The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภัทราวดี-1.64-แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการเขียนภาพที่เกิดขึ้นบนกระจกเงาเว้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padtarawadee_401, 2021-09-19 00:15:33

ภัทราวดี-1.64-แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการเขียนภาพที่เกิดขึ้นบนกระจกเงาเว้า

ภัทราวดี-1.64-แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการเขียนภาพที่เกิดขึ้นบนกระจกเงาเว้า

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1
รวม 13 คาบ
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 คล่นื และแสง 2 เวลา 2 คาบ
ผู้สอน นางสาวภัทราวดี สาลี
เรอ่ื ง ภาพท่เี กิดจากกระจกเงาเว้า รหสั วชิ า ว23101

สอนวันที่ ……………………………………………

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งานปฏิสมั พันธร์ ะหว่าง

สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ท่เี กี่ยวข้องกับเสยี ง แสง และคล่นื
แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทงั้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ช้วี ัด
- ว 2.3 ม.3/14 เขยี นแผนภาพการเคลอื่ นท่ีของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา

2. ผลการเรยี นรู้
อธบิ ายและเขยี นแผนภาพการเคล่อื นท่ีของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา

3. สาระการเรียนรู้
เมื่อฉายแสงขนานให้ตกระทบแผ่นสะท้อนแสงผิวโค้งเว้า แสงสะท้อนจะไปรวมกันท่ีจุดจุดหนึ่ง ในขณะ

ที่เม่ือฉายแสงขนานให้ตกกระทบแผ่นสะท้อนแสงผิวโค้งนูน แสงสะท้อนจะกระจายออก แต่เม่ือต่อแนวแสง
สะท้อนออกไปด้านหลังของแผ่นสะท้อนแสงผิวโค้งนนู แนวแสงที่ตอ่ ออกไปจะไปรวมกันท่ีจุดจดุ หนึ่ง ดังนั้นแผ่น
สะท้อนแสงผิวโค้งเว้า เช่น กระจกเงาเว้า ช้อนโลหะเงาด้านเว้า มีสมบัติในการรวมแสง ส่วนแผ่นสะท้อนแสง
ผวิ โค้งนูน เช่น กระจกเงานูน ช้อนโลหะเงาดา้ นนูน โลหะทรงกลม มีสมบตั ใิ นการกระจายแสง

กระจกเงาโค้งคือกระจกเงาท่ีผิวสะท้อนมีลักษณะโค้งเป็นส่วนหนึ่งของผิวโค้งทรงกลม กระจกเงาที่ใช้
ผิวโค้งเว้า เป็นผิวสะท้อนแสง เรียกว่า กระจกเงาเว้า (concave mirror) ส่วนกระจกเงาที่ใช้ผิวโค้งนูนเป็น
ผวิ สะท้อนแสงเรยี กว่า กระจกเงานูน (convex mirror)

เมื่อพิจารณาภาพผิวโค้งของทรงกลมมีจุดศูนย์ลางของทรงกลมที่ตาแหน่ง C ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลาง
ความโคง้ center of curvature) ของกระจกเงาเว้าและกระจกเงานูน และมีจดุ ท่ีอยู่บริเวณกึ่งกลางบนผวิ โค้ง
ที่ตาแหน่ง V เรียกว่าขัว้ กระจกหรอื จดุ ยอด (vertex) เสน้ ตรงที่ลากผ่านจุด C และจุด V เป็นแกนมุขสาคญั โดย
มีระยะจากจุด V ถึงจุด C เป็นรัศมีความโคง้ ของกระจก (radius) แทนด้วยสัญลกั ษณ์ R

เมื่อแสงตกระทบที่จุดใด ๆ บกระจกเงาโค้งจะเกิดกาสะท้อนซึ่งเป็นไปตามกฎการสะท้อนโดยเส้น
แนวฉากจะตอ้ งผา่ นจุด C เสมอ ดงั ภาพ ถ้าลาแสงขนานกับแกนมุขสาคัญตกกระทบกระจกเงาเว้า มุมตกกระทบ
เท่ากบั มมุ สะทอ้ น ทาใหแ้ สงสะท้อนไปรวมกันท่ีจุดจดุ หน่ึง เรยี กว่า จุดโฟกัส (focal point)

แทนด้วยสัญลักษณ์ F จากการสังเกตพบว่า จุด F จะอยู่กึ่งกลางระหว่างจุด C กับจุด V เสมอ และ
ถ้าลาแสงขนานตกกระทบกระจกเงานูน แสงสะท้อนจะกระจายออก แต่ถ้าลากเส้นประต่อไปยังด้านหลังของ
กระจกจะพบว่าไปตัดกันที่จุดจุดหน่ึง เรียกว่า จุดโฟกัสเสมือน (virtual focal point) ดังภาพระยะจากจุด V
ถงึ จุด F เป็น ความยาวโฟกัสของกระจก แทนดว้ ยสัญลักษณ์ f

ก. กระจกเงาเว้า ข. กระจกเงานูน

ภาพ การสะทอ้ นของรังสีของแสงท่ีตกกระทบกระจกเงาเวา้ และกระจกเงานนู

เมื่อวางวัตถุไวห้ น้ากระจกเงาเว้าและกระจกเงานูน ภาพของวัตถุจะเปล่ียนไปข้นึ อยู่กบั ตาแหน่งของวัตถู
โดยภาพของวัตถุท่ีปรากฏจากกระจกงาเว้ามีทั้งภาพหัวต้ังและหัวกลับ ขนาดใหญ่กว่า เท่ากับ หรือเล็กกว่าวัตถุ
และมีทั้งท่ปี รากฏบนฉากและไม่ปรากฏบนฉากส่วนภาพจากกระจกเงานูนเปน็ ภาพหวั ต้ังในกระจกซ่ึงมีขนาดเล็ก
กว่าวัตถุเสมอและไม่ปรากฏบนฉาก

เราสามารถหาตาแหน่งและลักษณะของภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาเว้าและกระจกเงานูนได้จากการใช้
แผนภาพรังสีของแสง โดยอาศัยแนวคิดที่ว่าแสงเคลื่อนท่ีออกจากวัตถุทุกทิศทาง เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงา
โค้ง จะเกิดการสะท้อนและเมื่อรังสีสะท้อนตัดกันจะเกิดภาพ ถ้ารังสีสะท้อนตัดกันจริงจะเกิด ภาพจริง
(real image) ซง่ึ สามารถปรากฏบนฉากได้ แต่ถา้ ตอ่ แนวรงั สีสะทอ้ นให้ตดั กันจะเกดิ ภาพเสมอื น ซ่งึ ไม่สามารถ
ปรากฏบนฉากได้ ดงั ภาพ

ก. กระจกเงาเวา้ ข. กระจกเงานนู

ภาพ การเขียนแผนภาพรังสขี องแสงเพือ่ ระบตุ าแหน่งของภาพเมอ่ื วางวตั ถไุ ว้หนา้ กระจกเงาโค้ง

เพือ่ ความสะดวกในการระบตุ าแหน่งภาพ เราจึงเขียนแผนภาพรังสขี องแสงท่ีออกจากวัตถเุ พียง 2 เส้น

ซ่ึงอาจจะเปน็ 1) รงั สตี กกระทบขนานกบั แกนมุขสาคัญจะสะท้อนผ่านจดุ โฟกัส 2) รงั สตี กกระทบทผ่ี า่ น

ศูนยก์ ลางควาโค้งจะสะท้อนกลับทางเดมิ หรอื 3) รังสตี กระทบทผ่ี ่านจดุ โฟกสั จะสะท้อนเป็นรงั สขี นานกับ

4. สาระสาคัญ
1) แสงเคลอ่ื นท่ีจากวตั ถุทุกทิศทาง เม่ือตกกระทบกระจกเงาโค้งจะเกดิ การสะท้อน โดยภาพจากกระจก

เงาโค้งเกิดจากรังสีสะท้อนตัดกันหรือต่อแนวรังสีสะท้อนให้ตัดกัน โดยถ้ารังสีสะท้อนตัดกันจริงจะเกิดภาพจริง
แตถ่ า้ ต่อแนวรังสีสะท้อนใหไ้ ปตัดกนั จะเกิดภาพเสมือน

2) ภาพจากกระจกเงาเว้าจะเป็นได้ท้ังภาพจริงและภาพเสมือน โดยจะเกิดภาพจริงเม่ือวัตถุอยู่ห่างจาก
กระจกมากกว่าความยาวโฟกัส และจะเกิดภาพเสมอื นเมอ่ื วัตถุอยหู่ ่างจากกระจกน้อยกว่าความยาวโฟกสั

5. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. นักเรยี นอธบิ ายการเกดิ ภาพจากกระจกเงาเวา้ ได้ (K)
2. นักเรยี นเขียนภาพที่เกิดจากกระจกเงาเว้าได้ได้ (P)
3. นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะการมจี ิตสาธารณะได้ (A)
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
- มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มีจติ สาธารณะ
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
- ความสามารถในการแกป้ ัญหา

6. ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
6.1 (W) Riting เขยี นได้
6.2 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
6.3 ทักษะด้านความรว่ มมอื การทางานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ า

7. ความเขา้ ใจท่คี งทน
ภาพของวัตถจุ ากกระจกเงาเวา้ มีทั้งภาพหัวตงั้ และหัวกลบั ขนาดใหญก่ วา่ เท่ากับ หรอื เล็กกว่าวัตถุ และ

มีท้ังที่ปรากฏบนฉากและไม่ปรากฏบนฉาก ทั้งนี้ขึน้ อยู่กับตาแหน่งของวัตถุ ส่วนภาพจากกระจกเงานูนเป็นภาพ
หัวต้ังในกระจกซึ่งมีขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอและไม่ปรากฏบนฉาก เราสามารถหาตาแหน่งและลักษณะของภาพ
จากการเขียนแผนภาพรังสีของแสง โดยรังสีสะท้อนตัดกันจะเกิดภาพ ถ้ารังสีสะท้อนตัดกันจริงจะเกิดภาพจริง
แต่ถา้ ต่อแนวรังสีสะท้อนให้ตดั กนั จะเกิดภาพเสมือน สามารถประยุกต์ใช้ประโยชนจ์ ากกระจกเงาเวา้ และกระจก
เงานนู ในชีวิตประจาวันไดห้ ลากหลาย

8. กระบวนการเรียนรู้ วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
ช่วั โมงที่ 1-2
ขนั้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) (10 นาที)

1) ครูนาภาพผู้หญิงคนหนึ่งกาลังส่องกระจกมาให้นักเรียนดูผ่านการแชร์หน้าจอจาก Google meet
ดงั ภาพ

2) ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนักเรียน โดยใชป้ ระเด็นคาถามดงั ต่อไปนี้ นกั เรียนเคยสงสัยไมว่ ่าเพราะเหตุ
ใดเวลาท่ีเราส่อกระจกถึงมองเห็นภาพตัวเองบนกระจกถึงมีขนาดภาพ มีความสูงเท่ากับวัตถุจริง ทาไมเมื่อเวลา
เราส่องกระจกท่ีอยู่ตามถนนถึงเห็นภาพที่อยบู่ นกระจกมขี นาดเล็ก (ตอบตามความเข้าใจของนกั เรยี น)

ข้นั ที่ 2 ข้นั สารวจและค้นหา (Exploration) (30 นาที)
1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลท่ีเกิดจากการตั้งคาถามของครูผู้สอน ว่าเพราะเหตุใดเวลาท่ีเราส่อกระจกถึง

มองเห็นภาพตัวเองบนกระจกถึงมีขนาดภาพ มีความสูงเท่ากับวัตถุจริง ทาไมเม่ือเวลาเราส่องกระจกที่อยู่ตาม
ถนนถงึ เห็นภาพท่อี ย่บู นกระจกมีขนาดเลก็ จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

2) ครูสุ่มถามนักเรียนแต่ละคนโดยการสุ่มเลขที่ให้ตรงตามวันที่สอน ว่าจากการศึกษาข้อมูลดังกล่าว
นกั เรียนสามารถอธิบายเหตุผลไดห้ รือไม่ (ตอบตามความเข้าใจของนกั เรียน)

3) หลังจากน้ันครอู ธบิ ายเหตุผลเกี่ยวกบั การเกิดภาพทีเ่ กิดขึ้นบนกระจกเงาโค้ง กระจกเงาโค้งคือกระจก
เงาที่ผิวสะท้อนมีลักษณะโค้งเป็นส่วนหน่ึงของผิวโค้งทรงกลม กระจกเงาท่ีใช้ผิวโค้งเว้า เป็นผิวสะท้อนแสง
เรียกว่า กระจกเงาเวา้ (concave mirror) สว่ นกระจกเงาทใ่ี ชผ้ ิวโค้งนูนเปน็ ผวิ สะท้อนแสงเรียกว่า กระจกเงา
นูน (convex mirror)

เม่ือพิจารณาภาพผิวโค้งของทรงกลมมีจุดศูนย์ลางของทรงกลมท่ีตาแหน่ง C ซ่ึงเป็นจุดศูนย์กลาง
ความโค้ง center of curvature) ของกระจกเงาเว้าและกระจกเงานูน และมีจดุ ท่ีอยู่บริเวณก่ึงกลางบนผิวโค้ง
ท่ีตาแหนง่ V เรียกว่าขวั้ กระจกหรือจดุ ยอด (vertex) เสน้ ตรงทีล่ ากผ่านจดุ C และจุด V เป็นแกนมขุ สาคญั โดย
มรี ะยะจากจดุ V ถึงจุด C เป็นรศั มีความโคง้ ของกระจก (radius) แทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ R

เมื่อแสงตกระทบที่จุดใด ๆ บกระจกเงาโค้งจะเกิดกาสะท้อนซ่ึงเป็นไปตามกฎการสะท้อนโดยเส้น
แนวฉากจะต้องผ่านจุด C เสมอ ดังภาพ ถ้าลาแสงขนานกับแกนมุขสาคัญตกกระทบกระจกเงาเว้า มุมตกกระทบ
เทา่ กบั มุมสะทอ้ น ทาใหแ้ สงสะท้อนไปรวมกันที่จุดจุดหน่งึ เรียกว่า จุดโฟกสั (focal point)

แทนด้วยสัญลักษณ์ F จากการสังเกตพบว่า จุด F จะอยู่กึ่งกลางระหว่างจุด C กับจุด V เสมอ และ
ถ้าลาแสงขนานตกกระทบกระจกเงานูน แสงสะท้อนจะกระจายออก แต่ถ้าลากเส้นประต่อไปยังด้านหลังของ
กระจกจะพบว่าไปตัดกันท่ีจุดจุดหนึ่ง เรียกว่า จุดโฟกัสเสมือน (virtual focal point) ดังภาพระยะจากจุด V
ถึงจุด F เป็น ความยาวโฟกัสของกระจก แทนด้วยสัญลักษณ์ f เราสามารถหาตาแหน่งและลักษณะของภาพท่ี
เกิดจากกระจกเงาเว้าได้จากการใช้แผนภาพรังสีของแสง โดยอาศัยแนวคิดท่ีว่าแสงเคล่ือนที่ออกจากวัตถุทุก
ทศิ ทาง เม่อื แสงตกกระทบกระจกเงาโค้ง จะเกดิ การสะท้อนและเม่ือรงั สีสะทอ้ นตัดกนั จะเกิดภาพ ถ้ารงั สสี ะท้อน
ตดั กนั จรงิ จะเกิด ภาพจริง (real image) ซึง่ สามารถปรากฏบนฉากได้ แตถ่ า้ ตอ่ แนวรงั สีสะทอ้ นให้ตัดกันจะเกิด
ภาพเสมือน ซึ่งไม่สามารถปรากฏบนฉากได้ เพ่ือความสะดวกในการระบุตาแหน่งภาพ เราจึงเขียนแผนภาพรังสี
ของแสงที่ออกจากวัตถุเพียง 2 เส้น ซ่ึงอาจจะเป็น 1) รังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสาคัญจะสะท้อนผ่านจุด
โฟกสั 2) รังสตี กกระทบท่ผี า่ นศนู ยก์ ลางความโค้งจะสะท้อนกลับทางเดิม หรือ 3) รังสตี กระทบทีผ่ ่านจดุ โฟกัสจะ
สะทอ้ นเป็นรงั สขี นานกบั ดงั ภาพ

4) ครูยกตวั อย่างการเขียนภาพท่เี กิดข้นึ บนกระจกเงาราบโดยใชว้ ธิ กี าร 3 ขนั้ ตอนดงั ภาพ

5) ครูใหน้ ักเรยี นทาการบ้านจานวน 2 ข้อ
6) ครใู ห้นกั เรียนสง่ การบ้านใตโ้ ฟสการบา้ นคร้ัง 8 เรอ่ื ง การเขยี นภาพที่เกิดขน้ึ บนกระจกเงาเงา้ ในกลมุ่
Facebook LK วิทยาศาสตร์ 1/3 2564

ขั้นที่ 3 ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) (30 นาที)
1) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ จากการได้ทาการบ้าน ว่าภาพท่ีเกิดขึ้นบนกระจกเงาเว้าจะเกิด

ภาพที่มีขนาดภาพเล็ก ขนาดใหญ่ ขนาดเท่ากันกับวัตถุ ภาพจริง ภาพเสมือน หัวต้ัง หรือหัวกลับจะข้ึนอยู่กับ
ระยะของวัตถุ

ขน้ั ที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (20 นาที)
1) ครูถามคาถามจากท่ีได้ถามไปเมื่อต้นคาบดังนี้ นักเรียนเคยสังเกตกระจกท่ีอยู่บนท้องถนนหรือไม่

และกระจกชนดิ น้ันเรียกว่ากระจกไร (กระจกเงาเวา้ )
2) ครูเฉลยวา่ บรเิ วณถนนจะกระจกเงาเว้า

ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (10 นาที)
1) นักเรยี นตรวจสอบการทาการบ้านของตนเอง
2) ครูตรวจสอบการความถกู ตอ้ งของการบ้านเรือ่ ง การเขยี นภาพท่เี กิดขนึ้ บนกระจกเงาเง้า

9. สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ หนงั สือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษา
เร่อื ง การเกดิ ภาพทีเ่ กิดขึน้ บนกระจกเงาโคง้
9.1 แหลง่ เรียนรู้: ปที ่ี 3 เลม่ 1 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
9.2 Power point: (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธกิ าร

10. การวดั ผลประเมินผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์ วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ดา้ นความรู้ (K): อธิบายการเกดิ ภาพ - ประเมินการตอบ - แบบประเมนิ การตอบ - ได้ไมน่ อ้ ยกว่า 2คะแนน
จากกระจกเงาเวา้ ได้
คาถาม คาถาม ระดับคณุ ภาพดี ถือว่าผา่ น
2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P):
เขยี นภาพท่ีเกิดจาก การประเมินด้านความรู้
กระจกเงาเว้าได้
- ตรวจการบ้าน - แบบฝึกหดั เรอ่ื ง การ - ไดไ้ มน่ ้อยกวา่ 2คะแนน
3. ด้านทกั ษะกระบวนการ (A):
คุณลกั ษณะการมจี ิตสาธารณะ เขยี นภาพทเ่ี กดิ ข้นึ บน ระดบั คุณภาพดี ถอื ว่าผา่ น

4. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน กระจกเงาเวา้ การประเมนิ ดา้ นความรู้

5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - สังเกตพฤตกิ รรมการ - เกณฑก์ ารประเมนิ - ไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 2คะแนน

เรยี นรรู้ ว่ มกับผอู้ น่ื คุณลักษณะอันพึง ระดับคณุ ภาพดถี ือวา่ ผา่ น

ประสงค์ดา้ นการ การประเมินดา้ นเจตคติ

มีจิตสาธารณะ

ประเมนิ สมรรถนะ แบบประเมนิ สมรรถนะ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดขี ้นึ ไป

สาคญั ของผเู้ รียน สาคัญของผ้เู รียน

ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดขี ึน้ ไป

อนั พึงประสงค์ อันพึงประสงค์

บันทกึ หลังการสอน

1. เวลาในการสอน  น้อยกวา่ แผน  มากกวา่ แผน
 ตรงตามแผน

2. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละกจิ กรรม
2.1ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K)  ตรงตามแผน  ไมต่ รงตามแผน
เพราะ ....-...........................................................................................................................................

2.2ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)  ตรงตามแผน  ไมต่ รงตามแผน
เพราะ ....-...........................................................................................................................................

2.3ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม (A)  ตรงตามแผน  ไมต่ รงตามแผน

เพราะ ....-...........................................................................................................................................
2.4 ดา้ นสมรรถนะสาคัญ  ตรงตามแผน  ไมต่ รงตามแผน

เพราะ ....-...........................................................................................................................................

บนั ทกึ เพมิ่ เติม ............................................................................................................................................
3. การใชส้ อ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

 ตรงตามแผน

 ไมต่ รงตามแผน เพราะ ............................................................................................................................
บนั ทกึ เพิม่ เติม ............................................................................................................................. ...............
4. การประเมนิ ผล

 ตรงตามแผน  ไมต่ รงตามแผน
5. ผลการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. ...................................................

6. ปัญหา / อปุ สรรค
................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................................

............................................................................................................................. ...................................................
7. วิธีแกไ้ ข
............................................................................................................................. ...................................................

................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................................
8. ผลการแกไ้ ข

............................................................................................................................. ...................................................

............................................................................................................................. ...................................................

ลงช่ือ.............................................ผ้สู อน
(นางสาวภทั ราวดี สาลี)
ครูผชู้ ่วย

บนั ทกึ แสดงความคดิ เห็น
1.ความคดิ เหน็ ของรองผอู้ านวยโรงเรยี น
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. .............................................
................................................. ............................................................................................................ ................

ลงชือ่ ..................................................
(นางสาวพรอัมพา ต่อไพบลู ย์)

รองผู้อานวยการโรงเรยี นแหลมงอบวทิ ยาคม

2. ความคิดเห็นของผู้อานวยโรงเรยี น
............................................................................................................................. ....................................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................

ลงชื่อ ..................................................(ผูต้ รวจ)
(นายมานพ บญุ สมพงษ์)

ผู้อานวยการโรงเรียนแหลมงอบวิทยาคม

เกณฑ์การประเมินผลงานนักเรียน เกณฑก์ ารประเมิน (Rubrics Score)

ประเด็นการประเมิน ค่านา้ หนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
K: การใหค้ ะแนนตอบ คะแนน
คาถามระหว่างเรยี น ตอบคาถามไดต้ รงประเด็น และถกู ต้อง
P: เขียนภาพท่ีเกดิ จาก 3 ตอบคาถามได้ถูกต้องบางส่วน
2 ตอบคาถามได้ไมถ่ ูกต้อง
กระจกเงาเว้าได้ 1 เขยี นรังสขี องแสงเมื่อตกกระทบกับกระจกเงาเวา้ ได้ถูกต้อง เสน้ ของรังสี
3 ตดั กันได้ถกู ต้อง กาหนดจุดตัดได้ และเขยี นภาพทเ่ี กดิ ข้นึ ได้ถกู ต้องทุกข้อ
A: การให้คะแนนพฤตกิ รรม เขยี นรงั สีของแสงเมื่อตกกระทบกบั กระจกเงาเว้าได้ถกู ต้อง เส้นของรังสี
คณุ ลกั ษณะการมจี ติ 2 ตดั กันได้ถูกต้อง กาหนดจุดตัดได้ และเขยี นภาพท่ีเกิดขึน้ ไดถ้ ูกต้อง
สาธารณะ บางสว่ น
1 เขยี นรงั สขี องแสงเม่ือตกกระทบกับกระจกเงาเว้าได้ถกู ต้อง เสน้ ของรังสี
3 ตัดกนั ได้ถกู ต้อง กาหนดจุดตัดได้ และเขียนภาพที่เกิดขึน้ ได้ไม่ถูกต้อง
1) ดูแลรกั ษาอุปกรณท์ างวิทยาศาสตรแ์ ละทรัพย์สนิ ภายในหอ้ งเรียน
2 ของนักเรยี นทุกครัง้ หลังการใชง้ าน
2) มจี ิตอาสาชว่ ยเหลือการทางานกล่มุ รว่ มกับผู้อ่ืน จึงไมเ่ กิดปญั หา
1 ภายในกลุ่ม
1) ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์และทรพั ย์สินภายในห้องเรียน
แต่เกดิ อบุ ตั เิ หตุ ทาให้อุปกรณ์เสยี หาย
2) ไม่มจี ิตอาสาและไมช่ ่วยเหลอื การทางานกลุ่ม ทาให้เกิดปัญหา
ภายในกล่มุ แตส่ ามารถแกป้ ัญหาได้
1) ไม่ดูแลอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์และและทรัพย์สินภายในหอ้ งเรยี น
หลังการใชง้ าน
2) ไม่มจี ติ อาสาและไม่ชว่ ยเหลือการทางานกลุ่ม ทาให้เกิดปญั หา
ภายในกลุ่ม

ระดบั คุณภาพ หมายถงึ ดีมาก
คะแนนรวมเฉลย่ี 3.00 หมายถึง ดี
คะแนนรวมเฉล่ยี 2.00 - 2.99 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวมเฉลยี่ 0.01 - 1.99

แบบบันทกึ การประเมินคณุ ภาพการเรียนรู้ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน (ว23101) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 แสง
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ภาพทเ่ี กิดจากกระจกเงาเว้า

คาชีแ้ จง: ทาเคร่อื งหมาย  ในช่องคา่ น้าคะแนนแตล่ ะด้านตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยประเมนิ ตามเกณฑ์ Rubrics Score

เลข ช่อื -นามสกุล/ ดา้ นความรู้ (K) ด้านกระบวนการ (P) ดา้ นเจตคติ (A) คะแนนรวม
ท่ี รหัสนกั เรยี น ค่านา้ หนักคะแนน คา่ น้าหนกั คะแนน ค่าน้าหนกั คะแนน ระ ัดบ ุคณภาพ
3 2 1 3 2 1 3 21

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

เกณฑ์การพจิ ารณาคณุ ภาพ (โดยนาคะแนนรวมทุกดา้ น K P A แล้วหาคา่ เฉลีย่ )

- คะแนนรวมเฉล่ีย 3.00 หมายถึง ดมี าก
- คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 2.99 หมายถึง ดี
- คะแนนรวมเฉลยี่ 0.01 - 1.99 หมายถึง พอใช้

แบบฝึกหัด เรอ่ื ง การเขียนภาพทีเ่ กดิ ข้ึนบนกระจกเวา้

ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................ชนั้ .................เลขท.่ี ..........กลุ่มท่ี
............
 ใหน้ ักเรียนการเขยี นภาพทเ่ี กิดข้นึ บนกระจกเว้า

ขนาดภาพ …………………………………………
ภาพทีเ่ กดิ ข้ึน ……………………………………….

ขนาดภาพ …………………………………………
ภาพทีเ่ กดิ ขึน้ ……………………………………….

เฉลยแบบฝกึ หัด เรื่อง การเขยี นภาพทีเ่ กิดขึ้นบนกระจกเวา้

ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................ช้นั .................เลขท.ี่ ..........กล่มุ ท่ี
............
 ใหน้ กั เรยี นการเขียนภาพที่เกดิ ข้ึนบนกระจกเวา้

ขนาดภาพ เทา่ กบั วตั ถุ
ภาพที่เกดิ ขนึ้ ภาพจรงิ หวั กลบั

ขนาดภาพ ใหญ่กวา่ วตั ถุ
ภาพท่เี กดิ ขนึ้ ภาพจรงิ หวั กลบั


Click to View FlipBook Version