน
ออ นหวาน ออ นมีความหมายวาไมแข็ง เชน ไมออน หวานมีความหมายวา รสหวาน

เชน ขนมหวาน
ออ นหวาน มคี วามหมายวาเรยี บรอ ย นา รัก เชน เธอชางออนหวานเหลือเกิน

หมายถึง กริยาอาการทีแ่ สดงออกถึงความเรียบรอ ยนา รกั
คําอืน่ ๆ เชน ค้ําจุน เด็ดขาด ยงุ ยาก เปน ตน

2.2 ความหมายกวางออก คําซอนบางคํามีความหมายกวางออกไมจํากัดเฉพาะ
ความหมายเดิมของคําสองคาํ ท่มี าซอ นกัน เชน เจบ็ ไข หมายถงึ อาการเจ็บของโรคตา ง ๆ และคาํ
พน่ี อ ง ถว ยชาม ทบุ ตี ฆาฟน เปนตน

2.3 ความหมายแคบเขา คําซอ นบางคํามคี วามหมายเดนอยูคําใดคําหน่ึง ซ่ึงอาจจะเปน
คําหนาหรือคาํ หลงั กไ็ ด

เชน ความหมายเดนอยูขางหนา
ใจดํา หัวหู ปากคอ บา บอคอแตก
ความหมายเดนอยูข างหลัง
หยบิ ยืม เอรด็ อรอย นํ้าพกั นํ้าแรง วา นอนสอนงาย เปน ตน
ตัวอยางคาํ ซอ น 2 คาํ เชน บา นเรอื น สวยงาม ขา วของ เงนิ ทอง มดื คํ่า อดทน
เกยี่ วของ เย็นเจีย๊ บ ทรัพยสิน รูปภาพ ควบคมุ ปองกนั ลล้ี บั ซับซอน เปน ตน
ตัวอยา งคาํ ซอนมากกวา 2 คาํ เชน
ยากดีมีจน เจบ็ ไขไ ดปวย ขา วยากหมากแพง
เวยี นวายตายเกดิ ถกู อกถกู ใจ จบั ไมไดไลไ มท ัน
ฉกชิงวงิ่ ราว เปนตน

เร่ืองท่ี 2 การใชเ คร่อื งหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ

การใชเ คร่ืองหมายวรรคตอน

ภาษาไทยมีวิธีการเขียนคําติดตอกันไป เมื่อจบขอความแลวจึงเวนวรรค ดังนั้น ในการเขียน
หนงั สือจึงตอ งมกี ารแบง วรรคตอนและใชเคร่อื งหมายวรรคตอนประกอบการเขียนใหถกู ตอง เพื่อชวยให
เขา ใจความหมายไดอยา งชัดเจนไมผ ดิ เพี้ยนไปจากวตั ถปุ ระสงค

106

เครอ่ื งหมายวรรคตอนที่ควรทราบ มดี งั น้ัน

ลําดบั ท่ี เครอ่ื งหมาย ชอ่ื วิธีใช

1. , จุลภาค เปน เครอื่ งหมายท่นี าํ มาใชต ามแบบภาษาองั กฤษ
แตตามปกตภิ าษาไทยใชเ วนวรรคแทนเครอื่ งหมาย
2. ? ปรัศนี หรือ จุลภาคอยูแลว จึงไมจ าํ เปน ตองใชเ ครื่องหมาย
เครือ่ งหมาย จลุ ภาคอกี
คาํ ถาม ตัวอยา ง
เขาชอบรบั ประทานผักกาด ผักคะนา ตน หอม
กะหลาํ่ ปลี
ถาเปน ประโยคภาษาอังกฤษจะใชเ ครอ่ื งหมาย
ดงั น้ี
เขาชอบรบั ประทานผกั กาด, ผักคะนา , ตน หอม,
กะหลํ่าปลี

ใชเ ขียนไวหลังคํา หรือขอ ความทเี่ ปน คาํ ถาม
ถา ไมใชถ ามโดยตรงไมต อ งใสเ ครอ่ื งหมายปรศั นี
ตวั อยา ง
ใคร? ใครครับ? (คาํ ถาม)
ฉนั ไมทราบวาเขามาหาใคร (บอกเลา)
เธอชอบอา นหนงั สอื นวนิยายไหม? (คาํ ถาม)
ฉนั ไมท ราบวาจะทาํ อยางไรใหเธอเชื่อฉัน (บอกเลา)

ลําดบั ท่ี เคร่ืองหมาย ชอ่ื 107

3. ! อศั เจรยี  วธิ ใี ช

4. (............) นขลขิ ติ หรือ เปน เคร่ืองหมายแสดงความประหลาดใจ
เคร่ืองหมาย มหศั จรรยใจใชเขียนหลังคําอุทาน หรือขอ ความ
วงเลบ็ ท่ีมีลกั ษณะคลายคําอทุ าน เพือ่ ใหผ อู านออกเสียง
ไดถ กู ตอ งกบั ความเปน จรงิ และเหมาะสมกบั
เหตกุ ารณทเ่ี กิดขึ้น เชน ดีใจ เสียใจ เศราใจ
แปลกใจ
ตัวอยา ง
“โอโฮ! เธอขับรถไปถึงสงขลาคนเดียวหรอื ”
แปลกใจ
“อนิจจา! ทําไมเขาถึงเคราะหร ายอยางนัน้ ”
สลดใจ

ใชเขียนครอ มความท่เี ปน คาํ อธิบาย ซ่ึงไมค วรมี
ในเนื้อเรื่อง แตผูเ ขยี นตอ งการใหผ ูอ านเขาใจหรอื
ทราบขอ ความน้นั เปน พเิ ศษ เชน
ตัวอยาง
สมยั โบราณ คนไทยจารกึ พระธรรมลงในกระดาษ
เพลา (กระดาษทคี่ นไทยทําข้ึนใชเอง โดยมากทํา
จากเปลือกขอย บางครัง้ เรยี กวากระดาษขอย)

108

ลาํ ดับท่ี เครือ่ งหมาย ช่อื วิธีใช

5. “…………..” อัญประกาศ มวี ธิ ีใชดงั น้ี
เนน คาํ หรือขอ ความใหผ อู านสังเกตเปนพิเศษ
ตัวอยาง
ผหู ญิงคนนัน้ “สวย” จนไมมีทตี่ ิ เขาเปน คน
“กตญั ูรคู ณุ คน” อยางนาสรรเสริญยิ่ง
ใชสําหรบั ขอ ความทเี่ ปน ความคดิ ของผเู ขยี นหรอื
ความคิดของบุคคลอ่ืน
ตัวอยาง
ฉนั คดิ วา “ฉนั คงจะมคี วามสุขทีส่ ดุ ในโลก ถา มี
บานของตวั เองสกั หลังหนงึ่ ” เขาคิดวา “ไมม ีสงิ่ ใด
ในโลกนท้ี จ่ี รี งั ยงั่ ยืน”
ขอ ความท่ีเปน คําสนทนา เชน
ดาํ “เมอ่ื คนื นฝี้ นตกหนกั น้าํ ทวมเขามาถึง
ในบาน แนะ ทบี่ านของเธอนา้ํ ทวมไหม”
แดง “เหรอ ที่บา นนาํ้ ไมทว มหรอก แลว กอ นมา
ทํางานนํา้ ลดแลว หรอื ยงั ละ”
4. ขอความทีผ่ ูเขยี นนาํ มาจากทีอ่ ่ืน หรอื เปน
คาํ พูดของผอู น่ื
ตัวอยาง
ก. เขาทาํ อยา งน้ีตรงกบั สุภาษติ วา “ขช่ี า งจบั
ตกั๊ แตน”
ข. ผมเหน็ ดว ยกับปาฐกถาธรรมของพระราช
นนั ทมุนที ี่วา “ความสขุ มนั เกิดจากเราคดิ ถกู
พูดถูกทําถูก”

6. ๆ ไมย มก หรอื ยมก ใชเ ขียนไวห ลงั คํา หรือขอ ความเพ่อื ใหอ า นคํา
หรอื ความนัน้ ซ้าํ กนั สองครง้ั ยมก แปลวา คู
แตต อ งเปนคําหรือความชนิดเดียวกัน ถา เปน คาํ
หรือความตางชนดิ กันจะใชไมย มกไมได ตอ งเขียน
ตัวอกั ษรซํา้ กนั

ลําดบั ท่ี เคร่ืองหมาย ชอ่ื 109

7. _ สัญประกาศ วธิ ีใช

8. ” บุพสญั ญา ตัวอยาง
เขาเคยมาทกุ วนั วนั น้ีไมมา (ถูก)
เขาเคยมาทุกวัน ๆ นไี้ มม า (ผดิ )
เขาชอบพูดตาง ๆ นานา (ถกู )
เขาชอบพดู ตาง ๆ นา (ผิด)

ใชขดี เสนใตข อความท่ีผเู ขยี นตอ งการเนน ใหเ หน็
ความสาํ คญั
ตัวอยาง
โรคพิษสุนขั บา มีอันตรายมาก

ถาถูกสนุ ขั บากัดตอ งรบี ไปฉีดวัคซีนทนั ที
เขาพูดวา เขาไมชอบ คนทพ่ี ูดมาก

ใชเปนเครือ่ งหมายแทนคํา หรอื กลุม คาํ ซึง่ อยู
ขา งบนเครื่องหมายนี้ การเขียนเคร่ืองหมายน้จี ะ
ชว ยใหไมต องเขียนคําซ้าํ ๆ กัน
ตัวอยา ง
คาํ วา คน ถา เปนคาํ กริยา แปลวากวนใหท ่วั
” ขอด ” ” ” ” ขมวดใหเปน ปม
เครอื่ งหมาย บพุ สญั ญาน้ีมักจะมผี เู ขียนผิดเปน “
ตวั อยา ง
สมดุ 8 โหล ราคาโหลละ 40 บาท
ดินสอ 8 ” “ ” 12 บาท (ผิด)

ลําดบั ท่ี เครอื่ งหมาย ชอ่ื 110

9. _ ยติภังค วิธใี ช
หรอื
เคร่ืองหมาย ใชเขยี นระหวางคาํ ทเี่ ขยี นแยกพยางคก นั เพ่อื เปน
ขีดเสน เครอ่ื งหมายใหรวู า พยางคห นากบั พยางคห ลังน้นั
ติดกัน หรอื เปนคาํ เดียวกัน คําท่ีเขียนแยกนั้นจะ
10. ฯ ไปยาลนอย อยใู นบรรทดั เดยี วกนั หรอื ตา งบรรทดั กนั กไ็ ด
ตัวอยาง
สบั ดาห อานวา สปั -ดา
สพยอก อานวา สบั - พะ - ยอก
ในการเขียนเรอ่ื ง หรือขอความ ตวั อยา ง เชน คาํ วา
พระราชกฤษฎกี า เมอื่ เขียนไดเ พียง พระราชกฤษ
กห็ มดบรรทัด ตองเขยี นคําวา ฎีกา ตอในบรรทดั
ตอไปถา เปน เชนน้ี ใหเขียนเครอ่ื งหมายยตภิ งั ค
ดังนี้
พระราชกฤษ - แลวเขยี นตอ บรรทดั ใหมว า ฎกี า
และในการอาน ตอ งอานติดตอกันเปน คําเดียวกนั
วาพระราชกฤษฎกี า

ใชเขียนหลงั คาํ ซ่งึ เปน ทร่ี ูก ันโดยทั่วไป ละขอความ
สวนหลงั ไว ผูอา นจะตองอานขอความในสว นที่
ละไวใหครบบรบิ รู ณ ถา จะใหอ า นเพยี งทเี่ ขยี นไว
เชน กรงุ เทพ กไ็ มต องใสเครอ่ื งหมายไปยาล
นอ ยลงไป
ตัวอยา ง
กรุงเทพ ฯ อา นวา กรุงเทพมหานคร
โปรดเกลา ฯ อา นวา โปรดเกลา โปรด
กระหมอ ม

111

ลําดับท่ี เครือ่ งหมาย ชื่อ วิธีใช

11. ฯลฯ ไปยาลใหญ วธิ ีใช มดี งั นี้
ใชเ ขยี นไวห ลงั ขอความทจ่ี ะตอ ไปอีกมาก
12. ............... ไปยาลใหญ แตนาํ มาเขียนไวพ อเปนตัวอยาง ใหอาน
หรอื เคร่ืองหมาย ฯลฯ วา “ละ”
จดุ ไขป ลา ตวั อยา ง

เขาปลกู ผกั กาด ผกั คะนา ผักบงุ ฯลฯ อา นวา
เขาปลกู ผกั กาด ผกั คะนา ผักบงุ ละ
ใชเขยี นไวร ะหวา งกลางขอ ความ ซง่ึ ถาเขยี นจน
จบจะยาวเกินไป จงึ นาํ มาเขยี นไว เฉพาะตอนตน
กบั ตอนสุดทา ยเทา น้นั สว นขอ ความที่เวนไวใ ส
เครื่องหมาย ฯลฯ ใหอา นเครอ่ื งหมาย ฯลฯ วา
“ละถงึ ”
ตวั อยาง
อติ ิปโส ฯลฯ ภควาติ.
อานวา อิตปิ โส ละถงึ ภควาติ.

สาํ หรบั เครือ่ งหมาย ฯลฯ น้นั ปจ จบุ ันนิยมใช
เคร่ืองหมาย.............แทน

ตวั อยาง
อิติปโ ส ฯลฯ ภควาติ นยิ มเขยี นวา
อิตปิ โ ส ......... ภควาติ
อานวา อติ ิปโ ส ละถงึ ภควาติ

13. • มหพั ภาค มีที่ใช ดังนี้

เขยี นไวห ลงั อกั ษร เชน

พ.ศ. ยอมาจาก พุทธศักราช

พ.ร.บ. ” พระราชบัญญัติ

เม.ย. ” เมษายน

เขยี นไวห ลงั คํายอ เชน

กรกฎ. ยอมาจาก กรกฎาคม

เมษ. ยอ มาจาก เมษายน

เขยี นไวหลงั ตัวเลข หรอื อกั ษรท่ีบอกจาํ นวนขอ

ลาํ ดับที่ เครอื่ งหมาย ช่ือ 112

14. มหตั สญั ญา วธิ ใี ช

ตวั อยาง
ก. เราจะไมประพฤตผิ ดิ ระเบยี บของโรงเรียน
ข. การนอนหลบั ถอื วา เปน การพกั ผอน

เขียนไวขา งหลงั เมื่อจบประโยคแลว เชน
ฉันชอบเรยี นวิชาภาษาไทยมากกวา วชิ าอนื่ ๆ

เปนการยอหนา ขึ้นบรรทดั ใหม ไมม รี ปู ราง
และเครอ่ื งหมาย
วิธใี ช
เมอ่ื เปน ช่อื เรอ่ื ง หรือหวั ขอเขียนไวกลางบรรทัด
ถา เปน หวั ขอ ยอ ย กย็ อหนาข้นึ บรรทดั ใหม
ขอความสาํ คัญ ๆ ท่ีจัดไว เปน ตอน ๆ ควรยอ หนา
ข้ึนบรรทัดใหม เพอื่ ใหข อ ความเดนชดั และ
เขาใจงาย

อักษรยอ

อักษรยอ คือ อักษรทีใ่ ชแ ทนคาํ หรือขอความเพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการสื่อสาร ลักษณะ
ของอักษรยออาจจะเปนอักษรตัวเดียว อักษรสองตัว หรือมากกวานั้น แลวมีจุดหนึ่งจุด (มหัพภาค)
ขา งหลัง หรอื จดุ ระหวางตัวอักษรแลวแตก ารกําหนด

หลกั เกณฑการเขยี นและการอานอกั ษรยอ

1. การเขยี นอกั ษรยอของคําตาง ๆ

มีวิธีการและหลกั การซึง่ ราชบัณฑติ ยสถาน โดย “คณะกรรมการกําหนดหลกั เกณฑ

เก่ยี วกบั การใชภ าษาไทย” ไดก ําหนดไว ดังนี้

1.1 ใชพ ยญั ชนะตนของพยางคแรกของคาํ เปน ตัวยอ

ถาเปนคาํ คาํ เดยี วใหใ ชย อ ตวั เดียว แมว า คําน้นั จะมีหลายพยางคก็ตาม

ตวั อยา ง

วา ว.

จงั หวดั จ.

3.00 นาฬิกา 3.00 น.

ศาสตราจารย ศ.

113

ถาใชตัวยอเพยี งตัวเดียวแลวทําใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของคําถัดไปเปนตัวยอ

ดวยก็ได

ตวั อยา ง

ตาํ รวจ ตร.

อัยการ อก.

1.2 ถา เปนคาํ สมาสใหถ ือเปน คาํ เดียว และใชพยญั ชนะตนของพยางคแ รกเพยี งตัวเดียว

ตัวอยาง

มหาวทิ ยาลยั ม.

วทิ ยาลยั ว.

1.3 ถาเปนคําประสม ใชพ ยัญชนะตนของแตล ะคาํ

ตัวอยา ง

ชั่วโมง ชม.

โรงเรียน รร.

1.4 ถาคําประสมประกอบดวยคาํ หลายคาํ มีความยาวมาก อาจเลือกเฉพาะพยัญชนะตน

ของคาํ ท่ีเปน ใจความสําคัญ ท้ังน้ี ไมค วรเกนิ 4 ตัว

ตัวอยา ง

คณะกรรมการประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ กปร.

สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สพฐ.

1.5 ถาใชพ ยญั ชนะของแตละคาํ แลว ทําใหเกดิ ความสับสน ใหใ ชพ ยญั ชนะตน ของพยางค

ถดั ไปแทน

ตัวอยาง

พระราชกาํ หนด พ.ร.ก.

พระราชกฤษฎกี า พ.ร.ฎ.

1.6 ถาพยางคท ่ีจะนําพยัญชนะตน มาใชเ ปนตวั ยอมี ห เปน อกั ษรนาํ เชน หญ หล ใหใ ช

พยญั ชนะตน น้นั เปนตวั ยอ

ตวั อยา ง

สารวัตรใหญ สวญ.

ทางหลวง ทล.

1.7 คําทีพ่ ยัญชนะตน เปนอกั ษรควบกลาํ้ หรอื อกั ษรนาํ ใหใ ชอกั ษรตวั หนา ตัวเดียว

ตวั อยาง

ประกาศนยี บัตร ป.

ถนน ถ.

เปรยี ญ ป.

114

1.8 ตวั ยอไมค วรใชสระ ยกเวนคําทเี่ คยใชมากอนแลว

ตวั อยาง

เมษายน เม.ย.

มถิ ุนายน มิ.ย.

1.9 ตัวยอ ตองมจี ุดกํากบั เสมอ ตวั ยอ ต้งั แต 2 ตัวขน้ึ ไป ใหจุดทต่ี ัวสดุ ทา ยเพียงจุดเดยี ว

ยกเวน ตัวทใ่ี ชก ันมากอ น เชน พ.ศ. น.ศ. ม.ร.ว. เปน ตน

ตวั อยาง

ตําบล ต.

ทบวงมหาวิยาลยั ทม.

1.10 ใหเวนวรรคหนา ตัวยอทกุ แบบ

ตวั อยาง

ประวตั ขิ อง อ. พระนครศรีอยธุ ยา

ขา วจาก กทม. วา

1.11 ใหเวนวรรคระหวางกลมุ อกั ษรยอ

ตวั อยาง

ศ. นพ.

1.12 การอานคาํ ยอ ตอ งอานเตม็

ตัวอยาง

05.00 น. อานวา หา นาฬิกา

อ.พระนครศรีอยธุ ยา อา นวา อําเภอพระนครศรีอยุธยา

ยกเวนในกรณีท่ีคําเต็มนั้นยาวมาก และคํายอนั้นเปนท่ีเขาใจและยอมรับกันท่ัวไปแลว

อาจอานตวั ยอเรยี งตัวไปกไ็ ด

ตัวอยาง

ก.พ. อานวา กอ พอ

(จากหนังสอื หลกั เกณฑการใชเครื่องหมายวรรคตอนเครอื่ งหมายอ่นื ๆ หลกั เกณฑก ารเวน วรรค

หลักเกณฑก ารเขยี น คํายอ ราชบัณฑติ ยสถาน)

2. การเขียนรหัสตวั พยัญชนะประจาํ จังหวัด

ตามระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดว ยงานสารบรรณ โดยไมมีจุด มหัพภาค ตอ ทาย เชน

กระบี่ ยอ เปน กบ นา น ยอเปน นน ราชบุรี ยอเปน รบ

กรงุ เทพมหานคร ” กท บรุ รี ัมย ” บร ลพบุรี ” ลบ

กาญจนบุรี ” กจ ปทุมธานี ” ปท ลาํ ปาง ” ลป

กาฬสินธุ ” กส ประจวบคีรีขันธ ” ปข ลําพูน ” ลพ

กาํ แพงเพชร ” กพ ปราจีนบุรี ” ปจ เลย ” ลย

115

ขอนแกน ” ขก ปตตานี ” ปน ศรีสะเกษ ” ศก

จนั ทบุรี ” จบ พะเยา ” พย สกลนคร ” สน

ฉะเชิงเทรา ” ฉช พระนครศรีอยธุ ยา ” อย สงขลา ” สข

ชลบรุ ี ” ชบ พงั งา ” พง สตลู ” สต

ชัยนาท ” ชน พัทลุง ” พท สมุทรปราการ ” สป

ชยั ภูมิ ” ชย พจิ ติ ร ” พจ สมุทรสงคราม ” สส

เชียงราย ” ชร พษิ ณุโลก ” พล สมทุ รสาคร ” สค

เชียงใหม ” ชม เพชรบรุ ี ” พบ สระบรุ ี ” สบ

ตรงั ” ตง เพชรบูรณ ” พช สิงหบรุ ี ” สห

ตราด ” ตร แพร ” พร สุโขทยั ” สท

ตาก ” ตก ภูเก็ต ” ภก สพุ รรณบรุ ี ” สพ

นครนายก ” นย มหาสารคาม ” มค สุราษฎรธ านี ” สฎ

นครปฐม ” นฐ มกุ ดาหาร ” มห สุรินทร ” สร

นครพนม ” นพ แมฮ องสอน ” มส หนองคาย ” นค

นครราชสีมา ” นม ยโสธร ” ยส อา งทอง ” อท

นครศรธี รรมราช ” นศ ยะลา ” ยล อุดรธานี ” อด

นครสวรรค ” นว รอ ยเอ็ด ” รอ อตุ รดติ ถ ” อต

นนทบุรี ” นบ ระนอง ” รน อทุ ยั ธานี ” อน

นราธวิ าส ” นธ ระยอง ” รย อบุ ลราชธานี ” อบ

หมายเหตุ กรุงเทพมหานคร กท จะพบในหนงั สอื ราชการ แตโ ดยทั่วไป ใชก รุงเทพมหานคร

เครื่องหมาย เรยี กชอื่ วธิ ีใช
ตัวอยาง ใกล ๆ ยมก หรอื ไมย มก ใหเขียนไวหลังคําเพ่ือใหอานคําน้ันซ้ํากัน
สองครัง้

116

เรอ่ื งท่ี 3 ชนดิ และหนาท่ีของประโยค
ชนดิ ของประโยค

เมือ่ เราทราบลกั ษณะของประโยคแลว กม็ าทาํ ความเขา ใจเก่ียวกบั ประโยคชนิดตาง ๆ เพิ่มเติมอีก
ประโยคชนิดแรกทจ่ี ะกลาวถึง คอื ประโยคความเดียว

1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) ประโยคชนิดนี้ คือ ประโยคท่ีมุงกลาวถึง
สิง่ ใดสง่ิ หนงึ่ เพยี งสงิ่ เดียว สิ่งนั้นอาจเปนคน สตั ว เหตุการณ ฯลฯ อยางใดอยา งหนง่ึ และสง่ิ น้นั แสดง
กริ ิยาอาการหรืออยูในสภาพอยางเดียว เชน

ก. นกเกาะตนไม
ข. นายแดงไถนา
ค. มุกดาหารเปนจงั หวดั ท่ีเจ็ดสิบสาม
สว นสาํ คญั ของประโยคความเดยี ว
ประโยคความเดียวแตละประโยคแบงสวนสําคัญออกเปน 2 สวน สวนหนึ่งเรียกวา
“ภาคประธาน” คือ ผูก ระทําอาการในประโยค อกี สวนหน่ึงเรยี กวา “ภาคแสดง” คอื สวนทเ่ี ปนกริ ยิ า
และกรรมผถู ูกกระทํา ในประโยค

ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง

ก. นกเกาะตนไม นก เกาะตนไม

ข. นายแดงไถนา นายแดง ไถนา

ค. มกุ ดาหารเปน จังหวัดท่ีเจ็ด มกุ ดาหาร เปนจงั หวัดที่เจด็ สบิ สาม
สิบสาม

2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) คือ ประโยคท่ีรวมความเอาประโยคความเดียว
ต้ังแต 2 ประโยคข้ึนมารวมเขา ดว ยกนั โดยมคี ําเช่อื มประโยคเหลา นัน้ เขา ดว ยกัน

2.1 ประโยคทมี่ เี นอ้ื ความคลอ ยตามกนั
ประโยคท่ี 1 จารุณีเดินทางไปเชยี งใหม
ประโยคท่ี 2 อรัญญาเดินทางไปเชียงใหม
เราสามารถรวมประโยคความเดียวทง้ั 2 ประโยคเขาไวด ว ยกนั ดังน้ี
“จารณุ แี ละอรัญญาเดินทางไปเชยี งใหม”
ประโยคที่ 1 เราจะประสบความลมเหลว
ประโยคท่ี 2 เราไมทอ ถอย
รวมประโยคไดวา “แมเราจะประสบความลมเหลวเราก็ไมทอถอย”

117

2.2 ประโยคที่มเี น้อื ความขัดแยง กัน
ประโยคที่ 1 พขี่ ยนั
ประโยคท่ี 2 นองเกยี จครา น
รวมประโยควา “พขี่ ยันแตนองเกียจคราน”
ประโยคที่ 1 เขาไดทํางานแลว
ประโยคท่ี 2 เขายังไมพ อใจ
รวมประโยควา “เขาไดท ํางานแลวแตทวาเขายงั ไมพ อใจ”

2.3 ประโยคท่ีมีใจความเลือกเอาอยางใดอยา งหน่ึง
ประโยคท่ี 1 เธอชอบดูภาพยนตร
ประโยคท่ี 2 เธอชอบดโู ทรทศั น
รวมประโยควา “เธอชอบดภู าพยนตรหรอื โทรทศั น”
ประโยคที่ 1 ปรีชาข้ึนตนไมห ลังบา น
ประโยคที่ 2 ปรีชากวาดขยะอยหู นาบา น
รวมประโยควา “ปรชี าขึ้นตนไมห ลงั บา นหรอื ไมก็กวาดขยะอยูหนา บา น”

2.4 ประโยคท่ีมีขอความเปน เหตุเปนผลกัน โดยมขี อความที่เปนเหตุอยูขางหนาขอความที่
เปนผลอยหู ลงั

ประโยคที่ 1 เขาขบั รถเรว็ เกินไป
ประโยคท่ี 2 เขาถกู รถชน
รวมประโยควา “เขาขับรถเรว็ เกนิ ไปเขาจึงถกู รถชน”
ประโยคที่ 1 กรงุ เทพฯ ฝนตกมาก
ประโยคท่ี 2 กรงุ เทพฯ น้ําทวม
รวมประโยควา “เพราะกรุงเทพฯ ฝนตกมากนาํ้ จึงทวม”
คาํ ท่ีทําหนาท่ีเช่ือมประโยคเขาดว ยกนั เราเรียกวา “คาํ สันธาน”

3. ประโยคซอ นกัน (สังกรประโยค) คือ ประโยคท่ีมีขอความหลายประโยคซอนรวมอยูใน
ประโยคเดียวกัน เพือ่ ใหขอ ความสมบูรณย่งิ ข้ึน

1. ประโยคหลกั เรียกวา มขุ ยประโยค ซึง่ เปน ประโยคสําคัญมใี จความสมบรู ณใ นตวั เอง
2. ประโยคยอย เรียกวา อนุประโยค ประโยคยอ ยนจ้ี ะตองอาศยั ประโยคหลงั จึงจะได

ความสมบรู ณ

118

ตัวอยา ง
สรพงษเ ดนิ ทางไปสงขลา เพ่ือแสดงภาพยนตร
เขาประสบอุบตั ิเหตุ เพราะความประมาท
คนทป่ี ราศจากโรคภยั ไขเจ็บเปน คนโชคดี
ตารางประโยคความซอน

ประโยคหลกั (มขุ ยประโยค) บทเชื่อม ประโยคยอ ย (อนุประโยค)

สรพงษเ ดินทางไปสงขลา เพ่อื แสดงภาพยนตร
เขาประสบอบุ ตั ิเหตุ เพราะ ความประมาท
คน...เปน คนโชคดี ที่ ปราศจากโรคภยั ไขเจบ็

นอกจากประโยคทงั้ 3 ชนดิ ดงั กลา วมาแลว ยงั มีประโยคอีกหลายชนิดทมี่ ิไดเ รียงลําดบั ประโยค
เหมือนประโยคท้ัง 3 ชนิด ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความตองการของผูสงสารวาตองการจะเนนสวนใดของ
ประโยค ดว ยเหตนุ จี้ งึ ทาํ ใหป ระโยคมหี ลายรปู แบบ ดังน้ี

1. ประโยคเนนผูกระทํา คือ ประโยคที่ยกผกู ระทําขึ้นเปนประธานของประโยคขนึ้ กลาวกอน
แลว จึงตามดวยภาคแสดง เชน

รปู ประโยค ประธาน กริยา กรรม

1. ลนิ ดากาํ ลงั ซือ้ ผลไม ลนิ ดา กําลังซอ้ื ผลไม
2. สายชลพูดโทรศัพท สายชล พดู โทรศพั ท

2. ประโยคเนนผถู กู กระทํา คือ ประโยคท่กี ลาวถงึ ผูถกู กระทาํ หรือ กรรม กอน ผถู กู กระทํา
จงึ อยหู นาประโยค

รูปประโยค ผูถูกกระทํา กรยิ า

1. เพือ่ นของฉนั ถกู ทําโทษ เพ่อื นของฉนั ถูกทาํ โทษ
ถูกจับ
2. ชาตรีถูกจบั ชาตรี

ขอสงั เกต ในภาษาไทย ถาใชว า “ถูกกระทาํ ” อยางใด จะมคี วามหมายไปในทางไมดี
เชน ถกู ตําหนิ ถกู ตอ วา ถกู ดุ เปนตน ถาเปนไปทางดีเราจะไมใ ชคําวา
“ถกู ” แตใ ชคาํ วา “ไดร ับ” แทน เชน ไดรับแตง ตั้ง ไดร ับเลอื ก........เราจะ
ไมใ ชว า ไดถูกแตงตัง้ ......ไดถ ูกเลือก.......เปนอนั ขาด

119

3. ประโยคเนนกริยา คือ ประโยคที่ตองการเนนกริยาใหเดน จึงกลาวถึงกริยากอนท่ีจะ
กลาวถึงประธาน กริยาทเ่ี นนไดใ นลกั ษณะนมี้ อี ยไู มก ี่คํา คอื เกดิ ปรากฏ มี

รูปประโยค กรยิ า ประธาน

เกิดน้าํ ทว มในประเทศบงั กลาเทศ เกิดนาํ้ ทวม ในประเทศบังกลาเทศ
นา้ํ ทวม ขยายกริยา ดาวเทียม

ปรากฎดาวเทยี มบนทอ งฟา ปรากฏ
บนทอ งฟา ขยายกรยิ า

4. ประโยคคําส่ังและขอรอง คือ ประโยคที่อยูในรูปคําส่ังหรือขอรองและจะละประธานไว
โดยเนนคาํ สงั่ หรอื คําขอรอ ง เชน

คาํ สง่ั 1. จงกาเครื่องหมายกากบาท หนา ขอ ความที่ถูกตอ ง
คาํ ทขี่ ีดเสน ใต คือ กริยา

คําขอรอ ง 2. โปรดรกั ษาความสะอาด คําท่ขี ดี เสน ใต คอื กรยิ า
ถาเดมิ ประธานทล่ี ะไวลงไป กจ็ ะกลายเปนประโยคเนน ผูกระทํา
เชน 1. ทา นจงกาเครอ่ื งหมายกากบาทหนาขอความที่ถกู ตอง

2. ทา นโปรดรักษาความสะอาด

หนา ทีข่ องประโยค

ประโยคชนดิ ตา ง ๆ สามารถบอกความหมายไดตามเจตนาของผูสงสาร เพราะการส่ือสารกัน
ตามปกตินั้น ผูสงสารอาจมีเจตนาไดหลายประการ ประโยคจึงทําหนาท่ีตาง ๆ กัน เชน บอกกลาว
เสนอแนะ ชี้แจง อธิบาย ซักถาม วิงวอน ส่ังหาม ปฏิเสธ เปนตน ขอความหรือประโยคท่ีแสดงเจตนา
ของผูส งสารเหลา น้จี ะอยใู นรูปทีต่ าง ๆ กันไป ซ่งึ อาจแบงหนาท่ีของประโยคไดเปน 4 ประเภทดวยกัน
คอื

1. รูปประโยคบอกกลาวหรือบอกเลา ประโยคลักษณะนี้ โดยปกติจะมี ประธาน กริยา
และอาจมกี รรมดวย นอกจากนอ้ี าจมสี วนขยายตาง ๆ เพื่อใหชดั เจน โดยทว่ั ไปประโยคบอกเลาจะบง ชี้
เจตนาวา ประธานของประโยคเปนอยา งไร
ตวั อยา ง

ประโยค เจตนา

ภาษาไทยเปนภาษาประจาํ ชาตขิ องเรา ภาษาไทยเปน อะไร
นอ งหิวขา ว นองอยูในสภาพใด

120

2. รปู ประโยคปฏเิ สธ ประโยคน้แี ตกตา งจากประโยคบอกกลา ว หรือบอกเลาตรงที่มีคําวา “ไม”
หรือคําทม่ี คี วามหมายในทางปฏิเสธ เชน “หามิได” “มิใช” ประกอบคาํ อธบิ ายเสมอไป

ตัวอยาง
วันน้ีไมม ฝี นเลย
เขามใิ ชคนเชนนั้น
หามิได หลอ นไมใ ชคนผิดนัด

สําหรบั ประโยคท่ีผสู ง สารมีเจตนาท่จี ะเสนอแนะมกั จะใชค าํ วา ควรหรอื ควรจะ ในประโยค
บอกเลา สวนในประโยคปฏเิ สธ ใชคําวา ไมควรหรือไมค วรจะ

ประโยคปฏเิ สธ “ชาวนาไมค วรปลกู มันสําปะหลังในท่ีนาเพราะจะทาํ ใหด นิ จืด”
3. ประโยคคําสั่งและขอรอง ประโยครปู นี้มีลักษณะเดน คือ มีแตภาคแสดงเสมอ
สวนประธานซึง่ ตองเปนบุรุษที่ 2 ใหละเวนในฐานท่เี ขาใจ

ตวั อยา ง
ยกมือข้นึ
ยนื ขนึ้
ปลอยเดี๋ยวนี้นะ

รปู ประโยคคําสง่ั เชน ขางตนน้ี อาจใสค าํ วา อยา จง หา ม ขา งหนา ประโยคได
เพื่อใหค าํ ส่ังจริงจงั ยิง่ ข้ึน

ตวั อยาง
อยา ทําบานเมอื งสกปรก
จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี
หามมยี าเสพติดไวใ นครอบครอง

4. รปู ประโยคคําถาม ประโยครูปนีท้ ําหนา ทีเ่ ปนคําถามวางอยูตอนตน
หรือตอนทา ยของประโยคกไ็ ด

คาํ แสดงคาํ ถามแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
4.1 คําแสดงคําถามที่ผสู งสารตอ งการคําตอบเปนใจความใหม
4.2 คาํ แสดงคาํ ถามท่ผี สู งสารตอ งการคาํ ตอบเพยี ง “ใช” หรอื “ไม”

121

เรอ่ื งที่ 4 หลักในการสะกดคาํ

สะกดอยา งไรใหถูกตอ ง

การใชภ าษาในการส่อื สาร ไมวา จะดวยการพดู และการเขยี น หรืออา นจําเปนตองใชใหถูกตอง
โดยมหี ลกั การไวดงั น้ี

การใชต ัวสะกด

ถาเปนคําภาษาไทยแทจะใชตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน จง บิน ชม เชย เดียว ปก
รด พบ เปน ตน สว นคาํ ภาษาไทยที่มาจากภาษาตางประเทศนั้นมีท้ังสะกดตรงตามมาตราและใชตัวสะกด
หลายตัวตามรูปศพั ทเดมิ โดยเฉพาะภาษาบาลีสนั สกฤต เชน

1. คาํ ในภาษาไทยทมี่ าจากภาษาเขมร ภาษาบาลี สันสกฤตบางคํา และคําท่ีมาจากภาษาอ่ืน
ที่ใชต ัวสะกดตรงตามมาตรา

คําไทยทมี่ าจากภาษาเขมร เชน จํานอง ดาํ เนนิ ขจดั อาํ นวย บงั คม เปน ตน
คาํ ไทยทม่ี าจากภาษาบาลี สันสกฤต เชน ทาน คําไทยท่ีมาจากภาษาอน่ื เชน มังคุด
2. คําไทยที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตมตี ัวสะกดอยใู นมาตรา แม กน กก กด กบ อาจจะใช
ตวั สะกดไดหลายตวั ตามรูปในภาษาเดมิ ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี
2.1 คําในแม กน เชน

พน ใช น สะกด แปลวา ปา ศัพทเดิม พน อา น พะ นะ

ชล ใช ล สะกด แปลวา นา้ํ ศพั ทเ ดิม ชล อา น ชะ ละ

บญุ ใช ญ สะกด แปลวา ความดี ศัพทเ ดิม ปญุ ญ อาน ปุน ยะ

คุณ ใช ณ สะกด แปลวา ความเกอื้ กลู ศพั ทเ ดมิ คุณ อาน คุ ณะ

พร ใช ร สะกด แปลวา ความดี ศพั ทเดิม วร อาน วะ นะ

122

2.2 คาํ ในแม กก เชน
ชนก ใช ก สะกด แปลวา พอ ศัพทเดิม ชนก อาน ชะ นะ กะ
มขุ ใช ข สะกด แปลวา หนา ปาก ทาง ศัพทเดิม มขุ อาน มกุ ขะ
มัค ใช ค สะกด แปลวา หนทาง ศพั ทเ ดิม มค อา นวา มัก คะ
เมฆ ใช ฆ สะกด แปลวา ไอนํ้ารวมตัวกันเปนกลุม ลอยตัวอยูในอากาศ

เมฆ อานวา เม ฆะ
จกั ร ใช กร สะกด แปลวา อาวธุ ศัพทเดิม จกร อา น จัก กระ

2.3 คําในแม กด เชน
อนุญาต พยางคห ลงั ใช ต สะกด แปลวา ยนิ ยอมให ศัพทเดมิ อนุญาต
อานวา อะ นุน ยา ตะ
สัจ ใช จ เปนตัวสะกด แปลวา การตง้ั ความสตั ย ศพั ทเดมิ สัจจฺ
อา นวา สัต จะ
พชื ใช ช เปน ตัวสะกด แปลวา เมลด็ พนั ธไุ ม ศัพทเ ดิ พืชและวีช
อานวา พี ชะ และ วี ชะ
ครุฑ ใช ฑ สะกด หมายถงึ พญานกท่เี ปน พาหนะของพระนารายณ
ศัพทเดมิ ครุฑ อา นวา คะ รู ดะ
รัฐ ใช สะกด แปลวา ประเทศ ศพั ทเ ดิม ร ฏ ฐ
อานวา รัต ถะ
รถ ใช ถ สะกด แปลวา ยานทม่ี ีลอสําหรับเคลือ่ นไป
ศพั ทเดิม รถ อา นวา ระ ถะ
อาพาธ อา นวา อา พา ทะ
ชาติ ใช ติ สะกด แปลวา เกิด ศัพทเ ดิม ชาติ อา นวา ชา ติ
เหตุ ใช ตุ สะกด แปลวา ทม่ี า ศพั ทเ ดมิ เหตุ อา นวา เห ตุ
มาตร ใช ตร สะกด แปลวา เครื่องวัดตาง ๆ ศัพทเ ดมิ มาตร
อา นวา มาด ตระ
เพชร ใช ชร สะกด แปลวา ชื่อแกวท่แี ข็งที่สดุ และมนี ้ําแวววาวกวา
พลอยอ่ืน ๆ ศพั ทเ ดิม วชรฺ และ วชริ อา นวา วดั ชระ และ
วะ ชิ ระ

123

ทิศ ใช ศ สะกด แปลวา ดา น ขา ง ทาง เบอ้ื ง
ศพั ทเดมิ ทศิ อานวา ทิ สะ

คําในแมก ด ในภาษาบาลี สนั สกฤตใชพ ยัญชนะหลายตัวเปนตวั สะกด จงึ ตอง
สังเกตและจดจาํ ใหด ีจึงจะสามารถเขยี นไดถูกตองตามสะกดการันต

2.4 คําในแม กบ เชน

บาป ใช ป สะกด แปลวา ความชั่ว
ศัพทเ ดมิ บาป อา นวา ปา ปะ

เสพ ใช พ สะกด แปลวา กิน บริโภค
ศัพทเ ดมิ เสพ อานวา เส พะ

โลภ ใช ภ สะกด แปลวา ความอยากไดไ มรูจักพอ
ศพั ทเดมิ โลภ อานวา โล พะ

3. คาํ ทีม่ าจากภาษาเขมร เรานาํ มาใชในลกั ษณะคําแผลงตา ง ๆ มีขอควรสงั เกต คือ
เมอ่ื แผลงคําแลว ตัวสะกดจะเปน ตวั เดียวกับคําเดมิ เชน

เกิด เปน กําเนิด
จรสั เปน จาํ รัส
ตรวจ เปน ตาํ รวจ
ตรสั เปน ดาํ รัส
เสรจ็ เปน สําเร็จ

ฯลฯ
4. คําที่มาจากภาษาบาลี สนั สกฤตบางคําจะมีตัวสะกดและตัวตามในภาษาไทย เรานํามาใช
ท้ังรปู แบบเต็มรูปและตดั ตัวสะกดออกบา ง

วฑุ ฒิ ไทยใช วุฒิ
รฏฐ ไทยใช รัฐ
อฑฒ ไทยใช อฒั เชน อัฒจันทร

การประและไมป ระวิสรรชนีย

การประวิสรรชนีย มีหลกั ดังนี้
1. คําไทยแทที่ออกเสียง อะ ชัดเจน และคําที่ยอสวนจากคําประสม เชน มะมวง มะนาว
กระทะ สะอึก เปนตน ยกเวนคําบางคํา เชน ณ ธ ทนาย ฯพณฯ เปน ตน
2. คาํ ทม่ี าจากภาษาบาลี สนั สกฤต ถาตอ งการใชอานออกเสยี ง สระ อะ ที่ทา ยพยางค
ใหประวิสรรชนยี ทพ่ี ยางคท าย เชน พละ ศลิ ปะ สาธารณะ ทกั ษะ มรณะ สมณะ ฯลฯ

124

3. คําท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤตที่มีพยางคหนาออกเสียง กระ ตระ ประ ในภาษาไทย
ใหป ระวสิ รรชนยี  เชน กระษยั กระษาปณ ตระกลู ประกาศ ประสาท ประโยชน ประชาราษฎร ฯลฯ

4. คําทไ่ี มทราบท่ีมาไดแนช ัดวามาจากภาษาใด แตถ า อา นออกเสยี ง อะ ใหประวิสรรชนีย เชน
กะละแม กะหลํา่ กะละมงั สะอาด สะครวญ สะดอื โพระดก พะโล สะระแหน จะละเม็ด สะว้ีดสะวาด
ปะเหลาะ ปะแหละ ฯลฯ

การไมป ระวสิ รรชนยี  มหี ลกั ดังนี้
1. คาํ ทอ่ี อกเสียง อะ ไมเ ตม็ มาตรา หรอื คาํ ทเ่ี ปน อักษรนํา เชน กนก ขนม ฉลาด สมอง ฯลฯ
ยกเวนกะรัต
2. คาํ สมาสในภาษาบาลี สนั สกฤต ซงึ่ มีเสยี ง อะ ระหวา งคาํ เชน พลศกึ ษา ศิลปกรรม เปนตน
หรอื คาํ ทมี่ ีเสียง อะ ท่ีพยางคห นาของคาํ
3. คาํ ท่มี าจากภาษาเขมรมีพยัญชนะตน 2 ตัวซอนกัน ในภาษาไทยอานออกเสียงพยัญชนะ
ตวั หนาเปน อะ ไมต อ งประวสิ รรชนยี  เชน จรญู จรวย จรวด ผม ผจญ สลา สมอง ขโมย ขนง ขนาน
ขนาบ ขนบ ถนน ถนอม
4. คาํ ทับศพั ทภาษาองั กฤษอาจจะประหรอื ไมป ระวสิ รรชนียใหถือปฏิบัติตามแนวท่ีนิยมเขียน
กันมา เชน เยอรมนั อเมริกา สติกเกอร โปสเตอร ไอศกรมี อะลมู เิ นยี ม อะตอม อะมบี า

การใชค ํา อํา อมั และ อาํ ม

อาํ ( _ำ )
1. ใชกับคําไทยทว่ั ไป เชน ชํา คํา จํา รํา เปนตน
2. ใชกบั คาํ แผลงท่ีมาจากภาษาอ่ืน เชน เกดิ กาํ เนดิ ตรวจ ตํารวจ เปนตน
อมั ( _ั ม )
1. ใชคําท่ีเปนสระ อะ มตี ัว ม สะกดในภาษาบาลี สันสกฤต เชน คัมภีร สมั ผสั สัมภาษณ
อมั พร เปน ตน
2. ใชกับคาํ ทมี่ าจากภาษาอังกฤษ เชน กิโลกรมั ปม อลั บั้ม เปนตน
อาํ ม (_ำ ม )
ใชกับคําท่ีมีเสียงสระ อะ แลวมี ม ตามในภาษาบาลี สันสกฤต เชน อํามาตย อํามฤต
อํามหติ เปนตน

การใช ไอ ใอ อัย ไอย ( ไ- ใ- -ัย ไ-ย )

1. การใช ไ- สระไอไมมลาย ใชกับคําไทยท้ังหมด เชน ไกล ไคล ใจ ไหม ตระไคร ไฟ ไข
ได ไป ฯลฯ เวนแตคําไทยที่ใชสระไอไมมวน 20 คํา และคํามาจากภาษาอื่น นอกจากภาษาบาลี
สันสกฤตใหใช ไอ เหมือนภาษาไทยท้งั ส้ิน

คําแผลงมาจาก สระ อิ อี เอ เปนสระไอในภาษาไทยใหใชสระไอไมมลาย เชน วิจิตร
ไพจิตร วิหาร ไพหาร ตรี ไตร ฯลฯ หรือคําบาลี สันสกฤตเดิมมีสระไออยูแลว ใหใช ไอ เชน

125

ไอศวรย ไอศวรรย ไมตรี ไมตรี ฯลฯ คําท่ีมาจากภาษาอื่นไมใชภาษาบาลี สันสกฤตใหใชสระไอ

เชน ไกเชอร เซียงไฮ กาํ ไร ไนลอน ไนโตรเจน ไฉน ไสว ฯลฯ

2. การใช ใ- สระใอไมม ว น ใชก ับ คาํ 20 คํา ดงั น้ี

ใฝใจใครใครรูให ใหลหลง

ในใหมใสใ หญยง ตาํ่ ใต

ใดใชใ ชใบบง ใยยดื

ใสสะใภใ กลใ บ สิบมวนสองหน

หรอื

ผูใหญหาผาใหม ใหส ะใภใชค ลองคอ

ใฝใ จเอาใสหอ มิหลงใหลใครขอดู

จะใครลงเรอื ใบ ดนู ้ําใสและปลาปู

สง่ิ ใดอยใู นตู มใิ ชอยใู ตตั่งเตยี ง

บาใบถือใยบวั หตู ามัวมาใกลเคียง

เลา ทองอยาละเลีย่ ง ยส่ี บิ มวนจาํ จงดี

3. การใช -ั ย ( อัย )

ใชคําท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ซึ่งมีเสียงอะ และ ย ตาม และถาในภาษาเดิมมี ย

สะกดและ ย ตามเมอ่ื นํามาใชในภาษาไทยใหค ง ย ไว

ชยั มาจาก ชย

วัย ” วย

นยั ” นย

อาลัย ” อาลย

อทุ ยั ” อุทย

อยั ยะ ” อยย

อยั ยิกา ” อยยกิ า

4. การใช ไ-ย (ไอย)

ใชกบั คาํ ทีม่ าจากภาษาบาลซี งึ่ มสี ระ เอ มี ย สะกด และมี ย ตาม เ ยย เอย ย

เมื่อนํามาใชในภาษาไทย แผลงเปน “ไอย” เชน

ไวยากรณ มาจาก เวยฺยากรณ

อธปิ ไตย ” อธปิ เตยฺย

ไทยทาน ” เทยฺยทาน

เวไนย ” เวเนยฺย

อสงไขย ” อสงเฺ ขยฺย

126

การใชว รรณยกุ ต

การใชวรรณยุกตไดถูกตองนน้ั จะตอ งมคี วามรูใ นเร่อื งตอไปนี้

1. ไตรยางค หรอื อักษร 3 หมู ไดแก

อกั ษรสูง มี 11 ตวั ไดแ ก ษ ฆ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห

อกั ษรกลาง มี 9 ตวั ไดแ ก ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ

อกั ษรต่ํา มี 24 ตัว แบงออกเปน 2 ชนดิ ดงั น้ี

อักษรตาํ่ คู มี 14 ตวั ไดแก ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ

อักษรต่ําเดย่ี ว มี 10 ตวั ไดแ ก ง ญ ณ น ม ย ร ล ฬ ว

2. คําเปนคําตาย

2.1 คาํ เปน คอื คาํ ท่มี ีลักษณะอยา งใดอยางหน่ึงตอไปนี้

ประสมกับสระเสียงยาวในแม ก กา เชน ป มา

ประสมกับสระ อาํ ไอ ใอ เอา เชน ไป ใกล ขาํ

มตี ัวสะกดในมาตราแม กง กน เกย เกอว เชน ตรง จน กลม เชย เดยี ว

2.2 คําตาย คอื คําที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึง่ ตอ ไปนี้

ประสมกับสระเสยี งส้นั ในมาตราแม ก กา ยกเวน อํา ไอ ใอ เอา เชน จะ ผุ ติ

มตี ัวสะกดในมาตราแม กก กด กบ

3. การผันอักษร มีหลกั การดงั น้ี

อักษรสูง คําเปน พ้ืนเสียงเปนเสียงจัตวา ผันดวย วรรณยุกต เปนเสียงเอก ผันดวย

วรรณยุกต  วรรณยกุ ต  เปน เสียงโท เชน ผา ผา ผา ขาม ขา ม ขาม

อกั ษรสงู คาํ ตาย พน้ื เสยี งเปน เสยี งเอก ผนั เสียงวรรณยุกต  เปน เสียงโท เชน ฉะ ฉะ

ขบ ขบ

อักษรกลาง คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวยวรรณยุกต     เปนเสียง

เอก โท ตรี จตั วา ตามลาํ ดับ เชน ปะ ปา ปะ ปะ โกะ โกะ โกะ โกะ

อักษรต่ํา คําเปน พ้ืนเสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวย วรรณยุกต   เปนเสียงโท ตรี

ตามลาํ ดับ เชน คา คา คา เทา เทา เทา

อกั ษรต่ํา คาํ ตาย สระเสยี งส้ัน พน้ื เสยี งเปน เสียง ตรี ผัน ดว ยวรรณยุกต  เปนเสียงโท

ผันดว ยวรรณยุกต  เปนเสยี งจัตวา เชน คะ คะ คะ

อกั ษรตํ่า คําตายสระเสียงยาว พื้นเสียงเปน เสยี งโท ผันดวยวรรณยุกต  เปนเสยี งตรีผัน

ดวยวรรณยกุ ต  เปน เสยี งจตั วา เชน คาบ คา บ คา บ

อักษรตํา่ ตองอาศัยอักษรสูงหรืออักษรกลางชวย จงึ จะผนั ไดครบ 5 เสียง

เชน คา ขา ขา คา ขา เลา เหลา เลา เหลา เลา เหลา

127

ขอสังเกต
1. อกั ษรสูงและอักษรกลางจะมรี ปู วรรณยกุ ตต รงกบั เสียงวรรณยกุ ต
2. อกั ษรสงู และอกั ษรตํ่าไมใ ชวรรณยุกตตรีเลย
3. อักษรตาํ่ จะมีเสยี งวรรณยุกตสูงกวา รปู วรรณยุกต
4. อกั ษรเดย่ี วหรืออักษรตํ่าเด่ียวเมื่อตองการผันใหครบ 5 เสียง ตองใชอักษรสูงหรืออักษร

กลางนํา เชน ยา หยา อยา ยา ยา หยา
5. อักษรคูและอกั ษรสูงตอ งอาศัยอกั ษรท่ีคกู ันชวย จงึ จะผนั ไดค รบ 5 เสียง เชน

คา ขา คา ขา คา ขา

การใชเครื่องหมายทณั ฑฆาต ( )

เคร่ืองหมายทัณฑฆาต  ใชเขียนเหมือนพยัญชนะที่ไมตองการออกเสียง ซ่ึงเราเรียกวา
ตัวการนั ต มีหลกั การดงั นี้

1. พยัญชนะที่อยูขางหลังตัวสะกด ถามีเครื่องหมายทัณฑฆาต ถือวาพยัญชนะตัวน้ันเปน
ตวั การันตไ มตองออกเสียง เชน เสาร ไมค ยักษ อาทิตย เปน ตน

2. พยญั ชนะทอี่ ยขู า งหลงั ตวั สะกดสองตัวหรอื สามตวั ถาตัวใดตวั หน่งึ มีเคร่อื งหมายทัณฑฆาต
กํากับถือวา พยัญชนะทั้งสองตัวเปนตัวการันต ไมตองออกเสียง เชน วันจันทร พระอินทร
พระลักษณ เปนตน

ทงั้ น้ี จะไมใชเ คร่ืองหมายทัณฑฆาตกบั ตัวสะกดทเ่ี ปน อักษรควบกล้ํา และตัวสะกดที่มีสระ
กาํ กับ เชน จกั ร มติ ร เกยี รติ เปนตน

เรอ่ื งท่ี 5 คําราชาศพั ท

ราชาศพั ท แปลตามศัพท หมายถงึ ถอยคาํ สําหรับพระราชา แตต ามตาํ ราหลักภาษาไทยไดให
ความหมายเกินขอบเขตไปถงึ ถอยคําภาษาสาํ หรบั บคุ คล 3 ประเภท คอื

1. ศพั ทท ี่ใชสําหรบั พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ
2. ศัพทท ใ่ี ชสําหรบั พระภกิ ษสุ งฆ
3. ศัพทท ่ีใชสาํ หรับสุภาพชน

1. ศัพทม ใี ชส าํ หรับพระมหากษัตรยิ และพระบรมวงศานวุ งศ

คาํ ศัพทป ระเภทนเ้ี ราจะไดฟ ง หรือไดอ า นบอยมาก สวนใหญจะเปน ขาวหรือเร่ืองราวท่ีเกี่ยวกับ
กรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ และพระบรมวงศานุวงศ ลกั ษณะของราชาศัพทประเภทนี้มีลักษณะเดน
ที่นา สนใจ คือ

1.1 ใชคาํ วา ทรง เพื่อใหเ ปน คาํ กรยิ า
ทรง นาํ หนากรยิ าทีเ่ ปน คาํ ไทย เชน ทรงเลน ทรงรองเพลง ทรงออกกาํ ลังกาย

128

ทรง นาํ หนาคาํ นามทเี่ ปน คําไทยแลวใชเปนกรยิ า เชน ทรงชาง ทรงมา ทรงเรอื ใบ

ทรง นําหนา คําทีเ่ ปน ราชาศัพทอ ยแู ลว เชน ทรงพระอกั ษร ทรงพระสาํ ราญ

ทรงพระราชนิพนธ

1.2 ใชคําไทยนําหนาคําทเ่ี ปน ราชาศัพทอยูแลว เพอื่ ใหเ ปนคาํ กรยิ า เชน ทอดพระเนตร

1.3 ใชคําไทยนําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เพื่อใหเปนคํานาม เชน ซับพระพักตร

ผาเชด็ หนา ถงุ พระบาท ถุงเทา ถุงพระหตั ถ ถงุ มือ การใชคําธรรมดานําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว

เพ่อื ใหเ ปน คํานาม ยังมีอีกเชน ฉลองพระองค ฉลองพระหัตถ ฉลองพระเนตร แวนตา มูลพระชิวหา

น้าํ ลาย

1.4 ใชค าํ วา ตน หรือ หลวง ลงทา ยคาํ นามหรอื กริยา เชน เสด็จประพาสตน พระแสงปนตน

เครื่องตน รถหลวง เรือหลวง

1.5 คาํ ทีก่ าํ หนดใหเปนราชาศพั ทสามารถจําแนกชนดิ ตาง ๆ ได เหมอื นคําในภาษาสามัญ

คือมีทงั้ คํานาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ และมีคาํ ลกั ษณะนามใชเปนพเิ ศษอีกดวย เชน

คาํ นาม

พระเศียร หัว พระนลาฏ หนา ผาก

พระชนก พอ พระชนนี แม

พระราชสาสน จดหมาย พระแสงกรรบดิ มดี

คําสรรพนาม

ขาพระพทุ ธเจา กระหมอม หมอ มฉัน บรุ ุษท่ี 1

ใตฝา ละอองธุลีพระบาท ใตฝา พระบาท ฝาพระบาท บุรุษที่ 2

พระองคทาน พระองค ทา น บรุ ษุ ท่ี 3

คาํ กริยา

กริยาเปนราชาศัพทอยูแลวไมตองมีคําวา ทรง นําหนา เชน เสด็จ ตรัส เสวย เปนตน

นอกน้นั ตอ งเติมดวยคาํ วา พระ หรอื ทรงพระราช เพอื่ ใหเปน คํากริยา เชน ทรงพระอกั ษร เขยี นหนังสือ

ทรงพระราชนพิ นธ แตงหนังสือ

คําวิเศษณ

มีแตคําขานรับ ซึ่งแยกตามเพศ คือ หญิง ใชคําวา เพคะ ชาย ใชคําวา พระพุทธเจาขอรับ

พระพทุ ธเจาขา พะยะคะ

คําลกั ษณะนาม

ใชค ําวา องค กับ พระองค เปนคําท่ีเกย่ี วกับสวนตา ง ๆ ของรา งกาย และเคร่ืองใชของทาน

เชน พระทนต 2 องค ฟน 2 ซี่ ปราสาท 2 องค

1.6 การใชราชาศพั ทแ บบแผน วธิ พี ดู ในโอกาสตา ง ๆ อกี ดวย เชน

การใชคําขอบคุณ

ถาเรากลา วแกพ ระมหากษัตรยิ  ใชว า “รูสึกขอบพระมหากรุณาธคิ ณุ เปน ลนเกลา ฯ”

129

การใชค ําขออนุญาต
ถาเรากลา วแกพระมหากษตั รยิ  ใชวา “ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต”
กลา วเมื่อถวายของ
ถาเรากลา วเมอ่ื ถวายของ
“ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอม ถวาย......................” หมายถึง สิ่งของ
ขนาดเลก็
“ขอพระราชทานนอมเกลานอมกระหมอม ถวาย....................” หมายถึง
สิง่ ของขนาดใหญ ยกไมได

2. ศพั ทท่ใี ชสาํ หรบั พระภิกษุสงฆ

พระภิกษุ เปน ผทู ไี่ ดร บั ความเคารพจากบคุ คลทวั่ ไป ในฐานะทเ่ี ปนผูทรงศีล และเปนผูสบื
พระศาสนา การใชถ อยคําจึงกาํ หนดข้นั ไวตางหากอกี แบบหนงึ่

เฉพาะองคสมเดจ็ พระสังฆราช ซ่งึ ถือเปนประมขุ แหงสงฆน้ันกําหนดใหราชาศัพทเทียบเทากับ
พระราชวงศช ้นั หมอ มเจา แตถา พระภิกษุน้นั เปนพระราชวงศอ ยแู ลวกค็ งใหใ ชราชาศัพทตามลําดับช้ันที่
เปน อยูแลว นน้ั

การใชถ อ ยคาํ สําหรบั พระภิกษโุ ดยทัว่ ไปมขี อสงั เกต คือ ถา พระภิกษุใชกับพระภิกษดุ วยกันหรือ
ใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสาํ หรับกษัตริยและพระราชวงศ
คนอน่ื ที่พดู กับทา นหรอื พูดถงึ ทานจงึ จะใชราชาศพั ท แตถา พระองคท า นพูดกบั คนอื่นจะใชภาษาสุภาพ
ธรรมดา เชน

มผี พู ดู ถึงพระวา “พระมหาสนุ ทรกาํ ลังอาพาธอยูในโรงพยาบาล”
พระมหาสุนทรพูดถงึ ตวั ทานเองกย็ อ มกลา ววา “อาตมากําลังอาพาธอยทู ีโ่ รงพยาบาล”
มผี ูพ ดู ถงึ พระราชวงศหนึ่งวา “พระองคเจา ดิศวรกุมารกาํ ลงั ประชวร”
พระองคเ จาเม่อื กลาวพระองคถงึ พระองคเ องยอ มรับส่ังวา “ฉนั กาํ ลงั ปว ย”

ตัวอยางคาํ ราชาศพั ทส าํ หรับพระภิกษุบางคํา

คาํ นาม ภัตตาหาร อาหาร ไทยทาน ส่งิ ของถวาย อาสนะ ที่นง่ั กฏุ ิ ทีพ่ ักในวัด
คําสรรพนาม เภสชั ยารักษาโรค ธรรมาสน ที่แสดงธรรม
อาตมา ภิกษเุ รยี กตนเองกบั ผูอ่นื
ผม กระผม ภิกษุเรยี กตนเองใชก ับภกิ ษดุ วยกนั
มหาบพติ ร ภกิ ษเุ รยี กพระมหากษตั รยิ 
โยม ภิกษุเรยี กคนธรรมดาที่เปนผใู หญกวา
พระคุณเจา คนธรรมดาเรยี กสมเด็จพระราชาคณะ
ทา น คนธรรมดาเรียกพระสงฆ

130

คาํ กริยา ประเคน ยกของดว ยมอื มอบใหพ ระ ถวาย มอบให

ฉนั กนิ อาพาธ ปว ย

มรณภาพ ตาย อนโุ มทนา ยินดดี ว ย

จําวัด นอน

คําลักษณะนาม รูป เปนลกั ษณะนามสาํ หรบั นบั จํานวนภิกษุ เชน พระภกิ ษุ 2 รปู คนทัว่ ไปนิยมใช

คําวา องค

3. คําท่ีใชสาํ หรบั สุภาพชน

การใชถอยคาํ สาํ หรับบคุ คลท่วั ไป จําเปนตอ งใชใ หส มฐานะและเกยี รติยศ ความสัมพันธร ะหวาง
ผทู ีต่ ิดตอส่อื สารกนั จะตองคาํ นงึ ถงึ อายุ เพศ และตําแหนงหนาที่การงานดวย นอกจากนั้น เวลา และ
สถานท่ียงั เปนเครอ่ื งกาํ หนดอกี ดวยวา ควรเลอื กใชถอ ยคําอยางไรจงึ จะเหมาะสม

ตัวอยางคาํ สภุ าพ เชน บิดา พอ มารดา แม และใชคําวา คุณ นําหนา ชอื่ เชน คุณพอ คณุ ลงุ
คาํ นาม คณุ ประเสรฐิ คณุ ครู เปนตน ศีรษะ หัว โลหิต เลือด อุจจาระ ขี้ ปสสาวะ
เยย่ี ว โค วัว กระบอื ควาย สนุ ัข หมา สกุ ร หมู เปนตน
คํากริยา รบั ประทานอาหาร กนิ ถงึ แกก รรม ตาย คลอดบตุ ร ออกลูก ทราบ รู
คําสรรพนาม เรยี น บอกใหร ู เปน ตน
ดิฉัน ผม กระผม บรุ ษุ ที่ 1
คําวิเศษณ คณุ ทา น เธอ บุรุษที่ 2 และ 3
คาํ ลักษณะนาม การใชส รรพนามใหสุภาพ คนไทยนิยมเรยี กตามตําแหนง หนา ทีด่ วย เชน
ทา นอธิบดี ทา นหวั หนากอง เปน ตน
คําขานรับ เชน คะ เจา คะ ครบั ครบั ผม เปน ตน
คาํ ขอรอง เชน โปรด ไดโปรด กรณุ า เปนตน
ลกั ษณะนามเพือ่ ยกยอง เชน อาจารย 5 ทา น แทนคําวา คน
ลกั ษณะนามเพื่อใหส ุภาพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคาํ วา ลูก
ผลไม 5 ผล แทนคําวา ลกู

เรอ่ื งท่ี 6 การใชสํานวน สุภาษติ คําพงั เพย

คนไทยนิยมใชภาษาถอยคําสํานวนท่สี ละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการออกเสยี ง
ลกั ษณะนสิ ยั คนไทยเปน คนเจาบทเจากลอนอยแู ลว เวลาพดู หรือเขียนจึงนิยมใชถ อยคําสํานวนปน
อยเู สมอถอยคาํ สํานวนตาง ๆ เหลานี้ชวยใหการสื่อสารความหมายชัดเจน ไดความไพเราะ
ถายทอดอารมณความรูสึกตาง ๆ ไดดีบางครั้งใชเ ปน การสอ่ื สารความหมายเพ่ือเปรียบเปรยไดอยาง

131

คมคายลกึ ซ่งึ เหมาะสมกบั วัฒนธรรมความเปนอยูข องคนไทย ซ่งึ แสดงถงึ อธั ยาศยั ท่ีดตี อคนอนื่
เปนพ้ืนฐาน

ประเภทของถอยคําสํานวน

1. ถอยคําสาํ นวน เปนสาํ นวนคาํ ที่เกิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคาํ ใหม เชน คาํ ผสม

คําซอน หรือคําทเ่ี กิดจากการผสมคาํ หลายคํา ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมาย

ไมแ ปลตรงตามรปู ศัพท แตม คี วามหมายในเชิงอปุ ไมย เชน

ไกอ อน หมายถงึ คนท่ยี ังไมชํานาญในชัน้ เชงิ

กิง่ ทองใบหยก หมายถึง ความเหมาะสมของคูกนั นัน้ มีมาก

เกลือจมิ้ เกลอื หมายถงึ มคี วามดรุ ายเขาหากัน แกเผด็ กนั

แกวง เทา หาเสย้ี น หมายถงึ การหาเร่ืองเดือดรอน

ขิงกร็ าขา กแ็ รง หมายถึง ตางฝา ยก็รา ยเขา หากนั

แขวนนวม หมายถงึ เลกิ การกระทาํ ทเ่ี คยทํามากอน

คว่าํ บาตร หมายถงึ การบอกปฏเิ สธไมค บคา สมาคมดวย

คมในฝก หมายถงึ มคี วามฉลาดรอบรแู ตย งั ไมแสดงออกเมอื่ ไมถ งึ เวลา

งามหนา หมายถงึ นาขายหนา

งูกนิ หาง หมายถงึ เกย่ี วโยงกนั เปน ทอด ๆ

จนตรอก หมายถงึ หมดหนทางท่ีจะหนีได

จระเขข วางคลอง หมายถึง คอยกดี กนั ไมใ หคนอื่นทาํ อะไรไดส ะดวก

ชักหนา ไมถ ึงหลงั หมายถงึ รายไดไมพอจับจา ย

ชบุ มอื เปบ หมายถึง ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอ่ืน

หญาปากคอก หมายถงึ เร่อื งงา ย ๆ คิดไมถ ึง

ตกหลมุ พราง หมายถึง เช่อื ตามทเี่ ขาหลอก

ตาํ ขาวสารกรอกหมอ หมายถงึ การทาํ อะไรเฉพาะหนาคร้งั คราว

พอใหเ สรจ็ ไปเทา นั้น

ทง้ิ ทวน หมายถึง ทําดที ่ีสุดเปน ครัง้ สุดทาย

นาํ้ รอ นปลาเปน หมายถึง การพดู หรอื ทาํ อยางละมุนละมอ ม

น้าํ เยน็ ปลาตาย ยอมสําเรจ็ มากกวาทาํ รุนแรง

น้าํ ทวมปาก หมายถึง รอู ะไรแลว พูดไมไ ด

บองตื้น หมายถึง มีความคดิ อยา งโง ๆ

ผักชีโรยหนา หมายถึง ทําดีแตเพยี งผิวเผนิ

ผาขร้ี ้วิ หอ ทอง หมายถงึ คนมัง่ มแี ตทําตวั ซอ มซอ

ใฝส งู เกินศักด์ิ หมายถึง ทะเยอทะยานเกินฐานะ

ฝากผฝี ากไข หมายถึง ขอยดึ เปน ทพ่ี ึ่งจนตาย

132

พกหนิ ดีกวาพกนนุ หมายถงึ ใจคอหนักแนน ดีกวาใจเบา

พระอิฐ พระปูน หมายถึง นิง่ เฉยไมเดอื ดรอน

มวยลม หมายถงึ ทําทาจะเลกิ ลม ไมดาํ เนนิ การตอไป

มืดแปดดา น หมายถงึ มองไมเ หน็ ทางแกไ ขคิดไมอ อก

ยอ มแมวขาย หมายถึง เอาของไมด ีมาหลอกวา เปน ของดี

โยนกลอง หมายถึง มอบความรับผดิ ชอบไปใหค นอ่นื

ลอยชาย หมายถึง ทําตวั ตามสบาย

ลอยแพ หมายถงึ ถกู ไลอ อก ปลดออก ไมเ กี่ยวของกนั ตอ ไป

สาวไสใหก ากิน หมายถงึ ขุดคุยความหลัง ส่งิ ไมด ีมาประจานกันเอง

สกุ เอาเผากิน หมายถงึ ทาํ อยา งลวก ๆ ใหเสร็จไปครง้ั หนึง่ ๆ

หอกขางแคร หมายถงึ อนั ตรายที่อยูใกลต ัว

อดเปรีย้ วไวก นิ หวาน หมายถึง อดทน ลาํ บากกอน จงึ สบายภายหลัง

2. คําพังเพย หมายถงึ ถอยคําทกี่ ลาวขึน้ มาลอย ๆ เปน กลาง ๆ มีความหมายเปนคติสอนใจ

สามารถนําไปตีความแลวนําไปใชพ ดู หรือเขียนใหเหมาะสมกบั เร่อื งท่เี ราตองการส่ือสารความหมายได

มีลกั ษณะคลา ยคลึงกับสภุ าษติ มาก อาจเปน คาํ กลา ว ตชิ ม หรอื แสดงความคดิ เห็น เชน

รําไมดีโทษปโทษกลอง หมายถึง คนทท่ี ําอะไรผิดแลวมักกลาวโทษส่ิงอ่ืน

ข่ีชา งจับตั๊กแตน หมายถึง การลงทนุ มากเพอื่ ทํางานท่ีไดผลเล็กนอ ย

ชีโ้ พรงใหกระรอก หมายถึง การแนะนําใหค นอื่นทําในทางไมด ี

เสยี นอ ยเสียยาก หมายถงึ การไมร ูว าส่ิงไหนจาํ เปนหรือไมจาํ เปน

เสียมากเสยี งาย ใชจ า ยไมเ หมาะสม

คาํ พังเพยเหลานี้ยงั ไมเปน สุภาษิตก็เพราะวา การกลาวนั้นยังไมมีขอยุติวาเปนหลักความจริง

ท่ีแนนอน ยังไมไ ดเปน คําสอนท่แี ทจรงิ

133

ตัวอยา งคาํ พังเพย

คาํ พงั เพย ความหมาย

กระเชอกนร่ัว เปน คนสุรยุ สรุ าย
กลานักมักบิน่ คนทีอ่ วดเกงกลาจนเกินไปจนอบั จนสักวนั
ขี่ชางจบั ตั๊กแตน ลงทนุ ไมคมุ กบั ผลท่ไี ด
ทาํ บญุ เอาหนา ภาวนากนั ตาย ทาํ อะไรเพ่ือเอาหนา ไมท ําดวยใจจริง
หกั ดา มพรา ดวยเขา ทาํ อะไรโดยพลการ
ราํ ไมด โี ทษปโ ทษกลอง ทาํ ไมดีแตโทษผอู ืน่
นายพึ่งบาว เจาพ่งึ ขา ทกุ คนตองพงึ่ พาอาศัยกนั
ชาดไมดี ทาสไี มแดง สันดานคนไมดี แกอ ยา งไรก็ไมด ี
ไมง ามกระรอกเจาะ หญงิ สวยทมี่ ีมลทิน
มอื ไมพายเอาเทาราน้ํา ไมชว ยแลว ยังกีดขวาง
ฟน ฝอยหาตะเขบ็ ฟน เรอื่ งเกามาเลาอีก
หงุ ขาวประชดหมา ปง ปลาประชดแมว แกลง ทาํ แดกดันโดยอกี ฝา ยหน่ึงไมเ ดือดรอ น

ตวั อยา งการนาํ คาํ พงั เพยไปใชใ นความหมายเปรียบเทยี บ
เม่อื กอ นนด้ี ไู มคอ ยสวย เดย๋ี วน้แี ตงตัวสวยมากน่แี หละ ไกง ามเพราะขน คนงานเพราะแตง
เจา มนั ฐานะตาํ่ ตอ ยจะไปรกั ลกู สาวคนรวยไดย งั ไง ตักนํา้ ใสก ะโหลกชะโงกดเู งา ตนเองเสียบา ง
เราอยาไปทําอะไรแขงกบั เขาเลย เขากับเราไมเ หมือนกัน อยาเห็นชา งข้ีขตี้ ามชา ง
แหม...ฉันวาฉันหนีจากเพือ่ นเกา ท่เี ลวแลวมาเจอเพื่อนใหมกพ็ อ ๆ กัน มันเขา ตํารา หนีเสือปะ

จระเข
เขาชอบถว งความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย แถมยังขัดขวางคนอ่ืนอีก น่ีแหละ คนมือไมพาย

เอาเทา รานา้ํ
3. อปุ มาอปุ ไมย หมายถงึ ถอ ยคําทเ่ี ปน สาํ นวนพวกหนึ่ง กลาวทํานองเปรียบเทียบใหเห็นจริง

เขา ใจแจม แจงชดั เจน และสละสลวยนา ฟงมากขึน้ การพูดหรือการเขียนนิยมหาคําอุปมาอุปไมยมาเติม
ใหไดค วามชดั เจนเกิดภาพพจน เขาใจงา ย เชน คนดุ หากตอ งการใหความหมายชัดเจน นาฟง และเกิด
ภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระ การสื่อความยังไมชัดเจน ไมเห็นภาพ
ตอ งอปุ มาอปุ ไมยวา “ขรขุ ระเหมอื นผิวมะกรูด”หรือ “ขรขุ ระเหมือนผิวพระจันทร” ก็จะทําใหเขาใจ
ความหมายในรปู ธรรมชดั เจนมากย่ิงขึ้น

ในการเขยี นบทรอ ยแกว หรอื รอ ยกรองกต็ าม เราไมอ าจเขยี นใหล ะเอยี ดลกึ ซง้ึ เพอ่ื สือ่ ความได
แจมแจงเทากับการพูดบรรยายดวยตนเองได ก็จาํ เปนตองใชอุปมา เพ่ือเปรียบเทียบใหผูรับสาร
จากเราไดรับรูความจริง ความรสู ึก โดยการใชคําอปุ มาเปรียบเทียบ ในการแตงคาํ ประพนั ธก็นิยมใช

134

อุปมากันมากเพราะคาํ อุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสํานวนการเขียนใหไพเราะนาอาน กินใจ
ประทบั ใจมากข้นึ สังเกตการใชอ ปุ มาอปุ ไมยเปรยี บเทียบในตวั อยา งตอไปนี้

ทานจะไปทัพคร้ังนี้ อยาเพิ่งประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปนท่ีปรึกษา
อุปมา เหมอื นเสอื อนั คะนองอยใู นปาใหญ ทานเรงระวงั ตัวจงดี

ตวั อยา งอปุ มาทค่ี วรรจู ัก

แขง็ เหมอื นเพชร กรอบเหมือนขาวเกรียบ
กลมเหมือนมะนาว กลัวเหมือนหนูกลัวแมว
กนิ เหมือนหมู คดเคีย้ วเหมอื นเขาวงกต
แกม แดงเหมือนตาํ ลึงสุก งายเหมือนปอกกลวยเขา ปาก
ขมเหมอื นบอระเพด็ โงเหมือนควาย
ขาวเหมือนสําลี ใจเสาะเหมอื นปอกกลวยเขาปาก
เขยี วเหมอื นพระอนิ ทร เบาเหมือนปุยนนุ
งงเปนไกต าแตก พดู ไมออกเหมือนน้าํ ทวมปาก
เงียบเหมอื นปาชา รกเหมอื นรงั หนู
ใจกวางเหมอื นแมนาํ้ ยากเหมือนงมเขม็ ในมหาสมทุ ร
ใจดําเปน อีกา ลืมตวั เหมอื นววั ลมื ตีน
ซนเหมือนลงิ ชา เหมือนเตา
เดินเหมือนเปด ซีดเหมอื นไกต ม
ตาดาํ เหมอื นนลิ ดําเหมือนตอตะโก
บรสิ ุทธิ์เหมือนหยาดนํ้าคา ง ตาโตเทาไขห า น
เร็วเหมอื นจรวด ไวเหมือนปรอท
เรียบรอยเหมือนผาพบั ไว หนกั เหมือนเดิม
เอะอะเหมอื นเจก ตนื่ ไฟ อดเหมอื นกา
ผอมเหมือนเปรต สงู เหมอื นเสาโทรเลข
มืดเหมือนลืมตาในกระบอกไม ใสเหมือนตาต๊กั แตน
หวานเหมือนนํ้าออย สวยเหมอื นนางฟา
เปรี้ยวเหมือนมะนาว อว นเหมือนตุม
หวงเหมือนหมาหวงกาง เหนยี วเหมอื นตงั เม
หนาขาวเหมือนไขป อก หนาสวยเหมือนพระจันทรว นั เพ็ญ
ยุง เหมอื นยุงตกี ัน รักเหมือนแกว ตาดวงใจ

135

เร่อื งที่ 7 หลักการแตง คําประพนั ธ

การแตงคาํ ประพันธ
คาํ ประพนั ธมีรูปแบบหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท การศึกษา และฝกหัดแตง

กาพย กลอน โคลง เปนการสบื สานวัฒนธรรมการใชภาษาวรรณศิลปข องคนไทย

การแตงกาพย
คาํ ประพนั ธร อ ยกรองประเภทกาพย มหี ลายแบบเรียกชอ่ื ตา ง ๆ กันไป ตามลักษณะคําประพนั ธ

ท่ีแตกตา งกัน เชน กาพยย านี กาพยฉ บงั กาพยสรุ างคนางค กาพยข ับไม เปนตน กาพยนั้น
สนั นษิ ฐานวาเอาแบบมาจากฉันท เพยี งตัดคาํ ครุ คําลหอุ อกไป เทานน้ั

ในท่ีน้ีจะอธิบายเฉพาะกาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และกาพยสุรางคนางค 28 เปนกาพย
ท่ีนิยมแตงกันโดยท่ัวไป

1. กาพยย านี 11

แผนผัง

ตวั อยาง สัมผัสคาํ สมั ผัสใจ
ยานีมลี าํ นาํ วรรคหลังนี้มหี กคาํ ฯ

วรรคหนา หาคําใช

ลกั ษณะคําประพนั ธ

1. บท บทหนง่ึ มี 4 วรรค แบงเปนวรรคแรก 5 คาํ วรรคหลัง 6 คํา รวม 11 คํา
จึงเรียก ยานี 11

2. สัมผสั
ก. สมั ผัสนอก หรือสัมผสั ระหวางวรรค อนั เปนสมั ผัสบงั คับ มีดังน้ี

คาํ สดุ ทา ยของวรรคแรกวรรคทหี่ นง่ึ วรรคสดับ สมั ผสั กบั คาํ ทีส่ ามของวรรคหลงั วรรคทส่ี อง วรรครบั
คําสุดทา ยของวรรคทสี่ อง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม วรรครองดูแผนผัง

และตวั อยา ง

136

ถาจะแตง บทตอไปตอ งมสี ัมผัสระหวา งบท

สมั ผสั ระหวา งบท ของกาพยย านี คอื

คาํ สุดทายของวรรคส่ี วรรคสง เปน คาํ สงสัมผัสบังคบั ใหบ ทตอ ไปตองรบั สมั ผสั ที่คาํ สดุ ทายของ

วรรคสอง วรรครับ ดงั ตัวอยาง

ยานมี ีลาํ นํา สมั ผัสคําสมั ผสั ใจ

วรรคหนา หาคําใช วรรคหลังนมี้ ีหกคํา

หนงึ่ บทมีสีว่ รรคพงึ ประจักษเ ปน หลกั จํา

จงั หวะและลํานํา กาพยย านดี ังนเี้ ทอญฯ

คาํ สุดทายของบทตน คือคําวา “คาํ ” สงสมั ผสั ไปยงั บทถดั ไป บงั คับใหรบั สัมผสั ทคี่ ําสุดทาย

ของวรรคสองหรือวรรครบั ในทนี่ ้ีคอื คําวา “จํา”

ข. สัมผสั ใน แตละวรรคของกาพยย านจี ะแบงชว งจังหวะเปนดงั นี้

วรรคแรก เปน สองคาํ กบั สามคํา คอื หนงึ่ สอง หนง่ึ สองสาม

วรรคหลัง เปน สามคาํ กบั สามคํา คือ หนึง่ สองสาม หน่งึ สองสาม

ฉะนัน้ สมั ผสั ในจงึ กาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะของแตล ะวรรคน่นั เอง ดงั ตวั อยา ง

ยานี – มีลํานํา สัมผสั คํา – สัมผสั ใจ

ขอ สังเกต

กาพยยานีไมเ ครง สมั ผัสในจะมีหรือไมม ีกไ็ ด ขอเพยี งใชค าํ ทีอ่ า นแลวราบรนื่ ตามชว งจังหวะของ

แตละวรรคน้ัน ๆ เทา น้นั สวนสัมผัสนอกระหวางวรรคที่สาม วรรครอง กบั วรรคทีส่ ่ี วรรคสง นัน้ จะมี

หรอื ไมมีกไ็ ดไมบงั คับเชน กนั

2. กาพยฉบัง 16

แผนผัง

ตวั อยา ง สามวรรคระวัง
กาพยน ้มี ีนามฉบงั

จังหวะจะโคนโยนคาํ ฯ

137

ลักษณะคาํ ประพนั ธ

1. บท

บทหนง่ึ มี 3 วรรค อาจเรยี กวา วรรคสดบั วรรครับ วรรคสง ก็ได แบงเปน

วรรคแรก วรรคสดับ มี 6 คาํ วรรคที่สอง วรรครับ มี 4 คาํ

วรรคท่ี 3 วรรคสง มี 6 คํา

รวมทัง้ หมด 16 คํา จึงเรียกฉบงั 16

2. สมั ผัส

ก. สมั ผสั นอก หรือสมั ผัสระหวางวรรค อนั เปนสัมผสั บังคบั ดังน้ี

คาํ สุดทายของวรรคหนึง่ วรรคสดบั สัมผัสกบั คาํ สดุ ทายของวรรคสอง วรรครบั สมั ผสั

ระหวา งบทของกาพยฉบงั คือ

คําสดุ ทา ยของวรรคสาม วรรคสง เปนคําสง สมั ผสั บังคบั ใหบ ทตอ ไปตอ งรบั สมั ผสั

ทคี่ ําสดุ ทา ยของวรรคหนงึ่ วรรคสดบั ดงั ตวั อยา ง

กาพยมนี ามฉบงั สามวรรคระวงั

จงั หวะจะโคนโยนคาํ

สมั ผสั จัดบทลํานํา กาํ หนดจดจํา

หกคําส่ีคาํ ดงั นี้ ฯ

ข. สมั ผสั ใน แตล ะวรรคของกาพยฉบงั แบง ชว งจงั หวะเปนวรรคละสองคํา ดงั นี้

หนึ่งสอง หน่งึ สอง หน่ึงสอง หน่ึงสอง หนง่ึ สอง

หนึ่งสอง หนงึ่ สอง หนึ่งสอง

ฉะนน้ั สมั ผัสในกาํ หนดไดตามชว งจงั หวะของแตละวรรคนน้ั เอง ดงั ตวั อยาง

กาพยน ้ี – มีนาม ฉบัง สามวรรคระวงั

จงั หวะ – จะ โคน – โยนคํา

ขอสังเกต

กาพยฉ บงั ไมเ ครง สมั ผัสใน จะมีหรอื ไมม กี ไ็ ด ขอเพยี งใชค าํ ท่อี า นราบร่ืนตามชวงจังหวะของแต

ละวรรคน้นั ๆ เทานนั้

สวนสัมผสั นอกระหวางวรรคทสี่ อง วรรครับกบั วรรคทสี่ าม วรรคสง น้ัน จะมหี รือไมม ีก็ไดไ ม

บงั คับเชนกนั

การแตง กลอน

กลอน
คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกช่ือตาง ๆกันไปตามลักษณะฉันทลักษณ
ท่ีแตกตางกันนั้น ๆ เชน กลอนส่ี กลอนหา กลอนหก กลอนแปด และยังจําแนกออกไปตามลีลา
ที่นาํ ไปใช เชน กลอนเพลงยาว กลอนบทละคร กลอนเสภา รวมถงึ กลอนบทตาง ๆ อกี ดวย

138

ในทีน่ จ้ี ะอธบิ ายเฉพาะกลอนหกและกลอนแปด อันเปนกลอนท่ีนยิ มแตงกนั โดยทัว่ ไป
1. กลอนหก
แผนผงั

ตัวอยาง

กลอนหกหกคํารา่ํ รู วางคูวางคาํ นํา้ เสยี ง
ไพเราะเรอ่ื ยรํ่าจําเรียง สําเนียงสูงตา่ํ คาํ กลอนฯ

ลักษณะคาํ ประพนั ธ

1. บท บทหน่ึงมี 4 วรรค

วรรคที่หน่งึ เรียกวรรคสดับ วรรคท่ีสองเรียกวรรครบั

วรรคท่สี ามเรียกวรรครอง วรรคท่สี ีเ่ รยี กวรรคสง

แตละวรรคมี 6 คาํ จึงเรียกวา กลอนหก

2. เสียงคาํ กลอนทกุ ประเภทจะกําหนดเสียงคาํ ทายวรรคเปนสาํ คญั กาํ หนดได ดงั น้ี

คําทายวรรคสดับ กาํ หนดใหใชไ ดท กุ เสียง

คาํ ทายวรรครับ กาํ หนดหามใชเสียงสามัญกับตรี

คาํ ทายวรรครอง กําหนดใหใชเ ฉพาะเสยี งสามัญกบั ตรี

คําทา ยวรรคสง กําหนดใหใ ชเฉพาะเสยี งสามญั กบั ตรี

3. สมั ผสั

ก. สัมผัสนอก หรอื สัมผัสระหวางวรรค อนั เปน สมั ผัสบังคบั มดี ังนี้

คาํ สุดทายของวรรคทีห่ นง่ึ วรรคสดบั สัมผัสกับคําทส่ี องหรอื ทส่ี ขี่ องวรรคท่สี องวรรครบั

คาํ สดุ ทายของวรรคทส่ี อง วรรครับ สัมผสั กับคําสดุ ทายของวรรคทส่ี าม วรรครอง และคําที่

สองหรอื ที่สขี่ องวรรคท่สี ี่ วรรคสง

สัมผสั ระหวา งบท ของกลอนทุกประเภท คือ

คําสุดทายของวรรคท่ีส่ี วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสท่ี

คาํ สุดทายของวรรคท่สี อง วรรครบั ตวั อยาง

139

กลอนหกหกคําร่าํ รู วางคูว างคําน้ําเสยี ง

ไพเราะเร่อื ยรา่ํ จําเรียง สําเนียงสงู ตา่ํ คํากลอน

เรยี งรอ ยถอยคําสมั ผัส จํารสั จําหลกั อกั ษร

ทุกวรรคทุกบททุกตอน คอื ถอยสุนทรกลอนกานทฯ

คําสุดทายของบทตน คอื วา กลอน เปนคาํ สง่ั สมั ผสั บงั คบั ใหบ ทถดั ไปตองรับสัมผัสท่ีคําสุดทาย

ของวรรคดว ยคําวา “ ษร” ตามตัวอยา งนัน้

ข. สัมผัสใน แตล ะวรรคของกลอนหก แบงชวงจังหวะเปน วรรคสองคํา ดงั น้ี

หน่งึ สอง หนึง่ สอง หนง่ึ สอง

ฉะนน้ั สัมผัสในจงึ กาํ หนดไดตามชวงจังหวะน่นั เอง ดังตวั อยา ง

เรียงรอ ย ถอ ย คํา สัมผัส

ขอสงั เกต

กลอนหกไมเครงสัมผัสในวรรคมากนัก อาจยายที่สัมผัสจากคําที่สองไปคําท่ีส่ีได หรือจะไม

สมั ผสั สระเลย ใชการเลนคําไปตามชว งจงั หวะก็ได ดงั ตวั อยาง เชน ทุกวรรคทกุ บททกุ ตอน

2. กลอนแปด (กลอนสภุ าพ)

แผนผงั

ตัวอยา ง วางเปนหลักอักษรสุนทรศรี
อนั กลอนแปดแปดคําประจําวรรค สมั ผสั มีนอกในไพเราะรู ฯ
เสียงทา ยวรรคสงู ตา่ํ จาํ จงดี

ลักษณะคําประพันธ

1. บท บทหนงึ่ มี 4 วรรค

วรรคที่หน่ึงเรยี กวรรคสดับ วรรคท่สี องเรยี กวรรครับ

วรรคทส่ี ามเรยี กวรรครอง วรรคที่ส่เี รียกวรรคสง

แตละวรรคมีแปดคาํ จงึ เรยี กวา กลอนแปด

140

2. เสียงคาํ กลอนแปดและกลอนทกุ ประเภทจะกาํ หนดเสียงคาํ ทา ยวรรคเปน สาํ คญั

โดยกําหนดดังน้ี

คําทา ยวรรคสดบั กําหนดใหใชไ ดทุกเสียง

คาํ ทา ยวรรครับ กาํ หนดหามใชเ สยี งสามัญและตรี

คาํ ทายวรรครอง กาํ หนดใหใ ชเ ฉพาะเสยี งสามัญและตรี

คาํ ทายวรรคสง กําหนดใหใ ชเฉพาะเสยี งสามญั และตรี

3. สมั ผสั

ก. สมั ผสั นอก หรือสัมผัสระหวางวรรค อนั เปนสัมผสั บังคับ มดี ังนี้

คาํ สดุ ทา ยของวรรคท่ีหนง่ึ วรรคสดบั สัมผสั กบั คาํ ทีส่ ามหรือท่ีหาของวรรคทส่ี อง

วรรครบั

คําสุดทายของวรรคท่สี อง วรรครับ สมั ผสั กบั คําสดุ ทายของวรรคทส่ี าม วรรครอง และที่

สามหรอื ท่หี า ของวรรคทส่ี ี่ วรรครบั

สมั ผสั ระหวางบท ของกลอนแปด คอื

คาํ สดุ ทายของวรรคท่สี ี่ วรรคสง เปนคําสงสมั ผสั บงั คบั ใหบทตอไปตอ งรับสัมผัสท่ีคําสุดทาย

ของวรรคทสี่ อง วรรคสง

อนั กลอนแปดแปดคําประจําวรรค วางเปนหลักอกั ษรสนุ ทรศรี

เสยี งทา ยวรรคสูงต่าํ จําจงดี สมั ผสั มนี อกในไพเราะรู

จดั จงั หวะจะโคนใหย ลแยบ ถือเปนแบบอยา งกลอนสนุ ทรภู

อานเขียนคลอ งทองจําตามแบบครู ไดเ ชิดชูบูชาภาษาไทยฯ

คําสดุ ทา ยของบทตน ในทน่ี คี้ ือคําวา “รู” เปน คําสงสัมผัส บังคับใหบทถัดไปตองรับสัมผัส

ทคี่ ําสุดทา ยของวรรคที่สอง วรรครบั ในทีน่ ้ีคอื คําวา “ภู”

ข. สัมผสั ใน แตละวรรคของกลอนแปด แบงชวงจังหวะออกเปนสามชว ง ดังน้ี

หนึ่งสองสาม หนง่ึ สอง หนง่ึ สองสาม

ฉะนัน้ สมั ผสั ในจงึ กาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะในแตละวรรคน่ันเอง ดงั ตัวอยาง

อันกลอนแปด – แปด คํา – ประจําวรรค

วางเปน หลกั – อกั ษร – สุนทรศรี

141

เรอื่ งที่ 8 การใชภาษาท่ีเปน ทางการและไมเ ปน ทางการ

ภาษาทใี่ ชม ีระดับในการใช หนังสอื เรยี นบางเลม แบงภาษาออกเปน 3 ระดับ โดยเพ่ิมภาษา
กึ่งทางการ แตในหนงั สือนีแ้ บง เปน 2 ระดับ คอื การใชภาษาท่เี ปน ทางการ และไมเ ปน ทางการ

1. ภาษาท่ีเปน ทางการ
ภาษาทางการ หมายถงึ ภาษาทีใ่ ชอ ยา งเปนทางการ มีลกั ษณะเปนแบบพิธี ถูกตองตามแบบแผน

ของภาษาเขยี น มีทงั้ เสียงเครงขรึม จริงจัง อาจเรยี กวาภาษาแบบแผนก็ได ภาษาทางการ มกั ใชในการเขียน
หนังสือราชการ การกลาวรายงาน คํากลา วเปด งาน การแสดงสุนทรพจน การเขียนตําราวิชาการ และ
การบนั ทึกรายงานการประชุม เปน ตน

2. ภาษาไมเ ปน ทางการ
ภาษาไมเปนทางการ หมายถึง ภาษาท่ีใชถอยคํางาย ๆ นํ้าเสียงเปนกันเองไมเครงเครียด

แสดงความใกลช ดิ สนิทสนมระหวา งผสู ง สารและผรู บั สารอาจเรยี กวา ภาษาปากกไ็ ด
ภาษาไมเปนทางการ อาจจําแนกเปนภาษากลุมยอย ๆ ไดอีกหลายกลุม เชน ภาษาถิ่น

ภาษาแสลง ภาษาตลาด ฯลฯ ใชในการสนทนาระหวางสมาชิกในครอบครัว คนสนิทคุนเคย ใชเขียน
บันทึกสว นตวั และงานเขยี นทต่ี อ งการแสดงความเปน กนั เองกับผอู าน เปนตน

สําหรับการเลือกใชภ าษาแบบเปน ทางการและไมเ ปน ทางการจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับ
องคประกอบตาง ๆ ดงั นี้

2.1 วตั ถปุ ระสงค จะตองพจิ ารณาวา งานเขียนน้นั นําไปใช เพอ่ื อะไร
2.2 สถานการณใ นตางสถานการณ ผูเขียนจะใชระดบั ภาษาท่ีตา งกัน

เชน เชิญเพอ่ื น “เชิญทานอาหารไดแลว” เชิญผูใหญ “ขอเชิญรับประทานอาหารไดแลว
ครับ” ผูเ รียนสามารถนาํ ไปใชไดอยา งเหมาะสมกับวัตถุประสงคแ ละสถานการณ


Click to View FlipBook Version