The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบฝึกทักษะทางภาษาไทย ชุด รู้รักษ์หลักภาษาไทย เล่มที่ ๑ อักษรควบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lamai Fungcholjitt, 2022-04-19 11:38:04

เล่มที่ ๑ อักษรควบ

แบบฝึกทักษะทางภาษาไทย ชุด รู้รักษ์หลักภาษาไทย เล่มที่ ๑ อักษรควบ

Keywords: อักษรควบ,แบบฝึกทักษะทางภาษาไทย,หลักภาษาไทย

แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะทางภาษา
ชุด ร้รู ักษห์ ลักภาษาไทย
เรอ่ื ง

นางละไม ฝั่งชลจิตต์
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ
โรงเรียนวดั พรหมโลก อำเภอพรหมครี ี
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต ๔
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะทางภาษา ชุด รู้รกั ษ์หลกั ภาษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕

เร่ืองที่ ๑ อักษรควบ

นางละไม ฝ่ังชลจติ ต์

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพิเศษ

โรงเรียนวัดพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต ๔
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ



คำนำ

แบบฝึกเสริมทักษะทางภาษา ชุด รู้รักษ์หลักภาษาไทย เรื่องท่ี ๑ อักษรควบ
จัดทำข้ึนเพ่ือเป็นเอกสารเสริมการเรียนรู้ ใช้ควบคู่กับสื่อประสมท่ีเป็นโปรแกรมบทเรียน
คอมพิวเตอร์หรือจะปรับใช้เป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอนได้ตามความเหมาะสม
ภายในเล่มให้รายละเอียดเกี่ยวกับ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบฝึกเสริมทักษะ
จำนวน ๗ ชุด ซ่ึงนักเรียนสามารถใช้แบบฝึกเสริมทักษะเล่มน้ีได้ด้วยตนเองท้ังในและนอก
เวลาเรียน

ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก์ ผู้อำนวยการโรงเรียนและเพื่อนครูที่ให้
แนวคิด ให้ความร่วมมือในการพัฒนา ขอบใจนักเรียนทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชส้ ือ่ ประสม ชดุ ร้รู ักษห์ ลกั ภาษาไทย

หวงั เป็นอย่างย่ิงว่า แบบฝกึ ทักษะทางภาษาเล่มนี้ จะมีประโยชน์ตอ่ นักเรยี นและ
ครูผสู้ อน ในการนำไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนตอ่ ไป

ละไม ฝ่ังชลจิตต์



สารบญั

เรือ่ ง หน้า

คำนำ……………………………………………………………………………………..….……………….. ก
สารบัญ………………………………………………………………………………….……..……….….. ข

คำชี้แจงการใชส้ ำหรบั นักเรียน...................................................................... ๒
จดุ ประสงค์การเรียนร้.ู ................................................................................... ๓
แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน............................................................. ๗
ตอนท่ี ๑ เน้ือหาสาระ.............................................................................................
ตอนที่ ๒ แบบฝกึ เสรมิ ทักษะทางภาษา สว่ นท่ี ๑ ๑๒
แบบฝกึ เสริมทักษะชดุ ที่ ๑ ........................................................................... ๑๓
แบบฝกึ เสริมทกั ษะชดุ ที่ ๒ ........................................................................... ๑๔
แบบฝกึ เสรมิ ทักษะชดุ ท่ี ๓ ........................................................................... ๑๕
แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะชดุ ที่ ๔ ........................................................................... ๑๖
แบบฝกึ เสริมทักษะชดุ ท่ี ๕ ........................................................................... ๑๗
แบบฝึกเสริมทกั ษะชดุ ที่ ๖ ...........................................................................
ตอนที่ ๓ แบบฝกึ เสริมทักษะทางภาษา สว่ นที่ ๒ ๑๙
กิจกรรมที่ ๑ – ๔ ........................................................................................ ๒๐
บรรณานกุ รม............................................................................................................



คำชี้แจงการใช้สำหรับนกั เรยี น

แบบฝึกเสริมทักษะทางภาษาเล่มน้ี ใช้ควบคู่การเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียน
คอมพวิ เตอร์ มคี ำชแี้ จงการใชส้ ำหรบั นกั เรียนดงั นี้

๑. อา่ นเน้อื หาบทเรยี นในแบบฝึกเสรมิ ทักษะทางภาษามาล่วงหน้ากอ่ นเรียนทกุ ครั้ง
๒. เรียนรู้เน้ือหาและทำแบบฝึกเสริมทักษะจากโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้
ครบถว้ นด้วยความตงั้ ใจในช่วั โมงเรยี น
๓. บันทกึ คะแนนที่ได้จากการเรียนดว้ ยโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ ลงในตาราง
บนั ทกึ คะแนน (เอกสารภาระงานในการเรยี นร)ู้ และนำสง่ ครู
๔. ครูพิจารณาพฤติกรรมการเรียน คะแนนท่ีได้จากการเรียนของนักเรียนแล้ว
มอบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรมเพ่ิมเติมในแบบฝึกเสริมทักษะทางภาษา โดยนักเรียนบางคน
อาจจะทำเฉพาะแบบฝึกเสริมทักษะ ส่วนท่ี ๒ ในขณะที่นักเรียนบางคนอาจต้องทำ
ทบทวนแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ ส่วนท่ี ๑ ดว้ ย
๕. นกั เรียนทำแบบฝึกเสริมทกั ษะทางภาษาทไี่ ดร้ บั มอบหมายดว้ ยความตั้งใจ
๖. หมั่นฝึกฝนเรียนรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เพ่ือพัฒนาทักษะทางภาษาให้
ก้าวหนา้ ตอ่ ไป



จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

หลงั จากเรียนจบบทเรียนแลว้ นักเรียนควรมีความรูค้ วามสามารถดังน้ี
๑. บอกลกั ษณะของอักษรควบได้ (K)
๒. จำแนกอักษรควบเป็นอักษรควบแทแ้ ละอกั ษรควบไม่แท้ได้ (P)
๓. อา่ นและเขยี นอักษรควบไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๔. เห็นความสำคญั ของอักษรควบและนำไปใช้ได้ถกู ต้อง (A)



แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เรือ่ งที่ ๑ อกั ษรควบ

คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบมีทัง้ หมด ๑๕ ข้อ
๒. เลือกคำตอบทีถ่ กู ตอ้ งที่สุดเพยี งคำตอบเดียว
แล้วทำเครอื่ งหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

๑. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลักษณะของอกั ษรควบแท้
ก. มพี ยญั ชนะ ๒ ตัว ควบอยู่ในสระเดียวกนั
ข. พยญั ชนะทเี่ ป็นตวั ควบคือ “ร ล ว”
ค. บางคำอ่านออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้า
บางคำก็เปลยี่ นไปเป็นเสยี งพยัญชนะตวั อืน่
ง. อ่านออกเสยี งพยัญชนะที่ควบกันพร้อมกันเสมอ

๒. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะของอักษรควบไมแ่ ท้
ก. มพี ยัญชนะ ๒ ตัว ควบอยู่ในสระเดียวกัน
ข. อา่ นออกเสียงพยัญชนะท่ีควบกันพร้อมกนั เสมอ
ค. คำท่ขี ้ึนตน้ ดว้ ย “ทร” จะออกเสียงเปน็ “ซ”
ง. พยัญชนะท่เี ปน็ ตวั ควบคอื “ร”

๓. คำในขอ้ ใดไมใ่ ช่อกั ษรควบ
ก. วัดปรอท ปรกั หักพงั
ข. ประกาศ คา่ ปรับ
ค. แปรงฟัน ปรงุ แต่ง
ง. ปรองดอง โปรแกรม



๔. คำในข้อใดเป็นอักษรควบแท้ทกุ คำ

ก. กอ่ สรา้ ง ไซร้

ข. จันทรา ทรพั ย์สนิ

ค. ขรุขระ กรดี กราย

ง. กลมเกลียว เสร็จส้นิ

๕. คำในขอ้ ใดเป็นอักษรควบไม่แทท้ ุกคำ

ก. อินทรา พุทรา

ข. นทิ รา ต้นไทร

ค. อินทรี ส่งเสริม

ง. จันทรา ตรงึ ตรา

๖. ขอ้ ใดมอี ักษรควบแทม้ ากทสี่ ุด
ก. เสียงตีกรบั จากพลบั พลาน่าสงสยั
ข. หรือว่าใครพรำ่ เพรยี กเรยี กปลอบขวัญ
ค. จังหวะเพยี งเสียงกลองคล้องชวี นั
ง. พลกิ แพลงพลันเผลอไผลใหพ้ รอ้ มเพรียง

๗. “จริงไซรใ้ จสรอ้ ยเศร้า โศกซมเซาโทรมทรวดทรง

สรา้ งเสริมอินทรียส์ รง สระสนานสำราญกาย”

วรรคใดของบทกลอน มอี ักษรควบไมแ่ ท้เท่ากนั

ก. วรรคท่ี ๑ กับ วรรคที่ ๒

ข. วรรคท่ี ๑ กบั วรรคที่ ๓

ค. วรรคที่ ๒ กับ วรรคท่ี ๓

ง. วรรคท่ี ๒ กับ วรรคท่ี ๔



๘. “สรวลสนั ตส์ ร้างหรรษา ช่นื ชวี าเสรจ็ สมหมาย

ทรพั ย์สินดจุ ดั่งทราย ย่อมสลายถ้าไมอ่ อม”

วรรคใดของบทกลอน ไม่ปรากฏอักษรควบ

ก. วรรคที่ ๑

ข. วรรคที่ ๒

ค. วรรคที่ ๓

ง. วรรคที่ ๔

๙. ขอ้ ใดเขียนคำอ่านไม่ถกู ต้อง
ก. อนิ ทรา อ่านวา่ อนิ – ซา
ข. พทุ รา อ่านวา่ พดุ – ซา
ค. นนทรี อ่านว่า นน – ซี
ง. รบั ทราบ อ่านวา่ รับ – ซาบ

๑๐. อกั ษรควบไม่แท้ในขอ้ ใด อา่ นออกเสยี งตา่ งจากขอ้ อ่ืน
ก. ไซร้
ข. แทรกแซง
ค. กำสรวล
ง. โศกเศร้า

๑๑. ข้อใดอ่านออกเสียง “ทร” แตกตา่ งจากข้ออนื่

ก. นทิ รา จนั ทรา อินทรา

ข. พุทรา อินทรี ทรามวยั

ค. ดินทราย นนทรี ฉะเชงิ เทรา

ง. ทรวดทรง ทรพั ย์สิน ทรดุ โทรม



๑๒. “ในตรอกตอกตะปู ตะแคงดอู ย่าแคลงใจ
ขวางก้นั กลนั้ หายใจ ________ไปผดิ _______งา่ ย”
ควรเตมิ คำใดในช่องว่าง
ก. พลวดพลาด พลาด
ข. พรวดพราด พลาด
ค. พลวดพราด พราด
ง. พรวดพลาด พราด

๑๓. “สระผม สระอา” คำทีข่ ีดเส้นใต้ทัง้ สองคำ เป็นอกั ษรควบหรอื ไม่
เพราะเหตุใด
ก. เป็นอกั ษรควบท้งั สองคำ เพราะเขียนเหมอื นกัน
ข. เป็นอกั ษรควบทงั้ สองคำ เพราะอ่านเหมอื นกนั
ค. คำแรกอ่านออกเสยี ง “ส” ไม่ออกเสียง “ร” เปน็ อักษรควบ
คำหลังอ่านออกเสยี ง ๒ พยางค์ ไม่เปน็ อกั ษรควบ
ง. ข้อ ก และข้อ ข ถูกตอ้ ง

๑๔. วิธีการใดช่วยใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงอกั ษรควบจากข้อความได้ถกู ตอ้ ง
ก. เปิดพจนานุกรมเพอื่ ดคู ำอ่านทถ่ี กู ต้อง
ข. ฝกึ อา่ นคำอกั ษรควบบ่อย ๆ เพือ่ ใหค้ ยุ้ เคย
ค. สงั เกตคำขา้ งเคยี งอกั ษรควบกอ่ น แลว้ จึงอ่านออกเสียง
ง. ถูกต้องทุกข้อ

๑๕. การอ่านออกเสียงอักษรควบไดถ้ ูกต้องเกดิ ผลดตี ่อผฟู้ งั อย่างไร
ก. เข้าใจความหมาย
ข. นำคำไปใช้ได้ถกู ตอ้ ง
ค. เขียนคำได้ถูกต้อง
ง. ถกู ตอ้ งทุกข้อ



ตอนท่ี ๑ เนอื้ หาสาระ

ความสาคัญของอักษรควบ
อักษรควบเป็นลักษณะของคำไทยชนิดหน่ึง กำรออกเสียง
อกั ษรควบใหช้ ัดเจนถกู ตอ้ งเป็นเร่ืองสำคัญ เพรำะถำ้ ออกเสียงไม่ชัดเจน
หรือผิดพลำดไป จะทำใหถ้ ้อยคำขำดควำมไพเรำะ ควำมหมำยของคำ
ไมช่ ดั เจนหรือผิดพลำดไปดว้ ย กำรเรียนรูเ้ ร่อื งอกั ษรควบจะชว่ ยใหน้ กั เรียน
มีควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจ ออกเสียงอักษรควบไดถ้ ูกตอ้ งแม่นยำ จึงเป็นเรื่อง
สำคญั ท่ีนกั เรยี นควรทรำบและตอ้ งฝึกฝน



อักษรควบ

ความหมายของอกั ษรควบ

อกั ษรควบ คือ คำทม่ี ีพยัญชนะ ๒ ตัว ควบหรอื กล้ำอยู่ในสระเดยี วกนั
พยญั ชนะตวั หลงั เป็นตัว ร ล ว เช่น กลา่ ว ขรุขระ ความ พรอ้ ม ปรุง ฯลฯ

- กล่าว : กล เปน็ อักษรควบ
- ขรขุ ระ : ขร เปน็ อักษรควบ
- ความ : คว เป็นอกั ษรควบ
- พรอ้ ม : พร เป็นอกั ษรควบ
- ปรงุ : ปร เปน็ อกั ษรควบ

ประเภทของอักษรควบ

อักษรควบแบ่งเป็น ๒ ประเภท คอื
๑) อกั ษรควบแท้
๒) อกั ษรควบไมแ่ ท้



อกั ษรควบ

อกั ษรควบแท้

อักษรควบแท้ คือ อักษรควบที่เกดิ จากพยญั ชนะ ๒ ตวั ควบหรือกลำ้ อยู่ในสระ
เดียวกนั ได้แก่ พยญั ชนะทค่ี วบหรอื กล้ำกับตวั ร ล ว เม่อื ควบหรอื กลำ้ กันแล้วจะตอ้ ง
ออกเสยี งพรอ้ มกนั เปน็ ตวั สะกด หรอื การนั ตก์ ต็ ้องเป็นด้วยกนั เชน่

๑. ออกเสียงพร้อมกัน ได้แก่ ครอบครวั แกรง่ กล้า ปรับปรุง เปลย่ี นแปลง
พลับพลงึ กวา้ งขวาง เกรยี วกราว ฯลฯ

๒. เปน็ ตวั สะกดดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ บุตร เนตร จติ ร บตั ร สมัคร
สมุทร กอปร ฯลฯ ตวั สะกดเหลา่ น้ี ถ้ามีรปู สระมากำกับ ก็ทำหน้าท่ีเป็นท้ังตวั สะกด
และออกเสยี งด้วยในคราวเดยี วกัน เช่น

๒.๑ บตุ รี อา่ นวา่ บดุ – ตรี
๒.๒ จติ รา อา่ นวา่ จิด – ตรา
๒.๓ จกั รี อา่ นวา่ จกั – กรี
๒.๔ นิทรา อ่านว่า นดิ – ทรา

๓. เปน็ ตวั การนั ต์ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ พกั ตร์ พสั ตร์ ศาสตร์ อินทร์
อรนิ ทร์ ฯลฯ

ตัวการนั ตท์ เ่ี ปน็ อักษรควบแท้ จะใช้ตวั “ตร” และ “ทร” เปน็ พ้นื
และเปน็ คำท่ีมาจากภาษาสันสกฤต

๑๐

อกั ษรควบ

อักษรควบไม่แท้

อกั ษรควบไมแ่ ท้ คอื อกั ษรควบท่เี กดิ จากพยญั ชนะ ๒ ตัว ควบหรือกล้ำ
อยู่ในสระเดยี วกนั ไดแ้ ก่ พยัญชนะท่ีควบกบั ตัว ร และตัว ร นั้นจะอยู่หนา้ หรือหลังก็ได้
แตอ่ อกเสียงเฉพาะพยัญชนะตวั หนา้ หรือตัวหลงั เพียงตัวเดยี ว ตัว ร ไมอ่ อกเสยี ง
หรอื บางตัวกอ็ อกเสียงเปล่ียนไปเปน็ เสียงพยัญชนะตัวอ่นื เช่น

๑) ออกเสียงเพียงตวั เดียว ไดแ้ ก่ตัว จ ซ ศ ส ที่ควบกบั ตวั ร
ตัว ร ไมอ่ อกเสยี ง ไดแ้ ก่ จรงิ ไซร้ ศรัทธา ปราศรัย ศรี เศร้า สรง สรวง สรอ้ ย
สร้าง เสรจ็ เสรมิ แสรง้ ฯลฯ

๒) ออกเสียงแปรไปเปน็ เสยี งตวั อื่น ได้แก่ ตวั ท ทีค่ วบกับตวั ร
ไดแ้ ก่ ทรวด ทรง ทราบ ทราม ทราย ทรุดโทรม อนิ ทรี มัทรี อินทรีย์ เทริด
นนทรี พทุ รา ทรวง ไทร ทรัพย์ แทรก ฉะเชิงเทรา ฯลฯ

๑๑

ตอนท่ี ๒
แบบฝึกเสรมิ ทักษะทางภาษา ส่วนที่ ๒

๑๒

แบบฝึกเสริมทักษะชดุ ที่ ๑

คำสั่ง วงกลมรปู  ถา้ ขอ้ ความท่ใี ห้มากล่าวถกู ตอ้ ง
วงกลมรปู  ถ้าข้อความที่ให้มากลา่ วไมถ่ กู ตอ้ ง

ตวั อยา่ ง   ขอ้ ๐. “คร”ู เปน็ อักษรควบแท้
วธิ ีตอบ   ขอ้ ๐. “คร”ู เปน็ อักษรควบแท้

  ๑. อกั ษรควบมี ๒ ประเภท คือ อักษรควบแท้ และอกั ษรควบไม่แท้
  ๒. พยญั ชนะท่ีเปน็ ตวั ควบ มี ๓ ตวั คอื ร ล ว
  ๓. การอ่านอักษรควบแท้จะอ่านออกเสียงตัวใดตวั หนงึ่
  ๔. อักษรควบไมแ่ ทบ้ างคำ อ่านออกเสียงตวั หน้าเพยี งตวั เดยี ว
  ๕. อักษรควบไมแ่ ท้ ทร จะอา่ นออกเสียงเปน็ เสียง ซ
  ๖. อกั ษรควบไม่แท้ จะมีพยัญชนะควบตวั ท่ี ๒ สามตัวคือ ร ล ว
  ๗. สรา้ ง เศรา้ ไซร้ จรงิ อ่านออกเสยี งพยญั ชนะตัวแรกเพยี งตัวเดียว
  ๘. จนั ทรา นทิ รา อินทรา เป็นคำควบไม่แทท้ กุ คำ
  ๙. ภทั รา พทุ รา อนิ ทรี เป็นคำควบไมแ่ ท้ทกุ คำ
  ๑๐. ผลติ ปรอท ตลาด เป็นคำควบแท้ทกุ คำ

๑๓

แบบฝกึ เสริมทกั ษะชุดที่ ๒

คำสง่ั ขดี เสน้ ใต้อกั ษรควบท่ีต่างไปจากพวก

ตัวอย่าง ข้อ ๐. กราบ คลุม ทรวง เปรี้ยว
วธิ ีตอบ ข้อ ๐. กราบ คลุม ทรวง เปรี้ยว

๑. ทรดุ โทรม ผลบุ โผล่ จนั ทรา ปลายทาง ปรกั ปรำ
ตระเตรียม ฝนพรำ ทรงศลี
๒. ปรบั เปลยี่ น พร่ังพรู สายสร้อย รับทราบ สรงนำ้
ขรุขระ เศรษฐี ไขวค่ วา้
๓. อินทรยี ์ นิทรา สรอ้ ยคอ ค่าปรับ ปริ่มน้ำ
ทรัพยส์ นิ ทรวดทรง ทรุดโทรม
๔. ผลดิ อก แปรรูป เศรา้ อนิ ทรี ตรม
ขลกุ ขลกิ ปลอดภัย กล้ำกลืน
๕. หนั ขวบั กลำ้ กลนื อาศรม ต้นไทร โศกเศร้า
ขรุขระ โศกเศร้า ต้นไทร
๖. อินทรา ฉะเชิงเทรา

๗. ไซร้ จรงิ

๘. พลบั พลา สระนำ้

๙. จนั ทรา สรา่ งไข้

๑๐. พระสรวล จรงิ แท้

๑๔

แบบฝึกเสรมิ ทักษะชุดที่ ๓

คำสั่ง อา่ นเรือ่ งตอ่ ไปน้ี แลว้ เขียนอักษรควบแท้ และอักษรควบไม่แท้
ท่ีปรากฏในเรอ่ื ง อย่างละ ๑๐ คำ (ไม่เขียนคำซำ้ กนั )

ขวัญและกล้าเป็นเพื่อนรักกัน วันนี้ทั้งสองน่ังรถประจำทางไปบ้านคุณปู่ท่ีจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ปู่มีอาชีพทำเคร่ืองถม มีทรัพย์สมบัติไม่มากถึงข้ันเป็นเศรษฐี แต่ท่านก็อยู่
อย่างไม่เดือดร้อน ท่านชอบการร้องเพลงและเป่าขลุ่ย ข้างบ้านปลูกต้นพุทรา ด้านหลัง
บ้านมีต้นไทร ลานบ้านเต็มไปด้วยดินทราย ปู่สร้างศาลาไว้ใกล้ ๆ กับสระน้ำ ปู่ดีใจมาก
ที่เจอหลาน วันนี้ท่านสวมสร้อยเส้นใหญ่ ใบหน้าไร้ซึ่งความโศกเศร้า แม้ว่าเศรษฐกิจ
จะซบเซาแต่ปู่ก็ไม่เดือดร้อน ท่านปลูกพืชสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ประกอบอาชีพด้วยความ
สจุ รติ

ทา่ นใหข้ อ้ คิดวา่ ถา้ เราพอใจในสงิ่ ที่มีอยแู่ ละทำวันนใี้ ห้ดีท่ีสดุ ความสุขก็จะเกิดขนึ้
เขียนอักษรควบแท้ จำนวน ๑๐ คำ

เขียนอักษรควบไม่แท้ จำนวน ๑๐ คำ

๑๕

แบบฝกึ เสริมทกั ษะชดุ ที่ ๔

คำส่งั เขยี นคำจากคำอา่ นทก่ี ำหนดให้ในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง

ตัวอยา่ ง ข้อ ๐. ดนิ – ซาย ดินทรำย
วธิ ตี อบ ข้อ ๐. ดนิ – ซาย
:
๑. ซุด – โซม :
๒. โสก – เส้า
๓. ซาม – ไว :
๔. ซวด – ซง :
๕. ซบั – สิน :
๖. เสด – ถี
๗. สดั – ทา
๘. สอ้ ย – คอ
๙. สง – นำ้
๑๐. สา่ ง – ไข้

๑๖

แบบฝึกเสรมิ ทักษะชุดท่ี ๕

คำสั่ง คำท่กี ำหนดใหเ้ ป็นอกั ษรควบประเภทใด
ทำเครือ่ งหมาย  ในวงกลมหนา้ ประเภทของคำให้ถกู ต้อง

ตัวอย่าง ขอ้ ๐. ปรบมือ อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
วิธตี อบ ขอ้ ๐. ปรบมอื อกั ษรควบไม่แท้
 อกั ษรควบแท้

๑. ศรัทธา อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
๒. สรรเสรญิ : อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไมแ่ ท้
๓. ขรุขระ อกั ษรควบไมแ่ ท้
๔. นกอนิ ทรี อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
๕. อินทรา อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
๖. พุทรา อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
๗. จนั ทรา อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไมแ่ ท้
๘. ส่งเสริม อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไมแ่ ท้
๙. เศรษฐกจิ อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
๑๐. สรา่ งไข้ : อกั ษรควบแท้ อกั ษรควบไม่แท้
อกั ษรควบแท้

๑๗

แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะชดุ ท่ี ๖

คำส่ัง เขียนเลข “๑” ในช่องสี่เหล่ยี ม ถ้าคำท่ีให้เปน็ อกั ษรควบแท้
เขยี นเลข “๒” ในช่องส่ีเหลยี่ ม ถา้ คำที่ให้เปน็ อกั ษรควบไม่แท้

ตัวอยา่ ง ข้อ ๐. ควันไฟ ๑
วิธีตอบ ขอ้ ๐. ควันไฟ

๑. ทรวดทรง
๒. ผลนุ ผลนั
๓. เสแสร้ง
๔. ผลิดอก
๕. ต้นไทร
๖. นทิ รา
๗. มัทรี
๘. อินทรีย์
๙. ศักด์ิศรี
๑๐. ทรัพยากร

ตอนท่ี ๓
แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะทางภาษา ส่วนท่ี ๒

๑๙

แบบฝกึ เสรมิ ทักษะทางภาษา ส่วนที่ ๒
เรื่องท่ี ๑ อกั ษรควบ

คำส่งั พิจารณากจิ กรรมเสนอแนะทก่ี ำหนดให้
แลว้ มอบหมายให้นกั เรยี นทำตามจดุ มงุ่ หมายทีต่ ้องการวัด

ที่ กิจกรรมเสนอแนะ จุดมุง่ หมาย
๑. เขยี นแผนผงั ความคิด - วัดทกั ษะการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน

(Mind mapping) - วดั ทกั ษะการอา่ น
เรอื่ ง “อักษรควบ”
๒. ฝกึ อา่ นออกเสยี ง - วดั ทักษะการเขียน
บทกลอน “อักษรควบไมแ่ ท้”
หรือ นทิ านกลอน - วดั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และ
“อกั ษรควบกล้ำ” - วัดทกั ษะการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น
๓. ฝกึ แต่งประโยคโดยใช้คำอกั ษร
ควบจากบทกลอนทอ่ี ่าน
ประเภทละ ๑๐ ประโยค
๔. ทำโครงงาน คำอกั ษรควบ

๒๐

บทกลอน “อกั ษรควบไมแ่ ท้”

ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอนิ ทรี
มัทรี อนิ ทรยี ์ มี เทรดิ นนทรี พุทรา เพรา
ทรวงไทรทรพั ย์แทรกวัด โทรมนัสย์ ฉะเชงิ เทรา
ตัว “ทร” เหล่าน้ีเรา ออกสำเนียงเปน็ เสยี ง “ซ”

(ถ้า ท กบั ร ควบกัน แลว้ ออกเสยี งกล้ำกันสนิท นบั เปน็ อกั ษรควบแท้ เช่น
จนั ทรา นทิ รา อินทรา ฯลฯ)

กำชยั ทองหลอ่ . (๒๕๕๒). หลักภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : อมรการพมิ พ.์

๒๑

นิทานกลอน “อักษรควบกลำ้ ”

มเี จา้ หญิงแสนซนชอบร้องเพลง ชอบบรรเลงครน้ื เครงมคี วามสขุ
แตล่ ะวันผ่านไปไรจ้ ากทุกข์ แสนสนกุ ร้องรำตามอารมณ์
แมม่ ดนอ้ ยตนหนึง่ ซง่ึ อจิ ฉา ก่อนนิทราแอบฟงั อย่างสขุ สม
อยากมีเสียงรอ้ งเพลงให้คนชม เลยต้องตรมเศร้าสร้อยคอยแอบฟัง
หากวา่ แม้นเสียงทองตอ้ งมีหวัง
จงึ ได้คดิ ไตร่ตรองต้องวางแผน จะหยดุ ย้งั เสยี งหวานของนงคราญ
ทว่ั ภพไตรลว้ นนิยมชมเด่นดัง เพ่อื ปราศรยั กับเจ้าหญงิ ในสถาน
จึงแปลงรา่ งเปน็ นกนอ้ ยแสนสดใส ขอประทานให้หมอ่ มฉนั ไดย้ ลยิน
“เจา้ หญิงจา๋ อยากฟงั เพลงกอ้ งกงั วาน” แจ้งประจกั ษ์เสียงเพลงแห่งพณิ ศลิ ป์
นกโบยบินเริงร่าฟา้ สวยงาม
“นี่แน่ะ! เจ้านกน้อยแสนน่ารกั ” แล้วนั่งขา้ งเจา้ หญิงอยา่ งเกรงขาม
ตอนประสูตขิ า้ รอ้ งเป็นอาจณิ แลว้ ไมถ่ ามให้ขวกั ไขวใ่ นน้ำคำ
เจ้านกแปลงไดฟ้ ังกลับคืนร่าง
ยอมแพแ้ ล้วแตเ่ กดิ ไม่เอาความ

ลลี าวดี รม่ ไพรพฤกษ์. (ออนไลน์).
สืบคน้ จาก : http://www.gotoknow.org/blogs/posts/. [๑๐ กรกฎาคม 2552]

บรรณานกุ รม

กำชัย ทองหลอ่ . (๒๕๓๗). หลกั ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์.
กิตติ ธนิกกลุ . (๒๕๔๘). การสะกดและผสมคำ อักษรนำ อกั ษรควบ. กรงุ เทพฯ :

สุวยี าสาส์น.
นฤมล วิจิตรรตั นะ. (๒๕๓๗). หลักภาษาไทย การใชภ้ าษาไทย

ระดบั ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : เทพพทิ กั ษ์การพิมพ์.
นฤภร รจุ เิ รจและคณะ. (๒๕๔๘). การเรยี นรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ. กรงุ เทพฯ :

บรษิ ัทพฒั นาคุณภาพวชิ าการ จำกัด.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒.

กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คพับลิเคช่นั ส.์
วชั รพงศ์ โกมทุ ธรรมวิบูลย์. (๒๕๔๑). แบบทดสอบเสรมิ ทกั ษะ ชน้ั ประถมศกึ ษา

ปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : พัฒนาศกึ ษา.
วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๔๖). การจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระ

การเรียนร้ภู าษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว.
วชิ าการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๓๙). แนวทางการสอนภาษาไทย

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.
สุชาติ วงศส์ ุวรรณ. (๒๔๕๖). หลักภาษาและการใชภ้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษา

ปที ่ี ๕. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ประสานมติ ร.
สำนกั นเิ ทศและพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๔๓). เอกสารพัฒนาการเรียน

การสอนภาษาไทย ทเ่ี น้นนักเรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง เก่งภาษาไทย.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพก์ ารศาสนา.



ประวตั ิผพู้ ฒั นา

นางละไม ฝงั่ ชลจิตต์
ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ
โรงเรียนวัดพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี
สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ความภาคภูมใิ จ ผลงานดีเดน่ : รางวลั ระดบั ประเทศ

พ.ศ. รางวัล หนว่ ยงาน
๒๕๖๔ เกยี รตบิ ตั รผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสือดีเด่น สำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ

ประจำปี ๒๕๖๔ สสส, สคล, รว่ มกับสำนกั งานคณะกรรมการ
๒๕๖๓ เกียรติบัตรครดู ไี ม่มีอบายมขุ ประจำปี การศกึ ษาพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
การศึกษา ๒๕๖๓ นครศรธี รรมราช
๒๕๖๒ โลร่ างวัลศิษยเ์ กา่ ดีเด่นสาขาวชิ า หน่วยงานสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ
สวัสดกิ ารและสวัสดีภาพครูและบุคลากร
ประถมศกึ ษา เน่อื งในโอกาสวันครู ๒๕๖๒ ทางการศกึ าษ (สกสค)
๒๕๖๐ โลร่ างวลั ครดู ปี ชู นยี บุคคล สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒๕๕๖ เกียรติบตั รครูผสู้ อนนกั เรยี น รางวลั ระดับ
เหรยี ญเงนิ กิจกรรมการสรา้ งเกมสรา้ งสรรค์
จากคอมพิวเตอร์ ระดบั ชัน้ ป.๔- ป.๖

พ.ศ. รางวลั หน่วยงาน

๒๕๕๖ เกยี รติบัตรจัดการเรยี นการสอนเพอื่ ยกระดบั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (O-NET) ช้นั ขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาไทย เฉลย่ี สูงกว่าร้อยละ ๕๐

๒๕๕๕ เกียรตบิ ตั รครผู ู้สอนนักเรียน รางวลั ระดับ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา

เหรียญทอง รองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี ๒ ขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

กิจกรรมเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์

ระดับช้นั ป.๔- ป.๖

๒๕๕๕ เกียรตบิ ัตรครคู ณุ ภาพ ดเี ด่น อนั ดับที่ ๑ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย นครศรธี รรมราช เขต ๔

๒๕๕๔ เกยี รติบัตรและเครือ่ งหมายเชดิ ชูเกียรติ สำนักงานเลขาธิการครุ ุสภา

“หนึง่ แสนครดู ี” กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๒๕๕๔ เหรียญและเกยี รติบัตรรางวัลระดบั ทองแดง สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา

สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

(ระบบ Online) เร่ือง คำท่ีมาจาก

ภาษาตา่ งประเทศ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

๒๕๕๓ เหรียญและเกียรติบตั รรางวัลระดับทองแดง สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา

สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

(ระบบ Online) เรื่อง คำเป็น คำตาย

ภาษาไทย ประถมศึกษาปีที่ ๔

๒๕๕๑ เหรยี ญและเกยี รติบัตรรางวัลระดบั เหรียญเงิน สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรอื่ ง รูร้ ัก ขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลกั ภาษาพฒั นาการอ่านเขียน กลุ่มสาระ

การเรียนรู้ภาษาไทย ประถมศึกษาปที ่ี ๕

๒๕๔๖ เกียรตบิ ตั รรางวัลชมเชยอนั ดบั ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

การประกวดส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เร่อื ง หลักภาษาทน่ี ่ารู้

ในโลกน้มี ีอะไรเป็นไทยแท้
ของไทยแน่นัน้ หรอื คอื ภาษา
ท้ังคนมคี นจนแต่ตน้ มา
ใช้ภาษาไทยทวั่ ทุกตัวคน

ฉะน้ันหรือจะไมใ่ หร้ ักเจ้า
ภาษาไทยของเรามีศกั ดิศ์ รี
เกิดเป็นไทยคนหนงึ่ เราจึงมี
ของดดี ีช่ือวา่ "ภาษาไทย"

ม.ล.ปิน่ มาลากลุ
ผปู้ ระพนั ธ์


Click to View FlipBook Version