The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผน-กศน.ตำบลตลิ่งชัน-2565 มีปก 12

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผน-กศน.ตำบลตลิ่งชัน-2565 มีปก 12

แผน-กศน.ตำบลตลิ่งชัน-2565 มีปก 12

การอนมุ ตั แิ ผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี งบประมาณ 2565 กศน.ตำบลตลงิ่ ชัน
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบา้ นด่านลานหอย

เพื่อให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบลตลิ่งชันบรรลุเป้าหมายตาม
วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ กศน.ตำบลตลิ่งชัน ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 2565 โดยยึดแนว
ทางการดำเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ยุทธศาสตร์และจุดเน้น
การดำเนินงานของสำนักงาน กศน.จังหวัดสุโขทัย และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานของ กศน.อำเภอบ้าน
ดา่ นลานหอย และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในชมุ ชน ซ่งึ ในแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 2565 ของ
กศน.ตำบลตลิ่งชัน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน
สภาพทั่วไปของตำบล ข้อมูลด้านประชากรขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกจิ ข้อมูลด้านสังคม ข้อมูลด้านการศึกษา ส่วนที่ 3 ทิศ
ทางการดำเนินงาน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก แนวทางการพัฒนา
กศน.ตำบล ส่วนที่ 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แบบ กศน.-กผ-01 แบบ
กศน.-กผ-02 และโครงการ/กจิ กรรม

เพือ่ ใหก้ ารดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2565 ของ กศน.ตำบลตลิง่ ชัน เป็นไปตาม
เปา้ หมายและวัตถุประสงค์ทก่ี ำหนดไว้ และเกิดประโยชน์สงู สุดกับประชาชนในพืน้ ที่ ซ่ึงคณะกรรมการของ กศน.
ตำบลตลิง่ ชนั ได้พิจารณารายละเอยี ดในแผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 และเห็นชอบแผนปฏิบัติการ
ประจำปงี บประมาณ 2565 ดังกลา่ ว

จงึ เรียนมาเพ่ือพิจารณาอนมุ ัติ เพื่อนำแผนปฏิบตั ิการฉบบั น้ี ไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมในพน้ื ท่ตี ่อไป

ลงชือ่ ...................................ผู้เห็นชอบ ลงช่อื ...................................ผอู้ นุมตั ิ
(นายจะลอ บญุ ด)ี (นางพทั ธนันท์ ด่อนดี)

ประธานกรรมการ กศน.ตำบลตลิ่งชัน ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอศรนี คร รักษาการในตำแหน่ง
ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านดา่ นลานหอย

คำนำ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตำบลตลงิ่ ชนั จัดทำขนึ้ ตามบทบญั ญัติของพระราช
กฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 ท่กี ำหนดให้ส่วนราชการ
จัดทำแผนปฏิบัติราชการ เป็นแผนสี่ปีที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และให้จัดทำแผนปฏิบัติ
ราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและ
ผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทั้งประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นทีต่ ้องใช้ โดย กศน.ตำบลตลิ่งชัน ได้
นำนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน กศน. มาเป็นกรอบในการ
จดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

สาระของแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.ตำบลตลิ่งชัน แสดงให้เห็นสรุปภาพรวมงาน
โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย และงบประมาณดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ที่จะขับเคลื่อนนโยบายและ
จุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2565 ของสำนักงาน กศน. รวมทั้งขับเคลื่อนงานตามบทบาทภารกิจ
หลักของ กศน.ตำบลตลิ่งชัน ให้บรรลุวิสัยทัศน์ของกศน.อำเภอบ้านด่านลานหอย “ภายในปี 2565 กศน.อำเภอ
บ้านด่านลานหอย มุ่งเน้นการจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับ
กลุ่มเป้าหมายอย่างท่วั ถึงและเสมอภาคอยา่ งมีคณุ ภาพ”

กศน.ตำบลตลิ่งชัน ขอขอบคุณกรรมการ กศน.ตำบลตลิ่งชัน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ที่ให้ความร่วมมือในการ
จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ กศน.ตำบลตลิ่งชัน ฉบับนี้จนสำเร็จได้เป็นอย่างดี และ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จะเป็นแนวทางในการบริหารงาน/โครงการ
และงบประมาณ ตลอดจนเป็นเครอ่ื งมอื ในการกำกับติดตามผลการดำเนินงานของผบู้ ริหาร รวมทัง้ เป็นขอ้ มูลสำหรับ
หนว่ ยงาน และผูท้ ี่สนใจกิจกรรม กศน.ตำบลตลิง่ ชนั ตอ่ ไป

กศน.ตำบลตลง่ิ ชัน
มกราคม 2565



สารบญั หน้า

เรอ่ื ง ข
การอนมุ ัติแผนปฏิบตั ิการประจำปี ค
คำนำ 1
สารบญั 5
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล 5
ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพืน้ ฐานเพื่อการวางแผน 7
8
2.1 ข้อมูลพ้ืนฐานของตำบล 17
2.2 ขอ้ มูลการเมืองการปกครอง 26
2.3 ขอ้ มลู ดา้ นประชากร 30
2.4 ข้อมูลด้านสังคม 34
2.5 ระบบบริการ 36
2.6 ระบบเศรษฐกิจ 42
2.7 ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม 42
2.8 ทรพั ยากรธรรมชาติ 42
สว่ นที่ 3 ทิศทางการดำเนินงาน 43
3.1 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 48
3.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 48
3.3 แนวทางการพฒั นา กศน.ตำบล 56
ส่วนที่ 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ 62
4.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 68
4.2 แบบ กศน.-กผ-01
4.3 แบบ กศน.-กผ-02
4.4 โครงการ



ส่วนที่ 1
ข้อมลู พ้ืนฐานของ กศน.ตำบล

ประวตั คิ วามเป็นมา
การจัดตั้ง กศน. ตำบล ตามหนังสือ สำนักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.02/3267 ลงวันที่ 4 กันยายน 2552

เรื่อง การดำเนินงาน กศน. ตำบล สำนักงาน กศน. โดยเลขาธิการ กศน. (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) ได้สั่งการ ให้
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัด ทุกจังหวัด และผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. กทม. ดำเนินการปรับศูนย์การ
เรียนชุมชนในทกุ ตำบลใหเ้ ปน็ กศน. ตำบล

ศนู ย์การเรียนชุมชนตำบลตล่ิงชนั ประกาศจดั ต้ังให้เป็น กศน.ตำบลตลิ่งชัน โดยผวู้ ่าราชการจังหวัด นาย
จักริน เปลี่ยนวงษ์ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพื่อให้การดำเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั กศน.ตำบลตล่ิงชัน เปน็ ผู้ประสานกับผู้เกย่ี วข้องทกุ ฝ่าย ทั้งภาครฐั เอกชน องคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และผู้นำชุมชน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนได้รับผลประโยชน์
โดยมเี ป้าหมายสูงสุด คือคนไทยไดเ้ รยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมีคุณภาพ

พิธีเปิด กศน.ตำบลตลิ่งชัน เมื่อวันศุกร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553 โดยมี นายสมชาย ไข่สุวรรณ์
นายอำเภอบา้ นด่านลานหอย เปน็ ประธานในพิธีเปิด

ทต่ี ัง้
กศน.ตำบลตล่ิงชนั สถานที่ตั้ง หมทู่ ่ี 1 ตำบลตล่งิ ชัน อำเภอบา้ นดา่ นลานหอย จงั หวัดสุโขทัย

รหสั ไปรษณยี ์ 64140 E-mail [email protected] เว็บเพจ https://goo.gl/LNSvFV
เว็บไซด์ http://sukho.nfe.go.th/bdh07/index.php ยทู ปู https://goo.gl/6v7PDL
เฟสบุค๊ https://www.facebook.com/profile.php?id=100004381774141

บทบาทหนา้ ท่ีภารกิจ กศน.ตำบล
ด้านการวางแผน (P)
1. สำรวจรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมลู กลมุ่ เป้าหมายและขอ้ มูลบริบทของชมุ ชนในตำบลท่ี

รบั ผดิ ชอบตามรปู แบบการวางแผนจุลภาคอยา่ งมีคุณภาพ
2. การจดั ทำแผนการเรียนรรู้ ายชุมชน
3. จัดทำคำรบั รองปฏบิ ัตริ าชการกบั ผู้บังคับบัญชา
4. จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำตำบลประจำปีงบประมาณ
5. บันทึกขอ้ มูลในฐานข้อมูล กศน.ตำบล
6. จัดทำแผนปฏบิ ัติงานประจำเดอื น
7. งานอน่ื ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

ดา้ นการปฏบิ ตั ิ (D)
นำแผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณและแผนการเรียนรู้รายชมุ ชนไปส่กู ารปฏบิ ัติโดย
1. จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 แผนการเรียนรายบุคคล(ทำ

หนา้ ที่ครูประจำกล่มุ )
2. จัดและส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตาม

อัธยาศัย ในภารกิจศูนย์การเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประจำตำบล ศูนย์ดิจิทัลชุมชนประจำ
ตำบล ศูนย์ส่งเสริมและเผยแพร่ประชาธิปไตยประจำตำบล และศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตประจำตำบลโดยยึด
หลกั การใช้ กศน.ตำบลเป็นฐาน

3. จดั และสง่ เสริมสนบั สนุนและประสานงานการจัดการเรยี นร้กู ารศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั รว่ มกับภาคเี ครือข่ายตามนโยบายรฐั บาลและนโยบายเรง่ ดว่ น

4. รายละเอยี ดภารกจิ หลกั ดังนี้
ภารกิจหลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยมีเวลาในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเรียนการสอนในศูนย์การเรียนชุมชนไม่น้อย
กว่า 35 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยให้ทำแผนปฏิบัติงานและรายงานการปฏิบัติงานให้ ผอ.กศน.อำเภอ ท่ีเป็น
ผบู้ งั คบั บัญชาขั้นต้นอนมุ ัตแิ ละทราบ โดยมีรายละเอียดดังน้ี

4.1 งานจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนและหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน โดย
รับผิดชอบนักศึกษาหลายระดับการศึกษาหรือระดับใดระดับหนึ่ง ภาคเรียนละไม่น้อยกว่า 60 คน ณ วันขึ้นทะเบียน
รายบคุ คลวันสุดท้ายของภาคเรียน

- ประสานงาน สำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูลประชากรวัยแรงงาน อายุ 15-59 ปี ท่ียังไม่จบ
ระดบั การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายในตำบลเป้าหมายท่รี บั ผดิ ชอบและจดั เกบ็ อย่างเปน็ ระบบเพือ่ การวางแผน
บรกิ ารการจดั การศึกษาและสร้างวัฒนธรรมการเรยี นรู้กับประชาชนกล่มุ เป้าหมายในพ้นื ที่

- วางแผนการจดั กระบวนการเรยี นรูต้ ามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั กศน. หลักสูตรการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน 2551 แนวนโยบายปฏริ ปู การเรยี นการสอน กศน. และการเทียบโอนความรูป้ ระสบการณ์

- จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ แนะแนวความสำคัญ และความต้องการการศึกษา และให้
คำปรกึ ษาแก่กล่มุ เปา้ หมายอย่างทั่วถึงท้ังตำบล

- การจัดกิจกรรมการพบกลุ่ม หรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบอื่น ๆตาม
หลกั เกณฑท์ ่ีสำนกั งาน กศน. กำหนดคร้ังน้ตี อ้ งมผี ู้เข้ารว่ มกจิ กรรมเฉล่ยี อย่างน้อยรอ้ ยละ 75 ของผมู้ ีรายช่ือท้ังหมดต่อ
เดอื นโดยประกอบรายงานบันทกึ หลงั สอน

- จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ (กพช.) กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น และกจิ กรรม
การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิตทจี่ ำเป็นกบั นักศึกษา

- การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั เกณฑ์การจัด กศน. ตามหลักสตู รฯ ทัง้ น้ี

2

- ใหม้ ีเปอร์เซ็นต์การเข้าสอบปลายภาคไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75 ของนกั ศึกษาตามเกณฑ์ ต่ำกวา่
รอ้ ยละ 75 แตส่ ูงกวา่ ร้อยละ 60 ให้ดำเนินการช้ีแจงเหตผุ ลตามความจำเป็นตอ่ ผู้วา่ จา้ ง

- ให้มีเปอร์เซน็ ต์การเข้าสอบ N NET ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 ของนกั ศึกษาตามเกณฑ์ หากตำ่
กวา่ ร้อยละ 50 ให้ดำเนินการชี้แจงเหตผุ ลความจำเป็นต่อผู้วา่ จา้ ง

- ใหบ้ ริการแนะแนวและให้คำปรกึ ษาด้านการเรียนแก่นักศึกษาและประชาชนทวั่ ไป
4.2 การสง่ เสรมิ การสนบั สนุนการเรยี นการสอน

- ส่งเสริมให้ประชากรในพื้นที่เป้าหมายที่มีความพร้อมได้เข้ารับการประเมินเทียบระดับ
การศึกษาตามความต้องการ หรือเทยี บโอนความรู้ประสบการณ์ทั้ง 4 รูปแบบได้แก่ การเทียบโอนผลการเรยี น การ
เทียบโอนความรู้ประสบการณ์แบบมีหลักฐาน การเทียบโอนความรู้ประสบการณ์แบบไม่มีหลักฐาน และการสอบ
หนา้ จอคอมพิวเตอร์

- ให้มีงานวิจยั ชน้ั เรียนอยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 เร่ือง มาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นรู้
- พฒั นา กศน.ตำบล หรอื ศนู ย์การเรยี นชุมชน ให้มีบรรยากาศเหมาะสมตอ่ การเรียนรู้สะอาด
สวยงาม มีข้อมลู พ้ืนฐาน ป้ายนเิ ทศ ปา้ ยประชาสัมพันธ์
- ให้บริการข้อมูล กิจกรรมศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำ
ตำบล ศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน ศูนย์สง่ เสรมิ ประชาธิปไตยประจำตำบล และศนู ย์เรียนรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
- กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ การออกหน่วย
บรกิ ารเคลอ่ื นที่ กจิ กรรมตามนโยบายและนโยบายเรง่ ดว่ น และกิจกรรมอ่ืน ๆ ที่ กศน.อำเภอ กำหนด
4.3 งานอนื่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมายจากกศน. อำเภอและสำนกั งาน กศน.จงั หวดั
ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผล (C)
พิจารณาจำนวนรอ้ ยละผูจ้ บหลักสูตรในแตล่ ะหลักสตู รของผู้เรียนและผู้รบั บริการใหเ้ ป็นไปตามตัวช้ีวัดท่ี
กำหนด
ด้านการปรบั ปรุงและพฒั นาผลการปฏบิ ัตงิ าน (A)
1. สรุปผลการปฏิบัติงานหรือความสำเร็จของงาน ที่ได้ดำเนินการเป็นไปตามตัวชี้วัดและสถานศึกษา
กำหนด
2. นำเสนอผลการปฏิบตั งิ านเหน็ วา่ ตอ้ งปรับปรงุ และพัฒนาโดยใหม้ แี นวทางพฒั นาปรับปรงุ ท่ีชัดเจน
3. มผี ลการปฏิบัติงานทีด่ ี Best Practice อย่างนอ้ ย 1 ผลงาน
4. ให้มีงานวิจัยในช้ันเรยี นอย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 เรอ่ื งมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้

3

คณะกรรมการ กศน.ตำบล ประธานกรรมการ
1. นายจะลอ บุญดี รองประธานกรรมการ
2. นายชาลี สีหามายา กรรมการ
3. นายทวน สมหารวงศ์ กรรมการ
4. นายรดิ เยโท้ กรรมการ
5. น.ส.วราภรณ์ สมหารวงศ์ กรรมการ
6. นายสามพัน ภารวงค์ กรรมการ
7. นายสรุ ิยา หนานนะ กรรมการ
8. น.ส.มาริษา นันตา กรรมการ
9. นายยุทธ ศรเี ครอื กรรมการ
10. น.ส.ศภุ รัตน์ คงที่ เลขานุการ
11. นายสมชาย นาโตนด

บคุ ลากรใน กศน.ตำบล
1. นายสมชาย นาโตนด ครู กศน.ตำบล

4

สว่ นที่ 2
ขอ้ มูลพืน้ ฐานเพือ่ การวางแผน

2.1 ข้อมูลพืน้ ฐานตำบล

(1) ด้านกายภาพ

1) ทต่ี งั้ ของหมบู่ า้ นหรือชมุ ชนหรือตำบล
ตำบลตลิ่งชัน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย ซึ่งมี

หมู่บ้านในเขตปกครอง 10 ชุมชน มีระยะทางห่างจากอำเภอบ้านด่านลานหอย ประมาณ 30 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัด
สุโขทัย 58 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 334 ตารางกิโลเมตร ชาวบ้านส่วนใหญ่อพยพมาจากภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ

ปัจจุบันที่ทำการของเทศบาลตำบลตลิ่งชัน ตั้งอยู่เลขที่ 40/3 หมู่ที่ 5 บ้านวังโตก ตำบลตลิ่งชัน
อำเภอบา้ นดา่ นลานหอย จังหวดั สโุ ขทัย

- ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลเวียงมอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง และตำบลกลางดง อำเภอทุ่งเสลี่ยม
จังหวัดสุโขทัย จากจดุ เรมิ่ ต้นที่ พิกัดท่ี NV 325095 จุดแบ่งเขตอำเภอเถิน จังหวัดลำปาง กับอำเภอตาก จังหวัดตาก ไป
ทางทศิ ตะวันออกตามสนั ดอยตาจ่ี ถึงจดุ พิกดั ท่ี NV 365089 ระยะทางประมาณ 2.5 กิโลเมตรไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้
ถงึ แนวสนั เขาคำ้ พิกัดที่ NV 400029 ระยะทางประมาณ 7.1 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนอื ตามแนวสันเขาแม่กำพะถึงจุด
พิกัด NV 472071 ระยะทางประมาณ 11.3 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกตามแนวสนั เขาก่ิวลาน ถึง จดุ แบง่ เขตอำเภอเถิน
กับ อำเภอทงุ่ เสล่ียม พกิ ัดท่ี NV 487073 ระยะทางประมาณ 1.5 กโิ ลเมตร ลงไปทางทิศใตถ้ งึ จุดแบ่งเขตอำเภอทุ่งเสลี่ยม
กับอำเภอศรีสำโรง พิกัดที่ NV 492063 ระยะทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ไปทางทิศใต้ตามแนวสันเขาระฆัง ถึงจุดพิกัด
NV 532011 ระยะทางประมาณ 7.3 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออก ถึงจุดสิ้นจุดกึ่งกลางทางเกวียน พิกัดที่ NV 545013
ระยะทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร

- ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั ตำบลวังลึก อำเภอบา้ นดา่ นลานหอย จากจุดเร่มิ ต้นที่พิกดั NU 553893 ซ่ึงเป็น
แนวทางเกวยี นไปส้ินสุดที่จุดกึง่ กลางลำคลองค้อน ไปทางทิศตะวันตก ตามก่ึงกลางลำคลองส่งน้ำเปน็ แนวเขต ระยะทางง
ประมาณ 3.7 กโิ ลเมตร ผา่ นจุดเชอ่ื มทพี่ ิกัด NU 518887 ไปทางทิศตะวันตกเฉยี งใตต้ ามเสาไมแ้ ก่นเปน็ ระยะเป็นแนวแบ่ง
เขต ระยะทางประมาณ 6.1 กิโลเมตร ผ่านจุดเชอ่ื มที่ บรเิ วณพกิ ัด NU 465861ไปทาง ทิศตะวันตกเฉยี งเหนือ ตามเสาไม้
แก่นปักเป็นระยะเป็นแนวแบ่งเขตสิน้ สุดทเี่ สาไม้แก่นปกั เป็นระยะเปน็ แนวแบ่งเขตกับคลองลานตะแบกบรรจบกันบริเวณ
พกิ ัด NU 421885 ระยะทางประมาณ 4.9 กิโลเมตร

- ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลวังน้ำขาว อำเภอบ้านด่านลานหอย จากจุดเริ่มต้นที่ กึ่งกลาง
ทางเกวยี นเขตตดิ ตอ่ กับอำเภอศรีสำโรงลงไป ทางทศิ ใต้ พกิ ดั ที่ NV 545013 ตามแนวเขตทางเกวียนไปสิน้ สุดทีจ่ ดุ กึ่งกลาง
ลำคลองค้อน พิกดั NU 553893 ระยะทางประมาณ 14.4 กิโลเมตร

5

- ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลโป่งแดง อำเภอเมืองตาก และตำบลแม่สลิด อำเภอบ้านตาก
จังหวัดตาก โดยเริ่มต้นที่บริเวณพิกัดที่ NU 421885 บริเวณแนวเสาหลักไม้แก่นบรรจบกับคลองลานตะแบก ไปทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ ตามกึ่งกลางลำคลองลานตะแบกโดยตลอดแนวเป็นแนวแบ่งเขต ระยะทางประมาณ 5.6 กิโลเมตร
ผ่านจุดเชื่อมที่บริเวณพกิ ดั NU 370898 ไปทางทิศเหนือตามกึ่งกลางคลองลานตะแบก เป็นแนวแบ่งเขตโดยตลอดสิ้นสดุ
ที่จุดแบ่งเขตตำบลเวียงมอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง กับอำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก บริเวณพิกัด NV 338091
ระยะทางประมาณ 22.2 กิโลเมตร

แผนทตี่ ำบลตล่งิ ชนั

6

2) ลักษณะภูมิประเทศ
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเป็นทร่ี าบและท่ีราบสงู มภี เู ขาล้อมรอบ คือเทอื กเขาแมเ่ รไรและเทือกเขาดอยขัดห้าง

และมีพื้นที่เขตป่าสงวนแห่งชาติแม่มอก–แม่ลำพัน ซึ่งเป็นป่าไม้เบญจพรรณ พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ไม้สักทองและถือ
เป็นแหลง่ กำเนดิ ของลำห้วยและลำคลองท่ีสำคัญ คือคลองแม่ลำพันจะมีน้ำไหลหลากในฤดูฝนและในฤดูแล้ง จะแห้ง
ขอดเปน็ ชว่ งๆลำคลองในพื้นท่สี ่วนใหญ่จะมีความลาดเทประมาณ 10 องศา ลักษณะลอ่ งน้ำเป็นรูปตวั วี สภาพดินเป็น
ดินร่วนปนทราย หิน และกรวด ลักษณะของน้ำเป็นน้ำจืดสามารถนำไปใช้ในการเกษตรกรรม สภาพดินเป็นดินปน
ลูกรังซึ่งไม่เหมาะสมกับการทำการเกษตรเพราะมีแร่ธาตุอาหารน้อย จึงเหมาะสมที่จะทำการปศุสัตว์ นอกจากนั้นใน
พื้นท่ขี องตำบลตล่ิงชันยงั มแี ร่ธาตุหลายชนิด ได้แก่ ทองคำ หนิ เขีย้ วหนุมาน ดนิ ขาว หินอ่อน และหนิ ลูกรงั

3) ลักษณะภมู ิอากาศ
ลักษณะอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ - ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - มิถุนายน

อุณหภูมิเฉลี่ย 36 องศาเซลเซียส - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-ตุลาคม ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1500 ลบ.ม. - ฤดู
หนาว เร่ิมตงั้ แต่เดอื นพฤศจกิ ายน ถึงเดือนกมุ ภาพนั ธ์

4) ลักษณะของดิน
ลกั ษณะของทรัพยากรดินในพ้นื ทต่ี ำบลตล่ิงชนั ส่วนใหญ่ เปน็ ดินปนทรายและดินลกู รัง หินอ่อน,

หนิ แกรนิต, แร่ทองคำ,หินเขี้ยวหนมุ าน, ดนิ ขาว, หนิ ลูกรงั ซง่ึ เป็นดนิ ทคี่ ่อนข้างขาดความอุดมสมบูรณ์

ลกั ษณะของแหลง่ นำ้ ในพืน้ ท่ีตำบลตล่ิงชนั จะมแี มน่ ้ำตามธรรมชาติ ลำห้วย คลอง บึง อา่ งเก็บน้ำ
ในพื้นทีห่ ลายแห่ง ซึ่งประชาชนในตำบลตลิ่งชันใชป้ ระโยชนใ์ นการอุปโภคบรโิ ภค และใชเ้ พ่ือการประกอบอาชีพทางการเกษตร

2.2 ดา้ นการเมือง/การปกครอง

1) เขตการปกครอง

เขตการปกครองตำบลตลิ่งชัน มพี นื้ ท่ีการปกครองครอบคลมุ จำนวน 10 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่

ลำดับที่ หมูท่ ่ี หมบู่ ้าน/ชุมชน ชื่อ – สกุล ตำแหนง่

1 3 บ้านวังหิน นายจะลอ บญุ ดี กำนันตำบลตล่งิ ชัน
2 1 บ้านตลง่ิ ชัน นายสารยิ ัน เอมอยู่ ผ้ใู หญ่บ้านหมทู่ ี่ 1
3 2 บา้ นวงั หาด นายณรงค์ บญุ มา ผใู้ หญบ่ ้านหมู่ที่ 2
4 4 บา้ นลานกระบอื นายบรรจง อานแดง ผู้ใหญบ่ ้านหมู่ท่ี 4
5 5 บ้านวังโตก นายอนนั ต์ แตงรอด ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5
6 6 บา้ นหนองเตาปูน นายสมจิต อนิ ทร์เพชร ผู้ใหญบ่ า้ นหมู่ที่ 6
7 7 บา้ นหนองบวั ดำ นายฝน คำเถนิ ผใู้ หญบ่ ้านหมทู่ ่ี 7
8 8 บา้ นตลง่ิ ชนั ใต้ นายเดวดิ แสนเวียน ผู้ใหญบ่ า้ นหมูท่ ี่ 8
9 9 บ้านลานกระบอื ใต้ นางสงั เวียน น้อยผล ผใู้ หญ่บา้ นหมทู่ ่ี 9
10 10 บ้านวังไทรยอ้ ย นายสง่า มัชฌิมา ผใู้ หญ่บ้านหมู่ที่ 10

7

2) การเลือกตั้ง
การเลือกต้ังสมาชกิ สภาเทศบาลตำบลตลิ่งชนั มจี ำนวนเขตเลอื กตั้ง 2 เขต เลือกตั้ง โดยถือเขต

ของสมาชิกสภาเทศบาลตำบลตลิ่งชัน เปน็ เขตเลือกตั้ง จำนวนสมาชิกสภาเทศบาลตำบลตล่ิงชัน ทจ่ี ะมีการเลือกต้ัง
ทง้ั สน้ิ 2 เขตเลอื กตัง้ ๆละ 6 คน รวมทั้งสนิ้ 12 คน ในสว่ นของนายกเทศมนตรตี ำบลตลง่ิ ชนั ให้ถือเขตเทศบาลตำบล
ตลงิ่ ชันเปน็ เขตเลือกตงั้ จำนวน 1 คน ตามพระราชบญั ญตั ิ เทศบาล (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

2.3 ประชากร

1) ข้อมูลเก่ียวกับจำนวนประชากร (ข้อมูลเปรียบเทยี บย้อนหลงั 3-5 ปี และการคาดการณ์ในอนาคต)

พ้นื ที่ตำบลตลิง่ ชัน มปี ระชากรทั้งสน้ิ 10,012 คน โดยสามารถจำแนกได้ตามตารางต่อไปนี้

รายการ ณ พฤษภาคม 2561 ณ พฤษภาคม 2562 ณ ธนั วาคม 2563

ประชากรชาย 5,138 5,093 5,109
ประชากรหญิง 4,864 4,866 4,903
ประชากรรวม 10,002 9,959 10,012

-แยกจำนวนประชากรแตล่ ะหมู่บา้ น/ชุมชน

ที่ ช่อื หมูบ่ า้ น ประชากร รวมจำนวน จำนวน
ครวั เรือน
ชาย หญิง ประชากร
338
1 ตลิง่ ชัน 534 541 1,075 268
302
2 วังหาด 464 436 900 313
433
3 วงั หิน 512 461 973 451
135
4 ลานกระบอื 493 491 984 245
294
5 วงั โตก 589 616 1,205 169
2,948
6 หนองเตาปนู 993 915 1,908

7 หนองบัวดำ 266 218 484

8 ตลง่ิ ชันใต้ 405 425 830

9 ลานกระบอื ใต้ 520 495 1,015

10 วังไทรย้อย 333 305 638

รวมจำนวนครัวเรอื น

8

2) ช่วงอายแุ ละจำนวนประชากร

-แยกตามช่วงอายุ (ป)ี (เฉพาะผูม้ สี ญั ชาติไทย และมชี ่ืออยใู่ นทะเบียนบา้ น)

ช่วงอายุ ชาย หญิง รวม ช่วงอายุ ชาย หญิง รวม
90
นอ้ ยกวา่ 1 ปี 34 50 84 1 ปี 35 55 125
106
2 ปี 52 41 93 3 ปี 65 60 133
156
4 ปี 73 49 122 5 ปี 48 58 156
132
6 ปี 77 71 148 7 ปี 70 63 128
130
8 ปี 77 65 142 9 ปี 87 69 117
119
10 ปี 70 68 138 11 ปี 83 73 142
129
12 ปี 66 51 117 13 ปี 66 66 144
153
14 ปี 69 51 120 15 ปี 61 67 142
134
16 ปี 67 75 142 17 ปี 84 46 166
133
18 ปี 70 63 133 19 ปี 59 58 179
156
20 ปี 85 82 167 21 ปี 52 67 184

22 ปี 47 51 98 23 ปี 76 66

24 ปี 77 74 151 25 ปี 63 66

26 ปี 68 80 148 27 ปี 83 61

28 ปี 81 57 138 29 ปี 84 69

30 ปี 73 73 146 31 ปี 71 71

32 ปี 67 60 127 33 ปี 64 70

34 ปี 78 72 150 35 ปี 92 74

36 ปี 69 69 138 37 ปี 68 65

38 ปี 82 66 148 39 ปี 96 83

40 ปี 86 72 158 41 ปี 88 68

42 ปี 90 83 173 43 ปี 89 95

9

-แยกตามช่วงอายุ (ปี) (เฉพาะผู้มีสัญชาตไิ ทย และมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้าน (ตอ่ )

ชว่ งอายุ ชาย หญงิ รวม ชว่ งอายุ ชาย หญิง รวม
165
44 ปี 79 76 155 45 ปี 95 70 174
189
46 ปี 88 95 183 47 ปี 81 93 180
183
48 ปี 81 84 165 49 ปี 103 86 151
139
50 ปี 80 80 160 51 ปี 84 96 112
113
52 ปี 91 74 165 53 ปี 103 80 74
67
54 ปี 77 76 153 55 ปี 76 75 84
71
56 ปี 73 75 148 57 ปี 79 60 73
45
58 ปี 61 63 124 59 ปี 53 59 39
43
60 ปี 55 49 104 61 ปี 50 63 28
22
62 ปี 44 47 91 63 ปี 39 35 15
10
64 ปี 36 33 69 65 ปี 34 33 6
15
66 ปี 42 51 93 67 ปี 33 51 2
5
68 ปี 34 32 66 69 ปี 30 41 2
0
70 ปี 28 28 56 71 ปี 33 40 0
2
72 ปี 25 26 51 73 ปี 18 27

74 ปี 16 25 41 75 ปี 13 26

76 ปี 16 15 31 77 ปี 22 21

78 ปี 7 21 28 79 ปี 15 13

80 ปี 11 11 22 81 ปี 10 12

82 ปี 11 10 21 83 ปี 69

84 ปี 8 9 17 85 ปี 55

86 ปี 7 9 16 87 ปี 24

88 ปี 2 2 4 89 ปี 3 12

90 ปี 1 0 1 91 ปี 11

92 ปี 0 2 2 93 ปี 32

94 ปี 1 0 1 95 ปี 11

96 ปี 0 0 0 97 ปี 00

98 ปี 0 1 1 99 ปี 00

100 ปี 00 0 มากกว่า 100 ปี 1 1

10

-จำนวนประชากรแยกตามสญั ชาติ ชาย หญงิ รวม
ประเภท 5,104 4,895 9,999

สญั ชาติไทย 00 0
สญั ชาติจนี 58 13
สญั ชาตอิ ่นื ๆท่ีไมใ่ ช่ไทย 58 13
สัญชาติอนื่ ๆท่ีไมใ่ ชไ่ ทย/จีน 5,109 4,903 10,012
ทุกสญั ชาติ
ชาย หญิง รวม
-แยกตามเกณฑอ์ ายุ 70 62 132
ตำบลตล่งิ ชัน 4,132 4,008 8,140
3,920 3,820 7,740
บคุ คลทที่ ำบัตรประจำตวั ประชาชน 3,791 3,699 7,479
บุคคลทีม่ สี ิทธ์ิเลือกต้ังอายุ 15 ปี 84 0 84
บุคคลที่มีสิทธเิ์ ลือกตงั้ อายุ 18 ปี 85 0 85
บุคคลท่ีมสี ิทธเ์ิ ลือกต้ังอายุ 20 ปี
บุคลท่ตี ้องขนึ้ ทะเบยี นทหาร
บคุ คลที่ตอ้ งเขา้ รับการเกณฑ์ทหาร

ขอ้ มลู : จากสำนกั ทะเบียนอำเภอบ้านด่านลานหอย ณ เดอื น มกราคม พ.ศ. 2564

ตำบลตล่งิ ชัน มีพ้ืนท่ปี กครองจำนวนท้ังหมด 10 หมบู่ ้าน โดยสามารถจำแนกประชากรตามเพศ และ

ชว่ งอายุ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้

- บ้านตล่งิ ชัน หมทู่ ี่ 1

ช่อื หม่บู ้าน/ หมูท่ ี่ ช่วงอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม

ชุมชน (คน) (คน) (คน)

บ้านตล่งิ ชัน 1 น้อยกวา่ 1 ปเี ตม็ 4 37

1 ปเี ต็ม - 2 ปี 4 13 17

3 ปเี ต็ม - 5 ปี 15 21 36

6 ปีเต็ม-11 ปี 41 51 92

12 ปี-14 ปี 25 15 40

15 ปี-17 ปี 20 19 39

18 ปี-25 ปี 56 54 110

26 ปี-49 ปี 206 196 402

50 ปีเต็ม-60 ปเี ต็ม 96 89 185

มากกว่า 60 ปเี ตม็ ขึ้นไป 67 80 147
รวม 534 541 1,075

11

- บ้านวงั หาด หม่ทู ี่ 2

ช่ือหมู่บ้าน หมู่ที่ ช่วงอายุ ประชากรชาย ประชากรหญงิ รวม
(คน) (คน) (คน)
บา้ นวงั หาด 2 น้อยกวา่ 1 ปเี ตม็ 0 5 5
1 ปีเต็ม - 2 ปี 6 6 12
3 ปีเตม็ - 5 ปี 23 20 43
6 ปเี ต็ม-11 ปี 51 36 87
12 ปี-14 ปี 18 16 34
15 ปี-17 ปี 16 25 41
18 ปี-25 ปี 47 39 86
26 ปี-49 ปี 179 167 346
80 70 150
50 ปีเต็ม-60 ปเี ต็ม 43 52 95
มากกว่า 60 ปเี ตม็ ข้ึนไป 464 436 900
รวม

-บา้ นวงั หิน หมู่ท่ี 3

ชอ่ื หม่บู ้าน หมูท่ ี่ ช่วงอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม(คน)
(คน) (คน)
บ้านวงั หนิ 3 น้อยกวา่ 1 ปีเต็ม 5 3 8
1 ปีเต็ม - 2 ปี 13 7 20
3 ปีเต็ม - 5 ปี 12 19 31
6 ปีเต็ม-11 ปี 43 26 69
12 ปี-14 ปี 20 18 38
15 ปี-17 ปี 23 17 40
18 ปี-25 ปี 63 42 105
26 ปี-49 ปี 196 177 373
81 77 158
50 ปีเต็ม-60 ปเี ต็ม 56 75 131
มากกวา่ 60 ปีเต็ม ข้ึนไป 512 461 973
รวม

12

-บ้านลานกระบอื หมู่ท่ี 4

ช่อื หม่บู ้าน หมทู่ ี่ ช่วงอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บ้านลานกระบือ 4 นอ้ ยกว่า 1 ปีเต็ม 2 5 7
1 ปีเต็ม - 2 ปี 10 9 19
3 ปีเต็ม - 5 ปี 14 20 34
6 ปีเต็ม-11 ปี 47 48 95
12 ปี-14 ปี 5 16 21
15 ปี-17 ปี 22 14 36
18 ปี-25 ปี 39 62 101
26 ปี-49 ปี 198 176 374
90 78 168
50 ปีเต็ม-60 ปเี ต็ม 66 63 129
มากกว่า 60 ปีเตม็ ขึ้นไป 493 491 984
รวม

- บา้ นวงั โตก หมู่ที่ 5

ชอ่ื หมูบ่ า้ น หมทู่ ี่ ชว่ งอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บา้ นวงั โตก 5 น้อยกว่า 1 ปีเต็ม 4 9 13
1 ปีเต็ม - 2 ปี 8 16 24
3 ปีเต็ม - 5 ปี 27 19 46
6 ปีเต็ม-11 ปี 51 56 107
12 ปี-14 ปี 29 18 47
15 ปี-17 ปี 15 18 33
18 ปี-25 ปี 62 68 130
26 ปี-49 ปี 220 215 435
104 101 205
50 ปีเต็ม-60 ปเี ต็ม 69 96 165
มากกวา่ 60 ปเี ตม็ ขึน้ ไป 589 616 1,205
รวม

13

-บา้ นหนองเตาปูน หมู่ที่ 6

ชอ่ื หมบู่ า้ น หมทู่ ่ี ชว่ งอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บ้านหนองเตาปูน 6 นอ้ ยกว่า 1 ปีเต็ม 6 12 18
1 ปีเต็ม - 2 ปี 13 10 23
3 ปีเต็ม - 5 ปี 45 31 76
6 ปีเต็ม-11 ปี 88 70 158
12 ป-ี 14 ปี 47 36 83
15 ปี-17 ปี 39 39 78
18 ปี-25 ปี 109 109 218
26 ปี-49 ปี 388 343 731
150 137 287
50 ปีเตม็ -60 ปีเต็ม 108 128 236
มากกว่า 60 ปเี ตม็ ข้ึนไป 993 915 1,908
รวม

-บ้านหนองบัวดำ หมู่ท่ี 7

ชือ่ หมู่บ้าน หมู่ที่ ช่วงอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บ้านหนองบัวดำ 7 นอ้ ยกว่า 1 ปีเต็ม 3 1 4
1 ปีเต็ม - 2 ปี 7 5 13
3 ปีเต็ม - 5 ปี 10 5 15
6 ปีเต็ม-11 ปี 21 23 44
12 ปี-14 ปี 11 7 18
15 ปี-17 ปี 10 5 15
18 ปี-25 ปี 35 21 56
26 ป-ี 49 ปี 91 82 173
47 35 82
50 ปเี ตม็ -60 ปีเต็ม 31 34 65
มากกว่า 60 ปีเตม็ ขึ้นไป 266 218 484
รวม

14

-บ้านตลงิ่ ชนั ใต้ หมทู่ ี่ 8

ชอ่ื หมู่บ้าน หมทู่ ่ี ชว่ งอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บา้ นตลิง่ ชันใต้ 8 น้อยกวา่ 1 ปีเต็ม 1 5 6
1 ปีเต็ม - 2 ปี 11 12 23
3 ปีเต็ม - 5 ปี 10 9 19
6 ปีเต็ม-11 ปี 40 30 70
12 ปี-14 ปี 14 10 24
15 ปี-17 ปี 27 13 40
18 ปี-25 ปี 38 50 88
26 ปี-49 ปี 144 154 298
64 132 196
50 ปเี ต็ม-60 ปีเต็ม 56 64 120
มากกว่า 60 ปเี ตม็ ขน้ึ ไป 405 425 830
รวม

-บ้านลานกระบือใต้ หมู่ท่ี 9

ชอ่ื หม่บู า้ น หมทู่ ่ี ช่วงอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บา้ นลานกระบือใต้ 9 นอ้ ยกวา่ 1 ปีเต็ม 6 3 9
1 ปีเต็ม - 2 ปี 7 12 19
3 ปีเต็ม - 5 ปี 18 16 34
6 ปีเต็ม-11 ปี 59 46 105
12 ปี-14 ปี 22 21 43
15 ปี-17 ปี 26 23 49
18 ปี-25 ปี 45 43 88
26 ปี-49 ปี 203 180 383
73 78 151
50 ปีเตม็ -60 ปเี ต็ม 61 73 134
มากกว่า 60 ปีเตม็ ข้ึนไป 520 495
รวม 1,015

15

- บา้ นวังไทรย้อย หมู่ที่ 10

ชอ่ื หมู่บ้าน หม่ทู ่ี ชว่ งอายุ ประชากรชาย ประชากรหญิง รวม
(คน) (คน) (คน)
บ้านวงั ไทรย้อย 10 น้อยกวา่ 1 ปีเต็ม 3 4 7
1 ปีเต็ม - 2 ปี 8 6 14
3 ปีเต็ม - 5 ปี 12 7 19
6 ปีเต็ม-11 ปี 23 23 46
12 ปี-14 ปี 10 11 21
15 ปี-17 ปี 14 15 29
18 ปี-25 ปี 35 39 74
26 ปี-49 ปี 131 102 233
55 54 109
50 ปีเต็ม-60 ปีเต็ม 42 44 86
มากกว่า 60 ปีเตม็ ขนึ้ ไป 333 305 638
รวม

ข้อมลู : จากสำนกั งานทะเบยี นอำเภอบา้ นด่านลานหอย ณ มกราคม 2564 ( 22 มกราคม 2564)

16

2.4 สภาพสงั คม
1) ด้านการศกึ ษา
ภายในตำบลตลงิ่ ชันมสี ถานศึกษา สำหรบั รองรบั เดก็ ท่จี ะเข้าส่ใู นวัยเรยี น จำนวน 16 แห่ง ประกอบดว้ ย
- โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 3 แห่ง
-โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 5 แหง่
- โรงเรียนระดับประถมศกึ ษา (ขยายโอกาส) จำนวน - แหง่
- โรงเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1 แหง่
- ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก จำนวน 6 แห่ง
- ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 1 แห่ง ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 1 บา้ นตล่งิ ชัน

ตารางแสดงโรงเรยี นระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษา และโรงเรียนขยายโอกาส

จำนวน นักเรยี น นกั เรียน นักเรยี น

สถานศกึ ษา ครู/ ระดับอนุบาล ระดับประถม ระดับมัธยม รวม

บคุ ลากร ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง 112
99
1. โรงเรยี นบา้ นวงั หาด 9 20 9 53 30 - - 78
494
2. โรงเรยี นบ้านวงั หนิ 10 12 15 40 32 - - 399

3. โรงเรียนบ้านคลองไผง่ าม 9 11 6 27 34 - - 81

4. โรงเรียนบ้านลานกระบอื 29 42 32 160 146 53 61 1,263

5. โรงเรยี นบ้านตลิ่งชนั 26 36 32 112 121 64 34

6. โรงเรยี นตล่งิ ชันวทิ ยา 17 - - - - 38 43
นสุ รณ์

รวม 100 121 94 392 363 155 138

17

ตารางแสดงศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กในตำบลตล่ิงชนั

จำนวนเด็ก จำนวนเดก็
นกั เรียน
ลำดับที่ ชือ่ ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ นักเรยี น (หญิง) รวม

(ชาย) 28 74
24
1 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองเตาปูน 46 7
(กรมพัฒนาชมุ ชน) 37
13 16
2 ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านตลิ่งชัน 17 7 19
10 30
(กรมพัฒนาชุมชน) 17
200
3 ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นตล่งิ ชันใต้ (สปช.) 24 82
รอ้ ยละ
4 ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านวังโตก (ทต.) 9
7.67
5 ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นวงั หนิ (ทต.) 9 1.44
7.80
6 ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ (ศูนย์อบรมเด็กเล็กก่อน 13 52.30
16.68
เกณฑ์ในวดั วงั หาด) (กรมการศาสนา)
9.52
รวม 118
2.08
ขอ้ มลู :จากกองการศกึ ษาเทศบาลตำบลตลง่ิ ชนั ณ เดอื น มกราคม 2564 2.37
0.15
- การเปรยี บเทียบข้อมูลด้านการศึกษาจำแนกตามระดบั การศกึ ษา ปี 2564 100.00

ระดับการศึกษา ชาย ร้อยละ หญิง รอ้ ยละ รวม 18

(คน) (คน) (คน)

ไมเ่ คยศึกษา 224 3.35 288 4.31 512

อนบุ าล/ศูนย์เด็กเล็ก 49 0.73 47 0.70 96

ต่ำกวา่ ชั้นประถมศึกษา 274 4.10 247 3.70 521

จบชัน้ ประถมศึกษา (ป.4,ป.6,ป.7) 1,785 26.73 1,708 25.57 3,493

มธั ยมศึกษาตอนต้น 613 9.18 501 7.50 1,114

(มศ.1-3,ม.1-3)

มัธยมศึกษาตอนตน้ ปลาย 291 4.36 345 5.17 636

(มศ.4-5 ม.4-6,ปวช.)

อนปุ รญิ ญาหรือเทียบเท่า 71 1.06 68 1.02 139

ปรญิ ญาตรหี รือเทียบเทา่ 52 0.78 106 1.59 158

สูงกว่าปริญญาตรี 3 0.04 7 0.10 10

รวม 3,362 50.34 3,317 49.66 6,679

ขอ้ มูล : จากสำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอบ้านดา่ นลานหอย ณ เดือน มิถนุ ายน 2562 (ข้อมลู ความจำเปน็

พืน้ ฐาน(จปฐ.) ปี 62)

2) ด้านสาธารณสุข

- สถานพยาบาล

ประเภท จำนวน ชอ่ื สถานอี นามัย ทตี่ ั้ง
(แหง่ ) หมทู่ ี่ 1

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ/ 2 1. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลตลง่ิ ชัน หมู่ท่ี 6

หมูบ่ า้ น

2. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพหนองเตาปูน

- ขอ้ มูลด้านสขุ ภาพประชาชนในพ้นื ท่ีตำบลตลงิ่ ชัน

ลำดบั ท่ี สภาวะการเกดิ โรค จำนวนผู้ปว่ ย
(ราย)
1 โรคอุจจาระรว่ ง 32
2 โรคไข้เลอื ดออก -
3 โรควณั โรค 17
4 โรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู 492
5 โรคความดันโลหิตสงู 1,000
6 โรคมอื เท้า ปาก -
7 โรคชคิ ุนกุนยา 5
8 โรคอสี กุ อีใส 1

ขอ้ มลู : จาก กองสาธารณสขุ และส่ิงแวดลอ้ ม ณ เดอื น มกราคม 2564

19

สรุปผลการจดั เกบ็ ข้อมูลคณุ ภาพชวี ติ ของครัวเรือน (จปฐ. 2) ปี 2562 เทศบาลตำบลตล่งิ ชนั

ตวั ช้วี ัดข้อมูลความจำเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) จำนวนทส่ี ำรวจ ไม่ผา่ นเกณฑ์
ทงั้ หมด จำนวน รอ้ ยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสขุ ภาพและอนามยั ดี) มี 7 ตัวชีว้ ดั )

1.เดด็ แรกเกิดมีนำ้ หนกั ไมน่ อ้ ยกวา่ 2,500 กรัม 12 คน --
2.เดก็ แรกเกดิ ได้กนิ นมแมอ่ ยา่ งเดียวอย่างน้อย 6 เดอื นแรกตดิ ต่อกัน 8 คน --
3. เดก็ แรกเกดิ ถึง 12 ปี ได้รบั การฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสรา้ งเสริม 943 คน --
ภูมิค้มุ กันโรค
4.ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐาน 1,921 คร. 2 คร. 0.10
5.ครัวเรือนมีการใช้ยาเพ่อื บำบดั บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบื้องต้นอยา่ งเหมาะสม 1,921 คร. 59 คร. 3.07
6.คนอายุ 35 ปขี นึ้ ไป ได้รบั การตรวจสขุ ภาพประจำปี 3,855 คน
7.คนอายุ 6 ปขี ึ้นไป ออกกำลงั กายอย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั ๆละ 30 นาที 6,388 คน --
หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตวั ชีว้ ัด --

8.ครัวเรือนมคี วามม่ันคงในทีอ่ ยอู่ าศัย และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร 1,921 คร. - -

9.ครัวเรือนมนี ำ้ สะอาดสำหรบั ดม่ื และบริโภคเพยี งพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 5 1,921 คร. - -
ลิตรตอ่ วัน 1,921 คร. - -
10.ครวั เรือนมนี ำ้ ใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลติ รตอ่ วัน

11.ครัวเรอื นมีการจัดบา้ นเรือนเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด และ 1,921 คร. 3 คร. 0.16
ถกู สุขลกั ษณะ 1,921 คร. --
12.ครัวเรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ

13.ครัวเรือนมกี ารปอ้ งกันอบุ ัตภิ ัย และภยั ธรรมชาติอยา่ งถกู วิธี 1,921 คร. 1 คร. 0.05

14.ครวั เรือนมคี วามปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สิน 1,921 คร. - -

หมวดท่ี 3 การศึกษา มี 5 ตัวชีว้ ดั

15. เด็กอายุ 3-5 ปี ไดร้ บั บริการเลยี้ งดูเตรยี มความพร้อมกอ่ นวัยเรยี น 217 คน - -

16.เด็กอายุ 6-14 ปี ไดร้ บั การศึกษาภาคบังคบั 9 ปี 834 คน - -

17.เด็กจบช้นั ม.3 ไดเ้ รียนต่อชนั้ ม.4 หรอื เทยี บเท่า 2 คน - -

18.คนในครัวเรือนท่ีจบการศึกษาบังคบั 9 ปี ทไ่ี ม่ไดเ้ รยี นต่อและยงั ไมม่ งี านทำ ได้รับ 8 คน --
การฝึกอบรมดา้ นอาชพี 4,406 คน 2 คน 0.05
19.คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขยี นภาษาไทย และคิดเลขอย่างงา่ ยได้

20

ตวั ชว้ี ัดขอ้ มูลความจำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) จำนวนท่สี ำรวจ ไม่ผ่านเกณฑ์
หมวดที่ 4 การมีงานทำและรายได้ มี 4 ตัวชี้วดั ทงั้ หมด จำนวน ร้อยละ

20.คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และมรี ายได้ 3,833 คน 15 คน 0.39

21.คนอายุ 60 ปีข้ึนไป มอี าชีพและมีรายได้ 1,144 คน 93 คน 8.13

22.รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรอื นต่อปี 1,921 คร. 2 คร. 0.10

23.ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงิน 1,921 คร. 1 คร. 0.05

หมวดที่ 5 ค่านิยม มี 8 ตัวชว้ี ัด

24.คนในครวั เรือนไมด่ ่ืมสรุ า 6,679 คน 668 คน 10.00
25.คนในครัวเรือนไม่สูบบหุ ร่ี 6,679 คน 533 คน 7.98
26.คนอายุ 6 ปีข้ึนไป ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางศาสนาอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 1ครัง้ 6,388 คน 3 คน 0.05
27.ผู้สงู อายุ ไดร้ ับการดูแลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐหรอื ภาคเอกชน 1,148 คน
28.ผู้พกิ าร ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐหรอื ภาคเอกชน 62 คน - -
- -

29. ผู้ป่วยโรคเรอ้ื รงั ได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน 88 คน -

30.ครวั เรอื นมีส่วนรว่ มทำกจิ กรรมสาธารณะเพ่ือประโยชน์สขุ ของชุมชนหรือ 1,921 คร. - -
-
ท้องถิน่

31. ครอบครัวมีความอบอนุ่ 1,921 คร. -

ข้อมลู : จากสำนกั งานพัฒนาชมุ ชนอำเภอบ้านดา่ นลานหอย ณ มิถุนายน 2562 (ข้อมลู ความจำเปน็ พ้นื ฐาน จปฐ. ปี 2562)

3) อาชญากรรม

พ้ืนท่ตี ำบลตลิ่งชันไม่พบปญั หาอาชญากรรม เนือ่ งจากมหี น่วยรกั ษาความปลอดภัย และกลุม่
มวลชนที่คอยสอดส่องดูแลความสงบเรยี บร้อยในพ้นื ที่ ประกอบดว้ ย

- ป้อมตำรวจ/ตำรวจรกั ษาความปลอดภยั ประจำตำบล 1 แห่ง (ทต่ี ้ัง : หมทู่ ่ี 8 ชมุ ชนตลงิ่ ชันใต้)

กลุ่มมวลชนจัดตง้ั
- ลกู เสอื ชาวบ้าน
- กลุม่ เกษตรกรทำนา จำนวน 1 กลุ่ม
- กลมุ่ แม่บา้ นเกษตรกร จำนวน 1 กลมุ่
- อสม. จำนวน 174 คน
- อปพร. จำนวน 67 คน คิดเปน็ 0.67% (เป้าหมาย 2 % 200 คน จากประชากร 10,000 คน)
- อผส. จำนวน 5 คน
-

21

กลุ่มกิจกรรม/อาชีพ/กองทนุ ในพนื้ ท่ตี ำบลตลง่ิ ชัน

ลำดับ หมู่บา้ น กลุม่ กจิ กรรม/อาชพี หมายเหตุ

ท่ี 22

1 บ้านตลงิ่ ชนั หม่ทู ี่ 1 1. กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

2. กลุม่ อาสาสมัครป้องกันภัยฝา่ ยพลเรือน

3. กลมุ่ อาสาสมัครดแู ลพิทกั ษ์สิทธิผ์ สู้ งู อายุ

4. กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์

5. กลุ่มแปลงใหญข่ ้าว

6. กองทนุ หมู่บ้าน

7. กองทนุ พัฒนากลุ่มสตรี

2 บ้านวงั หาด หมทู่ ี่ 2 1. กลมุ่ เล้ียงโค

2. ชมรมการทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชนวังหาด

3. กลมุ่ ทอผา้ ฝา้ ยพน้ื ถิน่

4. กลมุ่ เศรษฐกจิ พอเพียง เกษตรอนิ ทรยี ์ผัก

ปลอดสารเคมี

5. กลุม่ ผลติ ภัณฑจ์ ากไม้ไผ่

6. กองทุน กขคจ.

7. กองทุน อพป.

8. กองทุนหมบู่ ้าน (เงนิ ลา้ น)

9. กองทนุ เงินประชารัฐ

10. กองทุนออมทรัพย์

3 บา้ นวังหนิ หมู่ที่ 3 1. กลมุ่ เลยี้ งโค

2. กลมุ่ เกษตรกรทำนา

3. กลุ่มเกษตรกรสวนผสมผสาน

4. กลุ่มเกษตรกรทำปุ๋ยชีวภาพ

5. กลมุ่ เกษตรกรทำนำ้ ยาเอนกประสงค์

6. กลุ่มเกษตรกรอ้อยโรงงาน

7. กองทุนหมบู่ ้าน

8. กองทนุ ออมทรัพยเ์ งินลา้ น

9. กองทุนเงนิ กข.คจ.

10. กองทุนออมทรัพย์ กข.คจ.

11. กองทนุ ฌาปนกิจ

12. กองทนุ กลมุ่ สตรี 13.กองทนุ ขา้ ว

ลำดับ หม่บู า้ น กล่มุ กจิ กรรม/อาชีพ หมายเหตุ
ท่ี
4 บ้านลานกระบือ หมทู่ ่ี 4 1. กลุม่ ทอผ้า
2. กลุ่มทอเส่ือ
5 บ้านวังโตก หมู่ที่ 5 3. กลุ่มเลยี้ งไหม
4. กองทนุ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต
6 บา้ นหนองเตาปนู หมู่ท่ี 6 5. กองทุนหมู่บา้ น
7 บ้านหนองบัวดำ หมูท่ ี่ 7 6. กองทุนสวสั ดกิ าร
7. กองทนุ ฌาปนกิจสงเคราะห์
8. กองทนุ พฒั นาสตรี
1. กลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลติ
2. กลุ่มผลิตภณั ฑ์ไม้กวาด
3. กลมุ่ ผ้เู ลย้ี งโนเน้อื
4. กลมุ่ แมบ่ ้าน (คณะกรรมการพฒั นาสตรี
หมบู่ า้ น)
5. กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน
6. กลมุ่ อาสาสมัครดแู ลพิทกั ษ์สิทธผิ์ ้สู ูงอายุ
7. กลมุ่ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน
8. กลุ่มฌาปนกจิ สงเคราะห์
9. กลุม่ แปลงใหญ่อ้อย
10. กองทุนหมู่บ้าน
11. กองทนุ โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน
12. กองทุนเมล็ดพันธุ์ขา้ วโพด
13. กองทนุ ศนู ย์สงเคราะหร์ าษฎรประจำหมู่บ้าน
1. กองทุนออมทรัพย์
2. กองทนุ หมบู่ า้ น
3. กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน
4. กองทุนข้าวเพ่ือพ่อถักทอผลบุญ
5. กองทนุ กลุม่ สตรี
6. กองทุนกลมุ่ ประชารฐั
1. กลุ่มพนั ธ์ุขา้ ว 2. กล่มุ ขา้ วโพดพันธ์ุดี
3. กองทนุ หมบู่ า้ น (เงนิ ลา้ น) 4. กองทุน ก.ข.ค.จ.
5. กองทนุ ผใู้ ช้น้ำ

23

ลำดบั หมบู่ ้าน กลุ่มกจิ กรรม/อาชพี หมายเหตุ

ท่ี

8 บ้านตล่งิ ชนั ใต้ หม่ทู ี่ 8 1. กล่มุ ทำดอกไม้จนั ทน์

2. กลมุ่ ทำน้ำหมักชวี ภาพ

3. กลมุ่ ทำนำ้ ยาเอนกประสงค์

4. กลมุ่ เลี้ยงไสเ้ ดือน

5. กองทนุ หมูบ่ ้าน (กองทุนเงินล้าน)

6. กองทนุ ผูใ้ ชน้ ้ำประปา

7. กองทุนขา้ วโพดพนั ธุ์ดี

9 บา้ นลานกระบือใต้ หมู่ที่ 9 1. กลมุ่ ไม้กวาด

2. กลมุ่ จกั สาน

3. กลมุ่ เล้ยี งโค

4. กลุ่มรา้ นค้าชมุ ชน

5. กองทุนขา้ วเพ่ือแม่

6. กองทุนออมทรัพย์

7. กองทนุ เงนิ ลา้ น

10 บ้านวงั ไทรยอ้ ย หมู่ที่ 10 1. กลุ่มสมั มาชีพชุมชนบา้ นวังไทย

2. กองทุนออมทรัพยส์ ัจจะ

3. กองทนุ ชาวฌาปนกจิ หมบู่ ้าน

4. กองทุนเงินลา้ น

4) ยาเสพติด

ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ตำบลตลิ่งชันอยู่ในระดับน้อย ซึ่งเทศบาลตำบลตลิ่งชันให้ความสำคัญในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมีขีดความสามารถในการจัดการและ
แกไ้ ขปัญหายาเสพติด มกี ารวางแผนจดั ทำโครงการรณรงคแ์ ละการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในพนื้ ทีอ่ ยา่ งจรงิ จงั โดยการมี
ส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ร่วมกันในการค้นหาปัญหา และแนวทางการป้องกัน
ปญั หายาเสพติดที่เกดิ ข้ึน

24

5) การสงั คมสงเคราะห์
เทศบาลตำบลตลิง่ ชัน ให้ความสำคัญในการช่วยเหลือดา้ นสังคมสงเคราะหแ์ ก่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วย

ตดิ เชอ้ื เอดส์ และผดู้ ้อยโอกาส ในพื้นท่ีตำบลตลงิ่ ชนั โดยการจา่ ยเบยี้ ยังชีพ ส่งเสริมอาชีพ สง่ เสริมสุขภาพ เงนิ สงเคราะห์ และ
อื่นๆ ดังน้ี

- ผู้สงู อายุ : จา่ ยเบ้ยี ยงั ชพี ผสู้ ูงอายุ จำนวน 1,380 ราย จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ผู้สูงอายุ ได้แก่ โครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมกล่มุ ผ้สู งู อายุตำบลตลิ่งชนั ,โครงการเทศบาลตำบลตลงิ่ ชนั ห่วงใยใสใ่ จผสู้ ูงอายุ ,กิจกรรมผู้สงู วยั ใส่ใจ
ลกู หลาน และกจิ กรรมถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญาผูส้ งู อายุให้ลกู หลาน

- ผพู้ กิ าร : จ่ายเบ้ียยังชีพผู้พกิ าร จำนวน 331 ราย จัดกิจกรรมส่งเสรมิ ผู้พิการ ได้แก่ โครงการพฒั นา
ศกั ยภาพผู้พิการในชมุ ชนตำบลตล่งิ ชัน

- ผตู้ ดิ เชอ้ื เอดส์ : จ่ายเงินผตู้ ิดเชือ้ จำนวน 11 ราย
- ผู้ด้อยโอกาส : เทศบาลตำบลตลิ่งชันร่วมกับสำนักงานพัฒนาสังคมจังหวัดสุโขทัย สนับสนุนเงิน
สงเคราะห์ อุปกรณเ์ ครือ่ งใชใ้ นครวั เรือน เปน็ ตน้

25

2.5 ระบบบรกิ ารพื้นฐาน

1) การคมนาคมขนส่ง (ทางบก,ทางน้ำ,ทางราง ฯลฯ)

การคมนาคมขนส่งในตำบล และระหว่างตำบล มีถนนลาดยาง ถนนคอน

ผลติ ผลทางการเกษตร ประกอบด้วย

- ถนนสายอำเภอบ้านด่านลานหอย - บา้ นวงั หาด - ถนนสายวังลึก

- ถนนสายลานกระบือ - ไปตำบลวงั น้ำขาว - ถนนสายวังโ

- ถนนสายวงั โตก - หนองตมู - ถนนคอนกรีต

- ถนนดินลกู รงั ซอยตา่ ง ๆ ทกุ หมูบ่ ้าน

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4

ท่ี ประเภทถนน จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำ

(สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (ส
(ม) (ม) (ม) (ม)

1 ถนนในความรับผดิ ชอบของ

กรมทางหลวง

-ถนนคอนกรตี - - - -- - - -

-ถนนลาดยาง

-ถนนลูกรงั

2 ถนนในความรบั ผดิ ชอบ

ของทอ้ งถน่ิ

-ถนนคอนกรตี 14 2,373 9 1,748 3 644 11 1,696

-ถนนลาดยาง 2 1,350 4 7,152 2 1,507 2 4,380
-ถนนลกู รัง 3 6,500 3 5,317 5 9,640 4 5,480

นกรีตเสริมเหล็กและถนนลูกรังที่สามารถใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมาและเส้นทางขนส่ ง

- ลานกระบือ
โตก - ลานกระบือใต้
ทกุ หมูบ่ ้าน

ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 ม.10

ำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ
สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง
(ม) (ม) (ม) (ม)
(ม) (ม)

- - - - - - - - - - - --

7 1,775 14 1,949 7 1,801 8 1,666 12 2,064 8 1,607
1 1,000 3 2,085 1 550 2 923 1 560 - -
7 11,085 1 980 10 16,500 3 6,600 4 3,595 7 9,740

ที่ ประเภทถนน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 จำ
(ส
3 ถนนในความรับผดิ ชอบ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง
-ถนนคอนกรีต
-ถนนลาดยาง (ม) (ม) (ม) (ม)
-ถนนลกู รงั
-- - -- - --

4 ถนนในความรับผดิ ชอบ 2 3,925 1 3,700
ขององคก์ ารบรหิ าร
ส่วนจงั หวดั สโุ ขทัย
-ถนนคอนกรตี
-ถนนลาดยาง
-ถนนลกู รงั

ข้อมูล : จากกองชา่ ง เทศบาลตำบลตลง่ิ ชนั ณ เดอื น มกราคม 2564

ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 ม.10

ำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ จำนวน ระยะ
สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง (สาย) ทาง
(ม) (ม) (ม) (ม)
(ม) (ม)

- - --- - - - - - - -

1 218
1 5,500 2 5,100

27

2) การไฟฟ้า

- มกี ารขยายเขตไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บา้ น รวม 10 ชมุ ชน รายละเอียดดงั น้ี

-ไฟฟ้าในครัวเรือน พื้นที่ตำบลตลิ่งชัน มีไฟฟ้าใช้ จำนวน 10 หมู่บ้าน (ยกเว้นบางพื้นที่ที่มีการขยาย
อพยพครัวเรือนไปสร้างบ้าน หรือที่พำนักในไร่ ในสวน เป็นบางหย่อมบ้าน ซึ่งทางเทศบาลตำบลตลิ่งชันเร่งดำเนินการขยาย
เขตไฟฟ้าใหค้ รบทุกครวั เรือน

จำนวนครวั เรอื นท่ีไม่มีไฟฟ้าใช้ (ครัวเรอื น)
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 ม.10
6 2 3 5 5 6 2554

- ไฟฟา้ สาธารณะ (ไฟส่องสว่าง) การตดิ ต้ังดำเนินการไปแล้ว แตย่ งั ไมท่ ว่ั ถึงและครอบคลุมทุกพน้ื ที่

จำนวนไฟฟา้ สาธารณะท่ีติดตง้ั (จดุ )
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 ม.10
24 23 21 20 22 22 24 21 23 20

3) การประปา

หม่ทู ี่ ช่ือบ้าน จำนวน จำนวนครวั เรือนทม่ี ี จำนวนครัวเรอื นที่ยังไม่มี
ครวั เรือน น้ำประปาใช้ นำ้ ประปาใช้
1 ตล่งิ ชนั 338 -
2 วังหาด 338 268 -
3 วงั หนิ 268 302 -
4 ลานกระบือ 302 313 -
5 วังโตก 313 433 -
6 หนองเตาปูน 433 451 -
7 หนองบวั ดำ 451 135 -
8 ตลิ่งชนั ใต้ 135 245 -
9 ลานกระบือใต้ 245 294 -
10 วังไทรยอ้ ย 294 169 -
169 2,948 -
รวม 2,948

หมายเหตุ : ครัวเรือนสว่ นใหญ่ในตำบลตลง่ิ ชนั ใชน้ ้ำประปาหมู่บา้ น/ชมุ ชน

ขอ้ มูล: ข้อมลู จากกองช่างเทศบาลตำบลตล่ิงชัน ณ เดอื น มกราคม 2564
4) โทรศัพท์
- การโทรคมนาคม/การส่ือสาร

หมู่ท่ี ชอ่ื บ้าน/ชมุ ชน จำนวนตโู้ ทรศพั ทส์ าธารณะ (แห่ง)
1 ตลิ่งชัน -
2 วังหาด -
3 วังหนิ -
4 ลานกระบือ -
5 วงั โตก -
6 หนองเตาปูน -
7 หนองบัวดำ -
8 ตลงิ่ ชันใต้ -
9 ลานกระบือใต้ -
10 วังไทรยอ้ ย -
-
รวม

ขอ้ มลู : จากการสำรวจพนื้ ฐานของหมู่บา้ น /ชมุ ชน กองชา่ ง เทศบาลตำบลตลิ่งชัน ณ เดอื น พฤษภาคม 2562

5) ไปรษณีย์หรอื การสื่อสารหรือขนสง่ และวัสดุ ครุภณั ฑ์
-มีทที่ ำการไปรษณยี ์ในพ้ืนที่ใกล้เคียง ในพน้ื ท่ตี ำบลวังลึก จำนวน 1 แหง่ และทท่ี ำการไปรษณยี อ์ ำเภอบ้าน
ด่านลานหอย จำนวน 1 แห่ง

29

2.6 ระบบเศรษฐกจิ

1) การเกษตร

อาชีพของราษฎรในพ้นื ทต่ี ำบลตลิง่ ชัน ราษฎรสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี

- ทำไร่ เปน็ อันดบั ที่ 1 - ทำนา

- รับจา้ งทว่ั ไป เปน็ อนั ดบั ท่ี 4 - คา้ ขาย

ขอ้ มูลพน้ื ฐานการเกษตร ตำบลตล่งิ ชนั อำเภอบ้านดา่ นลานหอย จัง



หมู่บ้าน จำนวน พื้นท่ี

/ชุมชน ครัวเรือน ทั้งหมด ข้าว มันสำปะหลงั ข้าวโพด ออ้ ยโรงงาน ถ

เกษตรกร (แปลง) โรงงาน เล้ียงสัตว์

1 174 4,184 1,185 1,572 737 -
2 149 2,503 747 992 366 -
3 248 5,053 1,467 2,654 343 187

4 127 2,436 1,743 684 - -
5 367 10,450 1,310 3,166 5,309 212
6 263 4,122 2,928 1,066 63
7 154 4,240 835 1,724 - 139
8 231 4,831 2,090 942 1,318 -
9 212 4,492 1,510 2,050 1,066 172
10 68 1,992 247 823 253 -
รวม 1,993 44,303 14,062 15,673 592 773
9,984

ขอ้ มูล: จากสำนกั งานเกษตรอำเภอบา้ นดา่ นลานหอย ณ เดอื น มกราคม 2564 (เฉพาะ
เกษตรกร)

พ 2 - เลี้ยงสตั ว์ เปน็ อนั ดับที่ 3
เปน็ อันดบั ท่ี 5
เปน็ อนั ดบั ที่ ปศุสัตว์

งหวดั สุโขทัย

พนื้ ทเี่ พาะปลกู พืชและปศสุ ัตว์ (ไร่)

ถว่ั เขียว หญา้ เลย้ี งสัตว์ พชื ผัก ไม้ผล ไม้ยืนต้น

594 68 - - 28 -
- 339 -
56 98 - 14 45 -

-- - 135 113 -
382 - -
- 13 -9 - -
196 12 -
675 53 - 5 66 -
464 - -
260 68 - 44 8 -
2,627 651 -
- 3 13

-2 3

3 38 2

-- 2

3 250 280

ะข้อมูลเกษตรกรท่ีแจ้งขึน้ ทะเบยี น

2) การประมง
พน้ื ทต่ี ำบลตลง่ิ ชนั ประชาชนส่วนใหญ่ไมม่ ีการประกอบอาชพี ทำการประม

ก็จำหนา่ ยเพยี งเลก็ นอ้ ย ไม่ถือวา่ เปน็ การประกอบอาชีพหลกั

ขอ้ มลู : จากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านด่านลานหอย ณ มถิ นุ ายน 2562 (ขอ้ มูลค

3) การปศสุ ัตว์

- จำนวนสัตวเ์ ล้ยี งในตำบลตล่งิ ชนั ดงั น้ี

หมทู่ ี่ ชอื่ หมบู่ ้าน/ชมุ ชน จำนวน โค กระ
(ตวั ) (ต
เกษตรกร

1 ตลิ่งชัน 126 867 0
4
2 วังหาด 72 1,437 0
0
3 วงั หิน 120 545 0
0
4 ลานกระบือ 51 324 0
0
5 วงั โตก 88 616 0
0
6 หนองเตาปูน 92 469 4

7 หนองบวั ดำ 43 612

8 ตล่งิ ชนั ใต้ 59 330

9 ลานกระบอื ใต้ 68 607

10 วังไทรย้อย 44 111

รวม 763 5,918

ข้อมูล : จากปศุสตั ว์อำเภอบา้ นด่านลานหอย ณ เดอื น มกราคม 2564

มงเพื่อสร้างรายได้ มีเพียงแต่การเพาะเล้ยี งไว้บริโภคในครัวเรอื นเท่านน้ั เหลอื จากการบริโภค

ความจำเป็นพืน้ ฐาน จปฐ. ปี 2562)

จำนวนสตั ว์เลย้ี งในพ้ืนท่ี

ะบือ สกุ ร เปด็ ไก่ แพะ แกะ
(ตัว) (ตวั )
ตวั ) (ตวั ) (ตวั ) (ตวั )
0 0
0 10 0 3,939 0 0
42 21 0 1,475 0 0
0 14 0 3,728 23 0
0 76 186 1,056 0 0
0 54 0 1,033 334 0
0 131 16 3,007 0 0
0 15 0 837 0 0
0 108 0 2,250 135 0
0 76 18 1,745 15 0
0 7 33 1,035 507 0
42 512 253 20,105

4) การบรกิ าร

เทศบาลตำบลตลิ่งชนั ไดจ้ ดั ต้ังศนู ย์บริการประชาชนตำบลตลิ่งชนั เพือ่ ให้บริการประชาชน
รับทราบขอ้ มลู รับเรื่องราวร้องเรียน รอ้ งทุกข์ ดังน้ี

- ศูนยข์ อ้ มูลข่าวสารตำบลตลง่ิ ชัน อ.บา้ นดา่ นลานหอย จ.สโุ ขทยั
- ศูนย์ประสานงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ เทศบาลตำบลตล่งิ ชัน
- ศนู ย์รบั เร่ืองราวรอ้ งทุกข์จากผ้บู ริโภค ประจำเทศบาลตำบลตลงิ่ ชัน
- ศนู ย์รับเรอ่ื งราวรอ้ งทุกข์/ร้องเรียน ตำบลตลิ่งชัน
- ศนู ยไ์ กลเ่ กลยี่ ประนอมและระงับข้อพิพาทชุมชน เทศบาลตำบลตล่งิ ชนั
- ศนู ย์พัฒนาครอบครัวในชมุ ชน(ศพค.)
- ศูนยส์ ่งเสรมิ การใหแ้ ละการอาสาชว่ ยเหลือสังคม (ศกอส.) ตำบลตล่งิ ชัน
- ทอ่ี า่ นหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บา้ น/ห้องสมดุ ประชาชน

ระดบั /ประเภท จำนวน ชอ่ื ทตี่ ้ัง
(แห่ง)
ทอ่ี ่านหนังสือพิมพ์ 10 1. ชมุ ชนตล่ิงชนั หมู่ที่ 1
ประจำชุมชน /
ห้องสมดุ ประชาชน 2. ชมุ ชนวงั หาด หมู่ที่ 2
3. ชุมชนวงั หิน หมู่ท่ี 3
4. ชมุ ชนลานกระบือ หมู่ท่ี 4
5. ชมุ ชนวังโตก หมทู่ ่ี 5
6. ชมุ ชนหนองเตาปูน หมู่ท่ี 6
7. ชุมชนหนองบวั ดำ หมทู่ ี่ 7
8. ชมุ ชนตลง่ิ ชันใต้ หมทู่ ่ี 8
หม่ทู ่ี 9
9. ชุมชนลานกระบอื ใต้ หมู่ท่ี 10
10. ชมุ ชนวงั ไทรย้อย

ขอ้ มูล : จากกองการศึกษา เทศบาลตำบลตลิง่ ชนั ณ เดือน มกราคม 2564

32

5) การท่องเที่ยว
สถานทที่ ่องเท่ียวประจำตำบล (ท่ีมา : ข้อมลู จากกองการศึกษา เทศบาลตำบลตลิ่งชัน)
- อา่ งเก็บน้ำห้วยแม่กองค่าย ม.1 และหมู่ 10
- อา่ งเก็บน้ำตาผ้าขาว ม.1,
- อา่ งเกบ็ น้ำแมร่ ำพัน ม.2
- อ่างเกบ็ น้ำกิ่วหญ้าแทน ม.9
- สำนกั สงฆถ์ ้ำพุโพธิสัตว์
- วดั ถำ้ กระสุน ม.9
- พพิ ิธภณั ฑ์โบราณคดบี ้านวังหาด ม.2

6) การอุตสาหกรรม
ประเภทสถานประกอบการเกย่ี วกับโรงงานอุตสาหกรรมในพนื้ ทต่ี ำบลตล่ิงชัน ยังไม่มีการจดั ตั้ง
โรงงานอุตสาหกรรมในพืน้ ท่ี

7) การพาณิชยแ์ ละกลุ่มอาชีพ

1) การพาณชิ ย์

การพาณชิ ย์ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ม.7 ม.8 ม.9 ม.10 รวม

1. ธนาคาร - - ------- - -

2. บริษทั - - ------- - -

3. ห้างหุ้นส่วนจำกัด - - ------- - -

4. ร้านขายของชำ 4 4 3 8 6 3 2 4 4 2 40

5. โรงแรม - - ------- - -

6. สถานพยาบาลเอกชน/คลินิก 1 - - - - - - - 1 - 2

7. สถานบี ริการน้ำมนั 3 131 1 3 2 14

8. ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินคา้ - - - - - - - - - - -

9. ตลาดสด - - ------- - -

10. โรงฆา่ สัตว์ - - ------- - -

11. ร้านอาหาร 2 2 3 - 2 - - 1 - - 10

12. รีสอร์ท,เกสเฮาส์ - - ------- - -

13. หอพัก - - ------- - -

14. ร้านเสริมสวย - - ---1--- - 1

15. รา้ นขายยา - - ------- - -

33

2) ประเภทสถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลตลิ่งชนั

- รา้ นค้า 40 แห่ง - ปั๊มน้ำมนั 23 แห่ง

- รา้ นขายเส้ือผ้า 0 แห่ง - ร้านเสรมิ สวย 1 แห่ง

- ร้านซ่อมเครื่องยนต์ 9 แห่ง - ร้านขายต้นไม้ 1 แหง่

- โรงสี 14 แหง่ - รา้ นขายโลงศพ 1 แห่ง

- ลานมัน 3 แห่ง - ร้านขายปยุ๋ 2 แห่ง

- รา้ นรบั ซอื้ ของเก่า 0 แหง่ - ร้านขนมจีน 2 แห่ง

- บ้านเชา่ 1 แหง่ - รา้ นอาหาร 10 แห่ง

- ร้านคอมพวิ เตอร์ 1 แห่ง - รา้ นกิฟ๊ ช๊อป - แห่ง

- คลินิก 2 แห่ง

3) กลุ่มอาชพี ตำบลตลงิ่ ชัน

- กลมุ่ สานตะกร้าพลาสติก - กลุ่มทอผา้ พื้นเมืองบา้ นวังหาด

- กลุ่มทำดอกไมจ้ นั ทนแ์ ละพวงหรีด - กลุ่มทอเส่ือกก

ข้อมลู : จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของหมู่บา้ น/ชุมชน กองคลงั เทศบาลตำบลตลิ่งชัน ณ เดือน

มกราคม 2564

8) แรงงาน

ด้านแรงงานในพืน้ ที่ตำบลตลงิ่ ชนั ส่วนใหญเ่ ป็นแรงงานในพื้นท่ี ภาคการเกษตร คา่ แรงอยู่ที่
ระหวา่ ง 250-350 บาท

2.7 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

1) การนับถือศาสนา
เทศบาลตำบลตลิ่งชัน เดิมเป็นตำบลขนาดใหญ่ ปจั จุบันไดแ้ ยกออกเป็นตำบลวงั ลกึ อีก 1 ตำบล

ทำใหม้ ีขนาดเล็กลง ประชาชนแบ่งออกเปน็ 3 กลมุ่ คือ กลุ่มท่ี 1 เปน็ คนเมืองสโุ ขทยั กลุ่มที่ 2 เป็นคนเหนือ
กลุ่มท่ี 3 เปน็ คนมาจากภาคอีสาน การนับถือศาสนานัน้ ย่อมแตกตา่ งกันไป ร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ
รอ้ ยละ 1 นบั ถือศาสนาคริสต์

34

- สถาบนั และองค์กรทางศาสนา

ประเภท จำนวน ช่ือวัด/สำนกั สงฆ์ ท่ีตง้ั
(แห่ง)
หมทู่ ี่ 1
วดั ทไี่ ด้รบั การแตง่ ตง้ั 5 1. วัดตลง่ิ ชัน หมู่ท่ี 2
หมู่ท่ี 5
เป็นวัดอย่างถูกตอ้ ง 2. วัดจอมศรรี ัตนมงคล (วดั วังหาด) หมู่ท่ี 5
หมู่ที่ 6
3. วดั วังศรวี ิไล หมู่ที่ 3
หมทู่ ี่ 4
4. วดั คลองไผ่งาม หมู่ท่ี 10
หมูท่ ี่ 8
5. วัดลานกระบือ หมทู่ ่ี 3
หมูท่ี 9
6. วัดปทมุ ครี ี หมู่ท่ี 7
หมู่ท่ี 4
7. วดั ป่าเขาระเนียม

8. วดั วงั ไทรยอ้ ยพฒั นาราม

สำนักสงฆ์ 8 1. สำนกั สงฆ์วัดใหมศ่ รัทธาธรรม

2. สถานปฏบิ ตั ิธรรมวัดใหม่วังหนิ

3. สถานปฏบิ ตั ิธรรมถำ้ พุโพธสิ ตั ว์

4. ท่ีพักสงฆ์วดั หนองบัวดำ

ศูนย์เผยแพร่ 1 1. ครสิ ตจักรนักบุญอันตนั

ทางศาสนา

ขอ้ มลู : จากกองการศกึ ษา เทศบาลตำบลตลง่ิ ชนั ข้อมลู ณ เดือน มกราคม 2564

2) ประเพณีและงานประจำปี

ตำบลตล่งิ ชนั ประกอบด้วยประชากรหลายกลมุ่ ท้ังคนเมอื งสุโขทัย คนเหนือ และคนอีสาน

ดังน้ันจงึ มปี ระเพณแี ละงานประจำปที หี่ ลากหลาย แตกต่างกนั ไปตามความเช่ือและประเพณขี องแต่ละถน่ิ เชน่

- ประเพณีกว๋ ยสลาก เป็นประเพณขี องคนเหนือ

- ประเพณสี บื ชะตาหลวง เปน็ ประเพณขี องคนเหนือ

- ประเพณบี ญุ บ้ังไฟ เป็นประเพณีของคนภาคอสี าน

- ประเพณีกนิ ขา้ วจข่ี ้าวหลาม เปน็ ประเพณขี อง ชาวเหนอื

- ประเพณีเทศกาลออกพรรษา

- ประเพณสี งกรานต์ และผ้สู ูงอายุ

3) ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ภาษาถ่ิน

ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ในพน้ื ทตี่ ำบลตลิง่ ชนั เช่น การละเล่นสะล้อซอซงึ การทอเสือ่ สานกระต๊ิบข้าว
การสานตะกร้าด้วยเส้นพลาสติก การทำไม้กวาดดอกหญ้า การทอผ้า การหมักผ้าจากโคลน การจัดทำ
ผลิตภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ เป็นต้น

ภาษาถ่ิน เช่น ภาษาสโุ ขทัย ภาษาพ้นื เมอื ง ภาษาอสี าน ภาษากลาง

35

4) OTOP สนิ ค้าพื้นเมอื งและของท่รี ะลึก

ตำบลตล่งิ ชันมีทรพั ยากรทอ่ี ดุ มสมบูรณส์ นิ ค้าพ้นื เมืองในตำบลตลงิ่ ชันขึ้นอยชู่ ว่ งฤดูกาล แตส่ ินค้า
ท่ีข้นึ ชอ่ื คือ เหด็ โคน ผกั หวาน ไขม่ ดแดง หน่อไม้ เป็นต้น

ในส่วนของที่ระลึก/สินค้า OTOP ของตำบลตลิ่งชัน เช่น กระติ๊บข้าว ไม้กวาดดอกหญ้า เสื่อ ถุง
ยา่ ม ผ้าหมักโคลน ผ้าพนั คอ (ผ้าพน้ื เมอื ง) ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ไผ่ เป็นต้น

2.8 ทรพั ยากรธรรมชาติ

1) น้ำ (1)แหล่งนำ้ ทส่ี รา้ งข้ึนเพอื่ การอปุ โภคและสาธารณปู โภค
ผา้ ขาว ม.1, - ฝาย 30 แห่ง
- บอ่ นำ้ ตื้น 66 แหง่
- บอ่ โยก 15 แหง่
- อ่างเกบ็ นำ้ 4 แหง่ (อา่ งเก็บน้ำหว้ ยแม่กองคา่ ย ม.1 และหมู่ 10,อ่างเก็บน้ำตา

- อ่างเก็บน้ำแมร่ ำพัน ม.2 ,อ่างเก็บนำ้ กวิ่ หญ้าแทน ม.9)
- บอ่ บาดาล 22 แหง่ (หมทู่ ่ี 1 - 10)

36

(2) แหลง่ นำ้ เพื่อการอปุ โภค-บรโิ ภค และการเกษตร

- แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ

ประเภท จำนวน ชื่อแหล่งน้ำ ที่ตง้ั เส้นทางไหลผ่าน

(แห่ง) หมู่ 1, 10, 7
หมู่ 1
ลำน้ำ ลำหว้ ย ลำคลอง 26 1. คลองแม่กองค่าย หมู่ 1 หมู่ 2
2. คลองตาผา้ ขาว หมู่ 1 หมู่ 2, 10, 1, 7, 8, 5, 3
3. คลองวงั สัก หมู่ 2 หมู่ 3
4. คลองแมล่ ำพัน หมู่ 2 หมู่ 3, 9, 4
5. คลองลานเถ้าอนุ่ หมู่ 3 หมู่ 3
6. คลองกระถิน หมู่ 3 หมู่ 4
7. คลองหลงลาน หมู่ 3 หมู่ 4
8. คลองเขาระเนยี ม หมู่ 4 หมู่ 5
9. คลองเสมาน้อย หมู่ 4 หมู่ 5, 8
10. คลองพฤกษา หมู่ 5 หมู่ 5, 3
11. คลองไผง่ าม หมู่ 5 หมู่ 5
12. คลองห้วยสา หมู่ 5 หมู่ 6
13. คลองในชัด หมู่ 5 หมู่ 7,10, 8
14. คลองอ่าง หมู่ 6 หมู่ 7
15. คลองมะคำไก่ หมู่ 7 หมู่ 9
16. คลองหว้ ยนำ้ ขาว หมู่ 7 หมู่ 1
17. คลองลาน หมู่ 9 หมู่ 1
18. หว้ ยแฮ่ หมู่ 1 หมู่ 1
19. หว้ ยโป่งหา่ ง หมู่ 1 หมู่ 1
20. หว้ ยมว่ ง หมู่ 1 หมู่ 1
21. หว้ ยหา้ หมู่ 1 หมู่ 2
22. ห้วยบง หมู่ 1 หมู่ 2
23. หว้ ยวังนำ้ ขาว หมู่ 2 หมู่ 7
24. ห้วยกิว่ ปลารา้ หมู่ 2 หมู่ 5
25. ห้วยหนองทอง หมู่ 7
26. หว้ ยลาน หมู่ 5

37

-แหลง่ น้ำท่ีใชป้ ระโยชน์ในการเกษตร

ลำดับท่ี ประเภทแหล่งนำ้ จำนวน จำนวนครวั เรอื นท่ไี ด้รบั
(แหง่ ) ประโยชน์
1 คลองชลประทาน
2 คลองสง่ น้ำ 1 150
3 บอ่ บาดาล บ่อตอก บอ่ เจาะ (ท่ใี ช้การได้) 10 500
4 บอ่ นำ้ ต้นื (ท่ีใช้การได)้ 22 300
5 สระน้ำ (ขนาด 100 ตารางวาข้นึ ไป) 66 200
6 แม่นำ้ ลำคลอง 20 500
7 ฝาย พนังกั้นน้ำ 10 2,661
8 อา่ งเก็บน้ำ 30 500
9 เหมอื ง 4 2,661
10 ลำห้วย ลำธาร 2 682
11 หนอง บึง 4 1,205
12 รางนำ้ ประปาภูเขา --
13 รอน้ำฝนเพยี งอยา่ งเดยี วในการทำเกษตร --
--

ข้อมูล : จากกองช่าง เทศบาลตำบลตลิ่งชัน ณ เดือน มกราคม 2564

2) ปา่ ไม้
ทรพั ยากรปา่ ไม้ พื้นทตี่ ำบลตล่งิ ชนั สว่ นใหญ่เป็นพืน้ ท่ีป่าสงวนแห่งชาตแิ ม่มอก – แมล่ ำพัน ผนื

ป่าสว่ นใหญ่มคี วามอดุ มสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชวี ภาพ

3) ภูเขา
ภเู ขาทลี่ อ้ มรอบพ้นื ทีต่ ำบลตล่งิ ชนั ส่วนใหญ่เปน็ ภเู ขาเต้ยี ทไี่ ม่สงู ชันมาก

4) ทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ ำคัญขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

พ้นื ทตี่ ำบลตล่ิงชันมีมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีสำคัญในการดำรงชีพ และเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่าในตำบล คือ
ทรัพยากรป่าไม้ที่สมบูรณ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้มีผลผลิตที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ เช่น ผักหวาน เห็น
โคน เห็นชนิดต่างๆ ที่สามารถสร้างรายได้ และเลี้ยงชีพของคนในตำบล รวมถึงมีทรัพยากรน้ำทางธรรมชาติ เช่น
ห้วย หนอง คลองบึง และทรัพยากรน้ำท่ีสร้างขึ้น คอื อา่ งเก็บน้ำ ซงึ่ ในพนื้ ที่ตำบลตล่ิงชันน้ันมีอ่างเก็บน้ำ จำนวน
4 แห่ง ได้แก่ อา่ งเกบ็ น้ำแม่รำพัน อ่างเกบ็ น้ำ กวิ่ หนา้ แทน อ่างเกบ็ น้ำห้วยแม่กองค่าย และอา่ งเก็บน้ำตาผ้าขาว
ซึง่ เปรยี บเสมอื นสายน้ำท่ีหล่อเลย้ี งชีวติ ของประชาชนตำบลตล่ิงชัน

38

1.2 ประวตั ิศาสตร์ ความเป็นมาของชมุ ชนบา้ นวงั หาด

บ้านวังหาด เมื่อประมาณ 100 ปีมาแล้ว ได้มีการอพยพของชาวบ้านมาจากบ้านสันป่าหนาด
ตำบลนาโปร่ง อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง โดยใช้ล้อเกวียน และวัวต่าง (คำ นิยาม “วัวต่าง…คือวัวที่มีการ
บรรทุกสัมภาระเช่นสินค้าของกิน ฯลฯ โดยมีระฆังผูกไว้บนหลังวัวแล้วให้นำขบวนเป็นคาราวาน”) เป็น
พาหนะในการเดินทาง เพื่อแสวงหาแหล่งทำมาหากินแห่งใหม่ เนื่องจากที่บ้านสันป่าหนาด บ้านนาโปร่งเกดิ
ความแห้งแล้งอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหลายปี ติดต่อกัน ดังนั้นจึงมีความจำ เป็นที่จะต้องอพยพหาที่ทำ
กินแห่งใหม่ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์กว่าโดยมาพบที่ห้วยแม่กองค่าย ซึ่งเป็นแหล่งที่มีความอุดมสมบูรณ์มากกวา่
จงึ ตงั้ เป็นหมบู่ ้านวังกวาว หา่ งจากหมู่บา้ นวังหาด ในปจั จุบนั ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 10 กิโลเมตร ติด
กับลำห้วยแม่กองค่ายในปัจจุบัน ได้ทำมาหากินโดยการทำการเกษตร ได้แก่ การปลูกยาสูบ (ยาตั้ง) ทำไร่
ทำนา ทำสวน อยู่ประมาณ 20 กวา่ ปี โดยมีพ่อแกว้ ปูทิ เปน็ ผู้ใหญ่บา้ นคนแรก หมู่บ้านวังกวาวมีวิถีชีวิต
และความเป็นอยู่ทีม่ ีปัญหา เนื่องจากขาดแคลนแหล่งนำ้ เพื่อการเกษตรมีน้ำไม่เพียงพอ โดยสาเหตุเกิดจากท่ี
ราบบริเวณลำหว้ ยแม่กองคา่ ยสว่ นใหญจ่ ะเปน็ ดนิ ทรายเก็บน้ำไม่อยู่วนั หน่ึงพ่อแกว้ ปทู ิ และพ่อจันทร์ วฒุ ิชมภู
ก็ได้พากันออกมาล่าสัตว์ป่าทางทิศตะวันออกของหมู่บ้านวังกวาว ก็ได้พบแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ มีฝูงปลา
หลากหลาย สัตว์ป่านานาชนิด บริเวณลำห้วยอีกสายหนึ่ง ซึ่งเรียกว่าลำห้วยนี้ว่าแม่ลำพัน (ในปัจจุบัน)
พ่อแก้ว ปูทิ และพ่อจันทร์ วุฒิชมภู ต่างก็เพลิดเพลินกับความอุดมสมบูรณ์ของลำน้ำแม่ลำพันแห่งนี้อยู่
หลายวันเพราะสนุกอยู่กับการจับปลามาย่าง เพ่ือจะนำปลาย่างไปฝากญาตพิ ่ีน้องท่ีอยู่บา้ นวงั กวาว ทำให้ญาติ
พนี่ ้อง และคนในหมู่บา้ นเป็นห่วงจึงออกตามหาจนมาพบที่บริเวณลำหว้ ย ซึ่งมีตน้ ไมใ้ หญ่ขึ้นปกคลุม ต้นไม้ที่
ปกคลุมชาวบ้านเรียกว่า “ต้นมะหาด” หลังจากนั้นได้พักค้างคืนที่นี่เป็นเวลา 1 คืน พร้อมทั้งปรึกษาหารือ
ว่าเม่ือกลับไปบ้าน วังกวาวแล้ว พวกเราจะอพยพยา้ ยมาอยู่ที่นกี่ นั

เมื่อกลับถึงบ้านวังกวาวพ่อแก้ว ปูทิ และพ่อจันทร์ วุฒิชมภู ได้นำปลาย่างไปแจกจ่าย พี่น้องท่ี
บ้านวังกวาว พร้อมเล่าเรื่องราวที่ได้พบพื้นที่ทำกินอุดมสมบูรณ์มีสายน้ำไหลตลอดทั้งปี จากนั้นชาวบ้านวัง
กวาวก็ได้อพยพแตกแยกออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกอพยพมายังบริเวณลำห้วยที่ปกคลุมไปด้วยต้นมะหาด
เรียกว่าบ้านวังหาด กลุ่มที่สองอพยพมายังทิศใต้แต่ก็ยังยึดสายน้ำห้วยเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า “ห้วยแม่ลำพัน”
ต้ังเป็นหมบู่ ้านตลิ่งชนั นับตง้ั แต่นน้ั มาหมบู่ า้ นวงั กวาวก็เป็นหมู่บ้านรา้ งจนถึงปัจจุบนั (คำนิยาม “บ้านวังหาด”
ที่มา “วัง” หมายถึง ห้วยน้ำลึก และมีน้ำไหลตลอดปี “หาด” มาจากคำ ว่า ต้นมะหาด เป็นไม้ยืนต้นท่ี
เกิดข้ึนมากมายบริเวณใกล้ลำห้วยที่ตั้งหมู่บ้านจึงเอาคำทั้งสองคำมารวมกันเป็นหมู่บ้านวังหาด เรียกว่า
บา้ นตน้ มะหาด ทา้ ยสดุ กรอ่ นเหลอื เปน็ “บ้านวังหาด”) ต้งั แตน่ น้ั มาจนถึงปัจจบุ ัน

บา้ นวังหาดเปน็ อีกชุมชนหน่งึ ท่ีมพี ัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ทยี่ าวนาน มีการพบร่องรอยว่าเคยมี
มนุษย์อาศัยอยตู่ ้ังแตย่ ุคก่อนประวตั ศิ าสตร์ การศกึ ษาพัฒนาการทางประวตั ิศาสตรว์ ัฒนธรรมและโบราณคดี
ทมี่ ีคุณคา่ ของบา้ นวงั หาด คร้ังนีจ้ ึงมองบรบิ ทตา่ ง ๆทางสงั คมทเี่ กดิ ข้นึ ในแตล่ ะชว่ งเวลาเพือ่ ให้สามารถมองเห็น
ความเคล่ือนไหวของคนหรือมวลชนและสงั คมท่ตี ่อเนอื่ งต้ังแตอ่ ดตี จนถึงปจั จุบัน

39

3. พืน้ ทีท่ ั้งหมด 46,517.1 ไร่ 71.4 ตารางกิโลเมตร พกิ ดั GPS คา่ X: 47 Q 0541148
ค่า Y: UTM 1900780

4. อาณาเขต
บา้ นวงั หาด หมู่ท่ี 2 ตำบลตลงิ่ ชัน อำเภอบา้ นด่านลานหอย จังหวดั สโุ ขทัย หา่ งจากอำเภอบ้าน

ดา่ นลานหอยไปทางทิศตะวันตกเฉยี งเหนือ ประมาณ 32 กโิ ลเมตร ห่างจากจงั หวดั สุโขทัยไปทางทิศเหนือ
ประมาณ 62 กิโลเมตร และมอี าณาเขตติดตอ่ ดังน้ี

ทศิ เหนือ ตดิ ต่อ อำเภอเถิน จังหวดั ลำปาง
ทศิ ใต้ ติดต่อ หมบู่ ้านวังไทรย้อย หมู่ 10 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบ้านดา่ นลานหอย
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อ อำเภอทุ่งเสล่ียม จงั หวัดสุโขทยั
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อ อำเภอเมือง จังหวดั ตาก
5. ลกั ษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นท่ีทวั่ ไปเป็นพ้ืนทีร่ าบสงู มีที่ราบเพียงเล็กน้อย มภี ูเขาล้อมรอบคือเทอื กเขาแม่เรไร และ
เทือกเขาดอยขัดห้างและพ้ืนที่เขตปา่ สงวนแห่งชาติแม่มอก - แมล่ ำพันซึง่ เป็นแหลง่ กำเนิดของลำหว้ ย และลำ
คลองที่ สำคัญ คือคลองแมล่ ำพัน ปกติจะมนี ำ้ ไหลเฉพาะฤดูฝนและจะแห้งขอดเปน็ ตอน ๆ ในฤดแู ลง้ ลำคลอง
มลี าดชนั ประมาณ10 องศา ลกั ษณะรอ่ งน้ำเป็นรูปตัววี สภาพดนิ เป็นดนิ รว่ นปนทราย หนิ กรวด ลักษณะของ
น้ำ เปน็ น้ำจดื ใชใ้ นการประกอบการเกษตรกรรมและเลยี้ งสตั ว์ สภาพพืน้ ที่ปา่ เปน็ ป่าเต็งรงั หรือป่าผลดั ใบ
และปา่ เบญจพรรณ มีไม้สกั ทอง ไมป้ ระดู่ ไม้มะคา่ ที่สำคญั ทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
6. ข้อมูลพื้นฐานของหมบู่ ้านตาม จปฐ.และกชช.2ค.
จำนวนประชากร รวมทง้ั ส้นิ 900 คน แยกเปน็ ชาย 463 คน หญงิ 437 คน

ผ้สู งู อายุ (อายุ 60 ปบี รบิ รู ณข์ นึ้ ไป) รวมทงั้ ส้ิน 116 คน แยกเป็นชาย 51 คน หญิง 65 คน
คนพิการ รวมทง้ั สิน้ 21 คน แยกเปน็ ชาย 14 คน หญิง 7 คน

จำนวนครวั เรอื น 269 ครัวเรือน

การประกอบอาชพี
 เกษตรกรรม (ทำไร/่ ทำนา/ทำสวน/เลย้ี งสตั ว)์ 300 คน
 ประมง 15 คน
 คา้ ขาย 10 คน
 ทางานประจำเอกชน/บริษัท/โรงงาน 50 คน
 อนื่ ๆ .....190...... คน
วา่ งงาน .............30.................. คน (ไมร่ วมเด็กนกั เรียน)

หมบู่ า้ น มรี ายได้ 100,000 บาท/ปี รายจ่าย 60,000 บาท/ปี
มหี นีส้ ิน - บาท

40

จำนวนกล่มุ กจิ กรรม/อาชพี มจี ำนวน 6 กลุ่ม ดังน้ี

1) กลมุ่ เลีย้ งโค

2) ชมรมการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนวังหาด

3) กลมุ่ ทอผา้ ฝา้ ยพน้ื ถ่ิน

4) กลุม่ เศรษฐกิจพอเพยี ง เกษตรอินทรีย์ ผักปลอดสารเคมี

5) กลมุ่ ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่

6) กลมุ่ ผา้ ย้อมดินถ่ินก่อนประวัตศิ าสตรบ์ า้ นวงั หาด

กองทุนในหมบู่ า้ น มีจำนวน 5 กองทนุ ดงั นี้

9.1) ชอ่ื กองทุน กขคจ มีงบประมาณ 300,000 บาท
บาท
9.2) ช่ือกองทุน อพป มงี บประมาณ 110,000 บาท
บาท
9.3) ชือ่ กองทนุ กองทนุ หมบู่ ้าน (เงนิ ล้าน) มีงบประมาณ 2,500,000 บาท

9.4) ชือ่ กองทนุ เงินประชารัฐ มีงบประมาณ 1,000,000

9.5) ชอ่ื กองทนุ ออมทรพั ย์ มงี บประมาณ 10,000

ภมู ปิ ัญญาของหมู่บ้าน

- การทอผ้าฝ้าย

- การจักสานไม้ไผ่

- ประวตั ิศาสตร์ท้องถนิ่

- การเขยี นใบลาน

- การอ่าน เขียน ภาษาล้านนา

- ประเพณี วฒั นธรรม

สถานทที่ อ่ งเที่ยว

- อ่างเกบ็ นำ้ แม่ลำพนั

- อ่างเก็บน้ำแม่กองคา่ ย

- แหล่งโบราณคดี

- พิพิธภณั ฑ์โบราณคดบี า้ นวงั หาด

- การทอผา้ พืน้ เมือง

ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี

- กฐิน ผา้ ปา่

- ทำบุญกลางบ้าน

- การทำขวญั ข้าว

- การบวชพระ การแตง่ งาน

- กว๋ ยสลาก การตอ่ ชะตาหลวง

41

สว่ นท่ี 3
ทศิ ทางการดำเนนิ งาน

3.1. การวเิ คราะห์ สภาพแวดลอ้ มภายใน
1.1 จดุ แข็งของ กศน.ตำบล
1. มีสถานท่พี บกลุ่มและและใหบ้ ริการจัดการศึกษาเหมาะสมมีท่ตี ง้ั อาคารเปน็ เอกเทศอยใู่ นพืน้ ที่
ชมุ ชน
2. มีคณะกรรมการ กศน.ตำบล และภาคเี ครือขา่ ยที่เข้มแขง็ ใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การ
ประสานงานการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาแกป่ ระชาชนในพืน้ ท่อี ย่างตอ่ เน่อื ง
3. เปน็ หนว่ ยงานการศกึ ษาท่ีไดร้ ับความเช่อื ถือจากองค์กรตา่ งๆในชุมชน
4. มีอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงสำหรับใหบ้ ริการประชาชน
5. มคี รู กศน.ตำบล อยปู่ ระจำและปฏบิ ตั งิ านอย่างตอ่ เนอ่ื ง
1.2 จดุ ออ่ นของ กศน.ตำบล
1. การจดั หาหนังสือล่าชา้ และส่ือการจดั การเรียนรู้ไมเ่ พียงพอต่อการจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
2. ครูมีภาระงานมากเกินไปขาดโอกาสในการพัฒนาตนเอง
3. ครูผูจ้ ัดการเรยี นรูม้ ีไมเ่ พยี งพอกับจำนวนนักศึกษาหลายระดบั หลากหลายวชิ า
4. นักศกึ ษามอี าชพี เกษตรกรรมต้องทางานแข่งกบั ธรรมชาติจึงทำให้มีเวลามาพบกลุ่มน้อย
5. นกั ศกึ ษามอี าชีพรับจา้ งตอ้ งหางานทำต่างจงั หวัดไม่สามารถมาพบกลุ่มได้

3.2. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก
2.1 โอกาส
1. มีภาคเี ครอื ขา่ ยและหนว่ ยงานภาครัฐที่ให้ความรว่ มมอื สนบั สนุนการบรกิ ารประชาชนในพน้ื ที่
จัดกจิ กรรมการศึกษา
2. ไดง้ บประมาณสนบั สนุนการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ ารตามนโยบายประจำปีจาก
หน่วยงานตน้ สังกดั และภาคเี ครอื ข่ายในการจัดการศึกษาแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
3. มโี ครงสร้างพนื้ ฐานในพน้ื ที่หมู่บ้านตำบลและการคมนาคมสะดวกสบายต่อการเขา้ ถงึ และ
ใหบ้ ริการการศกึ ษาแก่กลมุ่ เป้าหมาย
4. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยให้ทุนในการทำวิจัยและพัฒนาแหล่งโบราณคดีบ้าน
วังหาด อย่างต่อเนือ่ ง
5. มีหน่วยงานภาครฐั และเอกชนสนบั สนนุ พัฒนาแหล่งโบราณคดีบา้ นวงั หาดใหเ้ ป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวโดยชุมชน
6. ประชาชนในพื้นท่แี ละนักศกึ ษาให้ความร่วมมอื ในการจัดกจิ กรรมตา่ งๆเปน็ อย่างดี

42


Click to View FlipBook Version