The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรับปรุง 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supawadee, 2020-05-31 04:25:52

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปรับปรุง 2562

หลกั สูตร
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

โรงเรยี นพทุ ไธสง
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๒)

โดย
ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ
งานพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรียนพทุ ไธสง

สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๒
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

จากคาสัง่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕
เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ การเทียบเคยี งตัวชวี้ ัดใน
สาระพนื้ ฐานและผลการเรยี นรใู้ นสาระเพิ่มเตมิ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลุม่ สาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ คาส่งั กระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่อง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ
ตัวชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ ในกล่มุ สาระการเรียนรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ คาส่ัง สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ให้
เปลย่ี นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ดั กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
คาสงั่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ท่ี ๖๒๒/๒๕๖๑ เรอ่ื ง ปรับปรุงโครงสรา้ งเวลา
เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง การบรหิ ารจดั การเวลาเรียนของสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานกลุ่มสาระการ
เรยี นร้คู ณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง การบรหิ ารจัดการ
หลักสูตรสถานศกึ ษา เวลาเรียนของสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน โรงเรียนพทุ ไธสงเป็นสถานศึกษาท่ีสังกัด
สานกั คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ได้จดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกับคาสัง่ ดังกลา่ ว
โดยเนน้ ความแตกตา่ งตามศกั ยภาพของนักเรยี นแตล่ ะคน จงึ จดั หลกั สตู รให้มีความหลากหลายเพอ่ื ให้
นกั เรยี นได้เลือกเรียนได้ตามความตอ้ งการของตนเอง รวมทัง้ ผปู้ กครองนกั เรียนทต่ี ้องการให้โรงเรียน
ไดเ้ สริมประสบการณ์ดา้ นต่างๆใหก้ บั นักเรยี น

ขอขอบคุณผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ไี ดร้ ว่ มมอื ในการจัดทาคาอธิบายกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพอื่ ใช้ประกอบหลกั สตู รสถานศึกษาเล่มนี้ และจดั การเรยี นการ
สอนตามกรอบของหลกั สตู รเพ่อื บรรลุเปา้ หมายตามท่ีตอ้ งการ

งานพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ

สารบัญ หน้า
คานา

ความนา ๓
วิสยั ทัศน์ ๓

หลักการ ๗
จดุ หมาย ๗
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘

สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ๑๐
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๓๗
๔๘
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ัด ๒๘๑
มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนภาษาตา่ งประเทศ ๒๘๒
สาระการเรยี นรู้และรายวิชาทเี่ ปิดสอนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ๒๙๖

คาอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ๒๙๙
ภาคผนวก
๓๐๑
โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรยี นพทุ ไธสง ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
คาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ เร่อื ง ให้ใชม้ าตรฐานการเรียนรแู้ ละ ๓๐๓

ตวั ชวี้ ัด กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ ๓๐๖

สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

คาสั่ง สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ให้เปล่ยี นแปลง
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัดกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
คาสั่ง สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ที่ ๖๒๒/๒๕๖๑ เรือ่ ง ปรับปรงุ

โครงสรา้ งเวลาเรียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบรหิ ารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษา เวลาเรยี น

ของสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

คาส่งั โรงเรยี นพุทไธสง เร่ือง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษา



ความนา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ให้
เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นร้เู ป็นเปา้ หมายและ
กรอบทศิ ทางในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นให้เปน็ คนดี มปี ญั ญา มคี ณุ ภาพชีวิตทด่ี แี ละมขี ีด
ความสามารถ ในการแขง่ ขนั ในเวทีระดับโลก (กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกันน้ไี ด้ปรับ
กระบวนการพฒั นาหลักสูตรให้มีความสอดคลอ้ งกับเจตนารมณแ์ หง่ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทาง
การศึกษาให้ทอ้ งถน่ิ และสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาหลักสตู ร เพือ่ ให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพ และความต้องการของท้องถน่ิ (สานกั นายกรฐั มนตร,ี ๒๕๔๒)

จากการวจิ ัย และตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีทีผ่ ่านมา (สานกั
วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สานักงานเลขาธิการ
สภาการศกึ ษา, ๒๕๔๗; สานักผตู้ รวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวมิ ล ว่องวาณชิ และ
นงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลกั สตู รการศกึ ษา
ข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจายอานาจทาง
การศกึ ษาทาใหท้ อ้ งถ่ินและสถานศึกษามีสว่ นร่วมและมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ และมแี นวคดิ และหลักการในการสง่ เสริมการพัฒนาผเู้ รียน
แบบองค์รวมอยา่ งชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกลา่ วยังไดส้ ะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ประเดน็ ทเี่ ป็น
ปญั หาและความไมช่ ัดเจนของหลกั สตู รหลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนา
หลกั สตู รสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และผลผลิตท่ีเกิดจากการใช้หลักสตู ร ไดแ้ ก่ ปัญหาความสบั สนของผูป้ ฏิบตั ใิ น
ระดับสถานศกึ ษาในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญก่ าหนดสาระและผลการ
เรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั ไวม้ าก ทาให้เกิดปญั หาหลักสตู รแนน่ การวัดและประเมนิ ผลไมส่ ะท้อนมาตรฐาน
ส่งผลตอ่ ปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทยี บโอนผลการเรียน รวมทงั้ ปัญหา
คุณภาพของผูเ้ รยี นในดา้ นความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงคอ์ ันยงั ไม่เปน็ ทน่ี ่า
พอใจ

นอกจากน้ันแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)
ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความจาเปน็ ในการปรบั เปลย่ี นจดุ เน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสงั คมไทยให้ มี
คณุ ธรรม และ มีความรอบรูอ้ ย่างเทา่ ทัน ใหม้ ีความพร้อมทัง้ ดา้ นรา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ และ
ศลี ธรรม สามารถกา้ วทนั การเปลีย่ นแปลงเพ่ือนาไปสสู่ ังคมฐานความรู้ได้อย่างมัน่ คง แนวการพัฒนา
คนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนใหม้ พี ื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พรอ้ มทั้งมีสมรรถนะ
ทกั ษะและความรู้พ้ืนฐานท่จี าเปน็ ในการดารงชีวติ อนั จะส่งผลต่อการพฒั นาประเทศแบบย่งั ยืน (สภา
พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ, ๒๕๔๙) ซึง่ แนวทางดังกล่าวสอดคลอ้ งกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการในการพฒั นาเยาวชนของชาติเขา้ สู่โลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมงุ่ สง่ เสรมิ ผ้เู รยี นมี
คุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวเิ คราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถ
ทางานร่วมกบั ผู้อื่น และสามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ในสงั คมโลกไดอ้ ยา่ งสนั ติ (กระทรวงศกึ ษาธิการ,
๒๕๕๑)



จากขอ้ ค้นพบในการศึกษาวจิ ยั และติดตามผลการใชห้ ลักสูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ท่ีผา่ นมา ประกอบกบั ขอ้ มลู จากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี
๑๐ เกยี่ วกับแนวทางการพฒั นาคนในสงั คมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในการพฒั นา
เยาวชนสศู่ ตวรรษที่ ๒๑ จึงเกดิ การทบทวนหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ เพอ่ื
นาไปสกู่ ารพฒั นาหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความเหมาะสม
ชดั เจน ท้ังเปา้ หมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และกระบวนการนาหลกั สตู รไปสกู่ าร
ปฏิบัติในระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษาและสถานศกึ ษา โดยได้มกี ารกาหนดวิสัยทัศน์ จดุ หมาย สมรรถนะ
สาคัญของผเู้ รยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ัดทช่ี ดั เจน เพอื่ ใช้เป็น
ทศิ ทางในการจดั ทาหลกั สูตร การเรียนการสอนในแตล่ ะระดบั นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้างเวลา
เรยี นข้นั ต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรใู้ นแตล่ ะชน้ั ปีไว้ในหลกั สูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้
สถานศึกษาเพ่มิ เติมเวลาเรียนไดต้ ามความพร้อมและจุดเน้น อกี ท้งั ไดป้ รับกระบวนการวัดและ
ประเมนิ ผลผ้เู รียน เกณฑก์ ารจบการศึกษาแต่ละระดบั และเอกสารแสดงหลกั ฐาน ทางการศึกษาให้มี
ความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนตอ่ การนาไปปฏบิ ัติ

เอกสารหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ี จัดทาขึน้ สาหรับ
ทอ้ งถนิ่ และสถานศกึ ษาไดน้ าไปใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และจัดการ
เรียนการสอนเพอื่ พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานให้มคี ุณภาพด้าน
ความรู้ และทักษะที่จาเปน็ สาหรับการดารงชวี ติ ในสงั คมที่มกี ารเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรูเ้ พื่อ
พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต

มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัดท่กี าหนดไวใ้ นเอกสารนี้ ช่วยทาให้หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องใน
ทกุ ระดบั เห็นผลคาดหวงั ทีต่ อ้ งการในการพัฒนาการเรยี นรูข้ องผู้เรียนทช่ี ดั เจนตลอดแนว ซง่ึ จะ
สามารถชว่ ยให้หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งในระดับทอ้ งถน่ิ และสถานศึกษาร่วมกันพฒั นาหลักสตู รไดอ้ ย่าง
มน่ั ใจ ทาให้การจัดทาหลกั สูตรในระดับสถานศกึ ษามีคุณภาพและมีความเปน็ เอกภาพย่งิ ขน้ึ อกี ท้งั ยัง
ชว่ ยใหเ้ กิดความชดั เจนเรอื่ ง การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ และชว่ ยแกป้ ญั หาการเทียบโอน
ระหวา่ งสถานศึกษา ดงั นั้นในการพฒั นาหลกั สูตรในทกุ ระดับต้ังแต่ระดับชาตจิ นกระทัง่ ถึง
สถานศึกษา จะต้องสะท้อนคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้วี ดั ที่กาหนดไวใ้ นหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน รวมท้ังเป็นกรอบทิศทางในการจดั การศกึ ษาทุกรปู แบบ และ
ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุม่ เป้าหมายในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

การจัดหลักสตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐานจะประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายทีค่ าดหวังได้ ทกุ
ฝา่ ยทเ่ี กีย่ วข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องรว่ มรับผิดชอบ โดยร่วมกนั ทางานอยา่ ง
เปน็ ระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนนิ การ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุง
แก้ไข เพอ่ื พัฒนาเยาวชนของชาติไปสูค่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ กี่ าหนดไว้



วิสยั ทัศน์ โรงเรียน

หลกั สูตรแกนกลาง ฯ

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน “เปน็ โรงเรยี นคณุ ธรรม มคี ณุ ภาพตาม
มาตรฐานสากล ภายในปี 2563”
มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นทุกคน ซ่งึ เปน็ กาลงั ของชาติ ให้เป็น
มนุษย์ท่มี ีความสมดุลทงั้ ด้านรา่ งกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทย และ

เป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

มคี วามรแู้ ละทักษะพ้นื ฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็น
ตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศกึ ษา
ตลอดชีวิต โดยม่งุ เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญบน

พื้นฐานความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้ และ
พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลักการ

หลกั สตู รแกนกลาง ฯ โรงเรยี น

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นพุทไธสง

มหี ลักการท่สี าคัญ ดังน้ี มหี ลกั การทสี่ าคัญ ดังนี้

๑. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาเพ่อื ความเป็น ๑. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพื่อความเปน็

เอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐาน เอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการ

การเรยี นรู้ เป็นเป้าหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและ เรยี นรู้ เปน็ เป้าหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและ

เยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรม เยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และ

บนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเปน็ คณุ ธรรม บนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่

สากล กบั ความเปน็ สากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ปวงชน ๒. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพอื่ ปวงชนที่

ทป่ี ระชาชนทกุ คนมีโอกาสไดร้ ับการศกึ ษาอย่าง ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ บั การศึกษาอย่าง

เสมอภาค และมคี ุณภาพ เสมอภาค และมคี ุณภาพ

๓. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทส่ี นองการ ๓. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาที่สนองการ

กระจายอานาจ ให้สงั คมมีส่วนรว่ มในการจดั กระจายอานาจ ให้สังคมมสี ่วนร่วมในการจดั



หลักสตู รแกนกลาง ฯ โรงเรยี น

การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความ การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและ

ตอ้ งการของท้องถ่ิน ความต้องการของท้องถิ่น

๔. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทม่ี โี ครงสรา้ ง ๔. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่มโี ครงสรา้ ง

ยืดหยุน่ ท้งั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการ ยดื หยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการ

จดั การเรยี นรู้ จัดการเรยี นรู้

๕. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทเี่ นน้ ผูเ้ รียน ๕. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทีเ่ นน้ ผเู้ รียน

เป็นสาคัญ เป็นสาคัญ

๖. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาสาหรับ ๖. เปน็ หลักสูตรการศึกษาสาหรบั

การศกึ ษา ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย การศึกษา ในระบบ นอกระบบ และตาม

ครอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอน อธั ยาศยั ครอบคลุมทุกกลมุ่ เปา้ หมาย

ผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และ

ประสบการณ์

จุดมุง่ หมาย

แกนกลาง โรงเรยี น

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นพทุ ไธสง มุ่ง

มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปญั ญา มีความสุข พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ คนดี มปี ัญญา มคี วามสุข

มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ

จึงกาหนดเป็นจดุ หมายเพอ่ื ใหเ้ กดิ กบั ผู้เรียนเมอื่ จงึ กาหนดจดุ หมายเพอื่ ให้เกดิ กบั ผู้เรียนเม่ือจบ

จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ การศึกษา ดังนี้

๑. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพี่ ึง ๑. ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามหลักสตู รแกนกลางฯ

ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ตั ิ ๒. คุณภาพผู้เรยี นตามนโยบาย จุดเนน้ ของ

ตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื โรงเรยี น

ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ตามจุดเน้นของโรงเรียน ดังนี้

พอเพียง ๑. เป็นคนดี = คุณธรรม

(เป็นคนด)ี 1.ผูเ้ รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคุณลกั ษณะอัน
๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การ
พึงประสงคต์ ามหลกั สตู รสถานศึกษา
คดิ การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะ 2.ผู้เรยี นมี จติ อาสา รกั สะอาด มารยาทงาม
ชวี ติ
ตามอัตลกั ษณ์ของโรงเรียน
(มปี ญั ญา) 3.ผูเ้ รียนมีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเปน็
ไทย



แกนกลาง โรงเรียน

๓. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ี มสี ุขนิสัย ๒. มคี วามรู้ = ผลสัมฤทธิ/์ เรียนตอ่

และรักการออกกาลงั กาย ๑.ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการอา่ น เขยี น คิด

๔. มีความรกั ชาติ มีจติ สานกึ ในความเป็น คานวณและสื่อสารสองภาษา

พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวถิ ชี ีวติ และการ ๒.ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิด

ปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยน ความ

พระมหากษตั รยิ ์ ทรงเป็นประมุข คิดเหน็ และแก้ปญั หา๓.ผู้เรียนมคี วามสามารถใน

๕. มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และ

ภมู ปิ ัญญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา สร้างนวตั กรรมไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

ส่ิงแวดลอ้ ม มจี ิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์ ๔.ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู ร

และสร้างส่ิงท่ดี ีงาม ในสังคม และอยรู่ ว่ มกันใน สถานศกึ ษา และมีผลการทดสอบระดบั ชาติสูงกวา่

สังคมอยา่ งมีความสุข ค่าเฉล่ียระดับชาติทกุ รายวิชา ทกุ ชั้นปี

(มคี วามสุข) ๓. มีความสขุ = ทกั ษะชีวิต/อาชพี

๑.ผเู้ รียนมีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย จิตใจและสงั คม

๒.ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดีต่อ

การงานอาชีพ

๓.พัฒนาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตาม

หลักสตู รสถานศกึ ษา เทียบเคียงมาตรฐานสากล

ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

๔.พฒั นาผู้เรยี นให้มีศกั ยภาพใหเ้ ปน็ พลโลก

พนั ธกจิ

โรงเรียนพทุ ไธสงพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นให้เปน็ ไปตามจุดมุง่ หมาย ตามพันธกิจ ดงั น้ี
1. ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะตามมาตรฐานสากล
2. พัฒนากระบวนการบริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
3. พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั เทยี บเคยี ง
มาตรฐานสากล



กรอบการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ตามแนวคดิ NCLB

หลักสูตรสถานศึกษา

วสิ ยั ทศั น์ หลักการ / จุดหมาย พันธกิจ
โครงสร้างเวลาเรยี น

พนื้ ฐาน เพ่ิมเติม กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
ความรู้ ทักษะ เจตคติ ศึกษาตอ่ ประกอบอาชพี ตามศักยภาพ ทักษะชวี ติ

แกนกลาง ห้องเรยี น แนะแนว
ท้องถิ่น กจิ กรรมนักเรยี น
NCLB กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมฯ
ตัวชว้ี ัด
จัดการเรียนรู้ ทอ้ งถนิ่ ท้องถ่ิน
วัด/ประเมินผล ผลการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ จุดประสงค์
วัด/ประเมนิ ผล จดั กิจกรรม
คณุ ภาพนักเรียน วดั /ประเมนิ ผล

ศกึ ษาต่อ ประกอบอาชีพ



สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ในการพฒั นาผู้เรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ม่งุ เนน้ พฒั นาผเู้ รยี นให้มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด ซึ่งจะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกิดสมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์ ดงั นี้

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นพุทไธสง มุง่ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการ

ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพอื่ แลกเปลี่ยนข้อมลู
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาตอ่ รอง
เพ่อื ขจดั และลดปญั หาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรับหรือไมร่ ับขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผลและ
ความถกู ต้อง ตลอดจน การเลอื กใชว้ ธิ กี ารส่อื สาร ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีมีตอ่
ตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพอื่ นาไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ที่
เผชิญ ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจ
ความสมั พนั ธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มา
ใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา และมกี ารตัดสนิ ใจทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้น
ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง การทางานและการอยู่
ร่วมกันในสงั คมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้ง
ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ ันกับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการ
รจู้ กั หลกี เลย่ี งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ น
ต่าง ๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การ
สือ่ สาร การทางาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมคี ณุ ธรรม



คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ม่งุ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

เพื่อใหส้ ามารถอย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่นื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซือ่ สัตย์สุจริต

๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้

๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มงุ่ ม่นั ในการทางาน

๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์เพ่ิมเติมใหส้ อดคลอ้ งตาม
บริบทและจุดเนน้ ของตนเอง

มาตรฐานการเรยี นรู้

การพฒั นาผ้เู รียนใหเ้ กดิ ความสมดุล ตอ้ งคานงึ ถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหปุ ญั ญา
หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นพทุ ไธสง จงึ กาหนดใหผ้ ้เู รียนเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดังนี้

1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศกึ ษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาตา่ งประเทศ

ในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรไู้ ด้กาหนดมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นเป้าหมายสาคญั ของการ
พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะบสุ ่งิ ท่ีผเู้ รียนพงึ รู้ ปฏิบตั ไิ ด้ มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและ
ค่านิยม ทพี่ งึ ประสงคเ์ มอ่ื จบการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนร้ยู งั เปน็
กลไกสาคญั ในการขับเคลอ่ื นพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะทอ้ นใหท้ ราบ
วา่ ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเปน็ เคร่อื งมอื ในการตรวจสอบเพื่อ
การประกันคุณภาพการศกึ ษาโดยใชร้ ะบบ การประเมินคุณภาพภายในและการประเมนิ คณุ ภาพ
ภายนอก ซึง่ รวมถงึ การทดสอบระดบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษา และการทดสอบระดบั ชาติ ระบบการ
ตรวจสอบเพอ่ื ประกันคณุ ภาพดังกล่าวเป็นส่งิ สาคัญท่ชี ่วยสะท้อนภาพการจดั การศกึ ษาว่าสามารถ
พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรู้กาหนดเพยี งใด



ตวั ช้วี ดั

ตวั ช้ีวดั ระบสุ งิ่ ที่นกั เรยี นพึงร้แู ละปฏบิ ัติได้ รวมท้งั คณุ ลักษณะของผเู้ รยี นในแต่ละระดบั ชั้น ซ่ึง
สะท้อน ถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใชใ้ นการกาหนด

เนอ้ื หา จดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัด
ประเมินผล เพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรยี น

๑. ตวั ชี้วัดชน้ั ปี เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาผเู้ รยี นแตล่ ะช้ันปใี นระดับการศึกษาภาคบังคบั
(ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓)

๒. ตัวชีว้ ัดช่วงชน้ั เปน็ เปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรียนในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

(มัธยมศกึ ษา ปีท่ี ๔- ๖)
หลกั สตู รได้มีการกาหนดรหสั กากับมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ดั เพอื่ ความเข้าใจและให้

สือ่ สารตรงกนั ดงั นี้

ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ ตัวชว้ี ัดชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ขอ้ ที่ ๓

ม.๔-๖/๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒
๒.๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ


๑๐

มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วัด
กล่มุ สาระการเรียนภาษาต่างประเทศ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๒)

๑๑

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

ทาไมตอ้ งเรียนภาษาต่างประเทศ

ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง
ในชีวิตประจาวัน เน่ืองจากเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อส่ือสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้
การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเก่ียวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และ
ตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นามาซ่ึงมิตรไมตรีและความ
ร่วมมือกับประเทศต่างๆ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เรียนรู้และเข้า
ใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ
การเมอื ง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อ
การสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ความรูต้ ่างๆ ไดง้ ่ายและกว้างขน้ึ และมวี สิ ยั ทัศนใ์ นการดาเนนิ ชวี ิต
ภาษาต่างประเทศที่เป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ซ่ึงกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอ่ืน เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่น
อาหรบั บาลี และภาษากลุม่ ประเทศเพ่อื นบ้าน หรอื ภาษาอน่ื ๆ ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาที่จะ
จัดทารายวชิ าและจัดการเรยี นรู้ตามความเหมาะสม

เรยี นรอู้ ะไรในภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่อภาษาต่างประเทศ
สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณต์ ่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ
ในระดับทีส่ งู ขนึ้ รวมทงั้ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย
สาระสาคัญ ดงั น้ี

 ภาษาเพื่อการส่ือสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน
แลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นาเสนอ
ข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์
ระหวา่ งบุคคลอย่างเหมาะสม

 ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และ
นาไปใช้อยา่ งเหมาะสม

 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศใน
การเชือ่ มโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหา
ความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน

๑๒

 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศใน
สถานการณ์ต่างๆ ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็น
เครือ่ งมือพน้ื ฐานในการศกึ ษาตอ่ ประกอบอาชีพ และแลกเปล่ียนเรียนรู้กับสงั คมโลก

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี ๑ ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรอ่ื งทฟ่ี งั และอ่านจากส่ือประเภทต่างๆ และแสดง

ความคิดเหน็ อย่างมีเหตผุ ล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มที ักษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ข่าวสาร แสดง

ความรูส้ ึก และความคดิ เห็นอย่างมีประสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอขอ้ มูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเห็นในเรือ่ ง

ต่างๆ โดยการพูดและการเขียน

สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ

นาไปใช้ ได้อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของ

เจ้าของภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใชอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั กลุม่ สาระการเรียนร้อู ื่น
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่

และเปน็ พน้ื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน

สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ท้ังในสถานศกึ ษา ชุมชน และ

สงั คม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครื่องมือพ้ืนฐานในการศกึ ษาต่อ การประกอบ

อาชีพ และ การแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ับสงั คมโลก

๑๓

คุณภาพผู้เรยี น

จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

 ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาช้ีแจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียง
ข้อความ ข่าว โฆษณา นทิ าน และบทร้อยกรองส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/เขียนสื่อท่ีไม่ใช่
ความเรยี งรปู แบบต่างๆ สัมพนั ธ์กับประโยคและขอ้ ความทฟ่ี ังหรอื อ่าน เลอื ก/ระบหุ ัวข้อเร่ือง ใจความ
สาคัญ รายละเอยี ดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ
พรอ้ มท้งั ให้เหตุผลและยกตวั อย่างประกอบ

 สนทนาและเขียนโตต้ อบข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว
เร่อื งทีอ่ ยู่ในความสนใจของสงั คมและสอ่ื สารอย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม ใช้คาขอร้อง คาชี้แจง และ
คาอธิบาย ให้คาแนะนาอย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความ
ช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย
อธิบาย เปรยี บเทยี บ และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เร่ืองทฟ่ี ังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียน
บรรยายความรูส้ กึ และความคดิ เหน็ ของตนเองเกยี่ วกับเรือ่ งต่างๆ กจิ กรรม ประสบการณ์ และข่าว/
เหตกุ ารณ์ พร้อมทงั้ ใหเ้ หตผุ ลประกอบอยา่ งเหมาะสม

 พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เร่ือง/ประเด็น
ตา่ งๆ ทอี่ ยู่ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่องที่ได้จาก
การวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น
เกีย่ วกบั กจิ กรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมให้เหตผุ ลประกอบ

 เลอื กใชภ้ าษา นา้ เสยี ง และกริ ิยาทา่ ทางเหมาะกบั บคุ คลและโอกาส ตามมารยาทสังคม
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเก่ียวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี
ของเจา้ ของภาษา เข้ารว่ ม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ

 เปรยี บเทียบ และอธบิ ายความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยค
ชนิดต่างๆ และการลาดบั คาตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบ
และ อธบิ ายความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างชวี ติ ความเป็นอยูแ่ ละวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา
กบั ของไทย และนาไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม

 ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก
แหลง่ การเรยี นรู้ และนาเสนอด้วยการพดู และการเขียน

 ใช้ภาษาสอ่ื สารในสถานการณ์จรงิ /สถานการณจ์ าลองที่เกดิ ข้นึ ในหอ้ งเรียน สถานศึกษา
ชุมชน และสังคม

 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสบื ค้น/ค้นควา้ รวบรวม และสรุปความรู้/ขอ้ มูลต่างๆ จากส่ือ
และแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล
ขา่ วสารของโรงเรยี น ชุมชน และท้องถิน่ เปน็ ภาษาต่างประเทศ

 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเร่ือง
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น สงิ่ แวดลอ้ ม อาหาร เคร่ืองดืม่ เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ

๑๔

และสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเท่ียว การบริการ
สถานท่ี ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์ประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คา
(คาศพั ทท์ ่ีเปน็ นามธรรมมากข้นึ )

 ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) สื่อความหมายตาม
บรบิ ทต่างๆ ในการสนทนาทงั้ ที่เป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ

จบชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖

 ปฏิบตั ิตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาช้ีแจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟัง
และอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครส้ันถูกต้องตาม
หลกั การอา่ น อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อท่ีไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ท่ี
อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนส่ือที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความท่ีฟัง
หรืออา่ น จบั ใจความสาคญั วิเคราะห์ความ สรุปความ ตคี วาม และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและ
อา่ นเร่อื งที่เปน็ สารคดีและบนั เทิงคดี พร้อมท้ังให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ

 สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์
สถานการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นท่ีอยู่ในความสนใจและสื่อสารอย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม
เลอื กและใชค้ าขอรอ้ ง คาชีแ้ จง คาอธิบาย และให้คาแนะนา พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอ
และให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จาลองหรือ
สถานการณจ์ ริงอยา่ งเหมาะสม พดู และเขยี นเพือ่ ขอและให้ข้อมลู บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และ
แสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกับเรอ่ื ง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียน
บรรยายความรสู้ กึ และแสดงความคดิ เห็นของตนเองเก่ียวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และ
ขา่ ว/เหตกุ ารณอ์ ย่างมเี หตผุ ล

 พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับตนเอง/ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและ
ประเดน็ ตา่ งๆ ตามความสนใจ พดู และเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ แกน่ สาระท่ีได้จากการวิเคราะห์เร่ือง
กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมท้ังให้เหตุผลและ
ยกตัวอยา่ งประกอบ

 เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและ
สถานทีต่ ามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนยี มและประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนา และจัดกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมอยา่ งเหมาะสม

 อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย
สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์/อภิปรายความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างวิถีชวี ิต ความเช่อื และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย และนาไปใช้อย่างมีเหตุผล

๑๕

 ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้อ่ืน จากแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ และนาเสนอดว้ ยการพดู และการเขยี น

 ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา
ชมุ ชน และสังคม

 ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูล
ต่างๆ จากส่อื และแหล่งการเรยี นรูต้ ่างๆ ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์
ขอ้ มลู ข่าวสาร ของโรงเรยี น ชมุ ชน และทอ้ งถ่นิ /ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ

 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) ส่ือสารตามหัวเร่ือง
เกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลา
ว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การ
เดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์
ประมาณ ๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คา (คาศัพท์ท่มี รี ะดับการใช้แตกตา่ งกนั )

 ใชป้ ระโยคผสมและประโยคซบั ซอ้ นส่ือความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนา ท้ัง
ท่เี ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ

๑๖

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระท่ี ๑ ภาษาเพอื่ การสือ่ สาร

มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเรื่องที่ฟงั และอา่ นจากสอ่ื ประเภทต่างๆ และแสดงความ
คิดเห็น อย่างมเี หตุผล

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.๑ ๑. ปฏิบตั ิตามคาสั่ง คาขอรอ้ ง - คาขอร้อง เชน่ Please look up the

คาแนะนา และ คาช้แี จงง่ายๆ meaning in a

ทีฟ่ งั และอ่าน dictionary./ Look up the meaning in a

dictionary, please./ Can/Could you help

me, please?/ Excuse me, could you …?

etc.

- คาแนะนา เช่น You should read

everyday./ Think before you speak./

คาศัพท์ทใ่ี ช้ในการเล่นเกม Start./ My turn./

Your turn./ Roll the dice./ Count the

number./ Finish. etc.

- คาสนั ธาน )conjunction( เชน่ and/but/or

- ตวั เชือ่ ม )connective words เชน่ (First,…

Second,…Third,… Next,… Then,… Finally,…

etc.

๒. อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน ขอ้ ความ นิทาน และบทรอ้ ยกรอง

และบทรอ้ ยกรอง (poem) สั้นๆ การใช้พจนานกุ รมหลกั การอ่านออกเสยี ง เชน่

ถกู ตอ้ งตาม หลกั การอ่าน - การออกเสยี งพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะทา้ ย

คา

- การออกเสยี งเนน้ หนัก-เบาในคาและกลุ่มคา

- การออกเสียงตามระดับเสียงสงู -ต่าในประโยค

- การแบ่งวรรคตอนในการอา่ น

- การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ

๓. เลือก/ระบปุ ระโยคและข้อความ ประโยค หรอื ข้อความ และความหมายเก่ยี วกบั

ใหส้ ัมพนั ธก์ ับสอ่ื ท่ีไม่ใช่ความเรียง ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิง่ แวดล้อม อาหาร

(non-text information) ที่อ่าน เครื่องด่ืม เวลาว่างและนันทนาการ สขุ ภาพและ

สวัสดกิ าร การซ้อื -ขาย ลมฟ้าอากาศ การศกึ ษา

และอาชีพ การเดนิ ทางท่องเที่ยว การบรกิ าร

สถานที่ ภาษา และวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๑๗

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เป็นวงคาศัพท์สะสมประมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐
คา (คาศพั ทท์ ่เี ปน็ รูปธรรมและนามธรรม)
การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพนั ธ์กบั ส่ือทีไ่ ม่ใช่

ความเรียง เชน่ สัญลกั ษณ์ เครื่องหมาย กราฟ
แผนภมู ิ ตาราง ภาพสัตว์ สงิ่ ของ บุคคล สถานท่ี

ต่างๆ โดยใช้ Comparison of adjectives/
adverbs/ Contrast : but, although/
Quantity words เชน่ many/ much/ a lot

of/ lots of/ some/ any/ a few/ few/ a
little/ little etc.

ม.๑ ๔. ระบหุ วั ข้อเรือ่ ง (topic) บทสนทนา นทิ าน เรอื่ งส้ัน และเรื่องจากสือ่

ใจความสาคัญ (main idea) และ ประเภทตา่ งๆ เช่น หนงั สือพิมพ์ วารสาร วทิ ยุ

ตอบคาถามจากการฟงั และอ่าน โทรทศั น์ เวบ็ ไซด์

บทสนทนา นิทาน และเรือ่ งสน้ั การจับใจความสาคัญ เช่น หัวข้อเร่อื ง ใจความ

สาคัญ รายละเอียดสนับสนุน

คาถามเก่ียวกับใจความสาคัญของเรอ่ื ง เช่น ใคร

ทาอะไร ทไี่ หน เมอ่ื ไร อย่างไร ทาไม ใชห่ รือไม่

- Yes/No Question

- Wh-Question

- Or-Question

etc.

- Tenses : present simple/ present

continuous/ past simple/ future simple

etc.

- Simple sentence/ Compound sentence

ม.๒ ๑. ปฏบิ ัตติ ามคาขอร้อง คาขอร้อง คาแนะนา คาชแ้ี จง และคาอธิบาย

คาแนะนา เชน่ การทาอาหารและเคร่ืองดม่ื การประดิษฐ์

คาชแี้ จง และคาอธิบายง่ายๆ ทีฟ่ ัง การใช้ยา/สลากยา การบอกทศิ ทาง การใช้

และอ่าน อปุ กรณ์

- Passive Voice ท่ใี ช้ในโครงสร้างประโยค

งา่ ยๆ เช่น is/are + Past Participle

- คาสนั ธาน )conjunction( เช่น and/ but/

๑๘

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

or/ before/ after etc.

- ตัวเชือ่ ม )connective words( เชน่ First,…

Second,… Third,… Fourth,… Finally,…

etc.

ม.๒ ๒. อ่านออกเสยี งข้อความ ข่าว ขอ้ ความ ข่าว ประกาศ และบทรอ้ ยกรอง
ประกาศ และบทร้อยกรองสนั้ ๆ การใชพ้ จนานกุ รม หลักการอ่านออกเสียง เช่น

ถกู ตอ้ งตามหลกั การอา่ น - การออกเสยี งพยัญชนะตน้ คาและพยัญชนะท้าย

คา

- การออกเสยี งเน้นหนัก-เบา ในคาและกลุ่มคา

- การออกเสียงตามระดับเสียงสงู -ต่า ในประโยค

- การออกเสียงเชื่อมโยงในขอ้ ความ

- การแบง่ วรรคตอนในการอ่าน

- การอ่านบทร้อยกรองตามจงั หวะ

ม.๒ ๓. ระบ/ุ เขยี นประโยค และ ประโยค หรือขอ้ ความ และความหมายเกี่ยวกับ

ขอ้ ความ ให้สัมพนั ธก์ ับส่ือที่ไมใ่ ช่ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สง่ิ แวดล้อม อาหาร

ความเรยี ง รูปแบบ ต่างๆ ทอี่ า่ น เคร่ืองดื่ม เวลาวา่ งและนนั ทนาการ สุขภาพและ

สวสั ดกิ าร การซือ้ -ขาย ลมฟา้ อากาศ การศึกษา

และอาชีพ การเดินทางท่องเทยี่ ว การบริการ

สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เปน็ วงคาศัพทส์ ะสมประมาณ ๑,๗๕๐-๑,๙๐๐

คา (คาศพั ทท์ เ่ี ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม)

การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพนั ธก์ ับส่ือที่ไม่ใช่

ความเรียง เชน่ สัญลักษณ์ เครอื่ งหมาย กราฟ

แผนภูมิ แผนผงั ตาราง ภาพสตั ว์ สงิ่ ของ บุคคล

สถานท่ีต่างๆ โดยใช้ Comparison of

adjectives/ adverbs/ Contrast: but,

although/ Quantity words เช่น many/

much/ a lot of/ lots of/ some/ any/ a

few/ few/ a little/ little etc.

ม.๒ ๔. เลอื กหัวขอ้ เรื่อง ใจความสาคัญ บทสนทนา นิทาน เร่ืองสน้ั และเรือ่ งจากสือ่
บอกรายละเอยี ดสนับสนนุ ประเภทตา่ งๆ เช่น หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร วิทยุ

(supporting detail) และแสดง โทรทัศน์ เวบ็ ไซด์ การจับใจความสาคัญ เชน่

ความคิดเหน็ เก่ยี วกับเรอ่ื งที่ฟังและ หวั ข้อเรอ่ื ง ใจความสาคญั รายละเอยี ดสนบั สนนุ

อ่าน พรอ้ มทงั้ ใหเ้ หตุผลและ คาถามเกยี่ วกับใจความสาคญั ของเรอื่ ง เชน่ ใคร

๑๙

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ยกตัวอยา่ งง่ายๆ ประกอบ ทาอะไร ทไี่ หน เมอื่ ไร อย่างไร ทาไม ใช่หรอื ไม่

- Yes/No Question

- Wh-Question

- Or-Question

etc.

ประโยคที่ใชใ้ นการแสดงความคิดเห็น การให้

เหตผุ ล และการยกตวั อย่าง เช่น I think…/ I

feel…/ I believe…

- คาสนั ธาน (conjunctions) and/ but/ or/

because/ so/ before/after

- ตวั เชื่อม (connective words) First,…

Next,… After,… Then,… Finally,… etc.

- Tenses: present simple/ present

continuous/ present perfect/ past simple/

future tense etc.

- Simple sentence/Compound sentence

ม.๓ ๑. ปฏิบตั ติ ามคาขอร้อง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาช้แี จง และคาอธบิ าย ใน

คาแนะนา การประดิษฐ์ การบอกทิศทาง ป้ายประกาศ

คาช้ีแจง และคาอธบิ ายท่ีฟงั และ ต่างๆ การใชอ้ ปุ กรณ์

อา่ น - Passive Voice ทใ่ี ช้ในโครงสรา้ งประโยค

ง่ายๆ เช่น is/are + past partciple

- คาสนั ธาน )conjunction( เช่น and/ but/

or/ before/ after/ because etc.

- ตวั เชอื่ ม )connective words( เชน่ First,…

Second,…Third,… Fourth,… Next,… Then,…

Finally,… etc.

ม.๓ ๒. อา่ นออกเสียงข้อความ ข่าว ขอ้ ความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง

โฆษณา และบทรอ้ ยกรองสั้นๆ การใช้พจนานกุ รม หลกั การอา่ นออกเสียง เช่น

ถูกต้องตามหลักการอ่าน - การออกเสียงพยญั ชนะตน้ คาและพยัญชนะท้าย

คา สระเสยี งสนั้ สระเสียงยาว สระประสม

- การออกเสียงเนน้ หนกั -เบา ในคาและกลมุ่ คา

- การออกเสียงตามระดับเสยี งสงู -ต่า ในประโยค

- การออกเสยี งเชือ่ มโยงในข้อความ

๒๐

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- การแบ่งวรรคตอนในการอา่ น

- การอา่ นบทรอ้ ยกรองตามจังหวะ

ม.๓ ๓. ระบแุ ละเขียนสือ่ ทีไ่ ม่ใช่ความ ประโยค ขอ้ ความ และความหมายเก่ียวกับตนเอง
เรียง รูปแบบตา่ งๆ ใหส้ ัมพันธ์กบั ครอบครัว โรงเรยี น สิ่งแวดล้อม อาหาร เครอ่ื งดื่ม

ประโยค และขอ้ ความทฟี่ งั หรือ เวลาวา่ งและนันทนาการ สขุ ภาพและสวัสดกิ าร

อา่ น การซื้อ-ขาย ลมฟา้ อากาศ การศกึ ษาและอาชพี

การเดนิ ทางทอ่ งเท่ียว การบรกิ าร สถานที่ ภาษา

และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปน็ วงคาศัพท์

สะสมประมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐ คา (คาศพั ท์

ทีเ่ ป็นรปู ธรรมและนามธรรม)

การตีความ/ถา่ ยโอนขอ้ มลู ให้สมั พนั ธ์กบั สื่อทีไ่ ม่ใช่

ความเรียง เชน่ สญั ลกั ษณ์ เครื่องหมาย กราฟ

แผนภมู ิ ตาราง ภาพสัตว์ สิ่งของ บคุ คล สถานท่ี

ต่างๆ โดยใช้ Comparison of adjectives/

adverbs/ Contrast : but, although/

Quantity words เช่น many/ much/ a lot

of/ lots of/ some/ any /a few/ few/ a

little/ little etc.

ม.๓ ๔. เลอื ก/ระบหุ ัวขอ้ เร่ือง ใจความ การจบั ใจความสาคญั เช่น หัวขอ้ เรอื่ ง ใจความ
สาคัญ รายละเอียดสนบั สนุน และ สาคญั รายละเอียดสนับสนนุ จากสื่อสิง่ พมิ พแ์ ละ

แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรอ่ื งท่ี สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น หนังสือพมิ พ์ วารสาร วิทยุ

ฟังและอา่ นจากสื่อประเภทต่างๆ โทรทัศน์ เวบ็ ไซด์บนอินเทอร์เน็ต

พรอ้ มท้งั ให้เหตุผลและยกตัวอย่าง คาถามเก่ียวกับใจความสาคญั ของเร่อื ง เช่น ใคร

ประกอบ ทาอะไร ท่ไี หน เมื่อไร อยา่ งไร ทาไม ใช่หรือไม่

- Yes/No Question

- Wh-Question

- Or-Question

etc.

ประโยคท่ใี ชใ้ นการแสดงความคิดเห็น การให้

เหตผุ ลและการยกตวั อย่าง เช่น I think…/ I

feel…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I

don’t believe…/ I have no idea…

- if clauses

- so…that/such…that

๒๑

ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- คาสนั ธาน (conjunctions) and/ but/ or/

because/ so/ before/ after etc.

- Infinitive pronouns :some/ any/

someone/ anyone/ everyone/ one/ ones

etc.

- Tenses : present simple/ present

continuous/ present perfect/ past simple/

future tense etc.

- Simple sentence/ Compound

sentence/ Complex sentence

ม. ๔-๖ ๑. ปฏิบัตติ ามคาแนะนาในค่มู อื คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย คาบรรยาย เชน่

การใช้งานตา่ งๆ คาชแ้ี จง ประกาศเตอื นภัยต่างๆ ยาและการใชย้ า การใช้

คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟังและ อุปกรณแ์ ละสิง่ ของ การสืบคน้ ข้อมูลทาง

อ่าน อนิ เทอร์เน็ต

- Modal verb : should/ ought to/ need/

have to/ must+ verb ท่ีเป็น infinitive

without to เช่น You should have it after

meal. (Active Voice)/The doses must be

divided. (Passive Voice)

- Direct/Indirect Speech

- คาสันธาน )conjunction (and/ but/ or/

so/ not only…but also/ both…and/ as

well as/ after/ because etc.

- ตวั เชอื่ ม )connective words( เชน่ First,…

Second,… Third,… Fourth,… Next,… Then,…

Finally,… etc.

ม. ๔-๖ ๒. อ่านออกเสยี งขอ้ ความ ขา่ ว ขอ้ ความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง

ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครส้นั การใช้พจนานกุ รม หลักการอ่าน

และบทละครสัน้ (skit) ถกู ตอ้ งตาม ออกเสียง เช่น

หลกั การอ่าน - การออกเสียงพยัญชนะตน้ คาและพยญั ชนะท้าย

คา สระเสียงสัน้ สระเสยี งยาว สระประสม

- การออกเสยี งเน้นหนกั -เบา ในคาและกลมุ่ คา

- การออกเสยี งตามระดบั เสียงสงู -ต่า ในประโยค

- การออกเสียงเชอื่ มโยงในข้อความ

๒๒

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน

- การอ่านบทรอ้ ยกรองตามจังหวะ

ม. ๔-๖ ๓. อธบิ ายและเขยี นประโยค ประโยคและข้อความ

และขอ้ ความให้สัมพนั ธ์กบั สือ่ ที่ การตคี วาม/ถา่ ยโอนข้อมลู ให้สัมพันธก์ บั สอ่ื ทไ่ี มใ่ ช่

ไมใ่ ชค่ วามเรียงรูปแบบต่างๆ ทอี่ ่าน ความเรยี ง เชน่ ภาพ แผนผงั กราฟ แผนภูมิ

รวมทงั้ ระบแุ ละเขียนสื่อท่ไี ม่ใช่ ตาราง อักษรยอ่ จากกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น ด้วย

ความเรียงรปู แบบตา่ งๆ ให้สัมพนั ธ์ การพดู และการเขยี นอธบิ าย โดยใช้

กบั ประโยค และข้อความทฟ่ี งั หรอื Comparison of adjectives/ adverbs/

อ่าน Contrast : but, although, however, in spite

of…/ Logical connectives เชน่ caused by/

followed by/ consist of. etc.

ม. ๔-๖ ๔. จับใจความสาคญั วิเคราะห์ เร่ืองท่เี ปน็ สารคดีและบนั เทงิ คดี

ความสรุปความ ตีความ และแสดง การจับใจความสาคญั การสรปุ ความ การ

ความคิดเหน็ จากการฟังและอ่าน วเิ คราะห์ความการตีความ การใช้

เรอื่ งทเ่ี ป็นสารคดแี ละบนั เทงิ คดี skimming/scanning/guessing/context clue

พรอ้ มทั้งให้เหตผุ ลและยกตัวอยา่ ง ประโยคท่ใี ช้ในการแสดงความคิดเห็น การให้

ประกอบ เหตผุ ลและการยกตัวอยา่ ง เช่น I believe…/ I

agree with… but…/ Well, I must say…/

What do you think of /about…?/I

think/don’t think…?/ What’s your opinion

about…?/ In my opinion…/

- if clauses

- so…that/such…that

- too to…/enough to…

- on the other hand,…

- other )s)/another/the other (s)

- คาสันธาน )conjunctions(

because/and/so/but/

however/because of/due to/owing to

etc.

- Infinitive pronouns : some, any,

someone, anyone, everyone, one, ones

etc.

๒๓

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- Tenses : present simple/present
continuous/

present perfect/past simple/future
tense etc.
- Simple sentence/Compound
sentence/Complex sentence

สาระท่ี ๑ ภาษาเพื่อการสือ่ สาร

มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นขอ้ มูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก

และความคิดเหน็ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ม.๑ ๑. สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูล ภาษาทใี่ ช้ในการส่อื สารระหว่างบุคคล เช่น การ

เกย่ี วกบั ตนเอง กจิ กรรม และ ทกั ทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การ

สถานการณ์ต่างๆ ในชวี ติ ประจาวัน พูดแทรกอย่างสุภาพ การชกั ชวน ประโยค/

ข้อความ ทใ่ี ช้แนะนาตนเอง เพ่ือน และบุคคล

ใกล้ตัว และสานวนการตอบรบั การแลกเปล่ียน

ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง กจิ กรรม สถานการณ์ตา่ งๆ

ในชวี ติ ประจาวัน

ม.๑ ๒. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา และ คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจง

คาชแี้ จง ตามสถานการณ์

๓. พดู และเขียนแสดงความ ภาษาทใี่ ชใ้ นการแสดงความตอ้ งการ ขอความ

ตอ้ งการ ขอความช่วยเหลือ ตอบ ช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธการให้ความ

รับและปฏิเสธการให้ความ ช่วยเหลือ เชน่

ช่วยเหลอื ในสถานการณ์ต่างๆ Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/

อยา่ งเหมาะสม May/Can/Could…?/ Yes,../Please

do./Certainly./

Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./

Need some help?/ What can I do to

help?/ Would you like any help?/ I’m

afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but…

๒๔

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.๑ ๔. พดู และเขยี นเพ่ือขอและให้ คาศัพท์ สานวน ประโยค และข้อความที่ใช้ใน

ขอ้ มูล และแสดงความคดิ เห็น การขอและใหข้ ้อมูล และแสดงความคิดเหน็

เก่ยี วกบั เร่ืองทีฟ่ ังหรอื อ่านอย่าง เกยี่ วกบั เรือ่ งท่ีฟังหรืออา่ น

เหมาะสม

ม.๑ ๕. พูดและเขียนแสดงความรู้สึก ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรสู้ กึ ความคดิ เหน็

และความคิดเห็นของตนเองเก่ยี วกบั และใหเ้ หตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไมช่ อบ ดใี จ

เร่อื งต่างๆ ใกลต้ วั กจิ กรรมต่างๆ เสยี ใจ มคี วามสขุ เศร้า หวิ รสชาติ สวย นา่

พร้อมทัง้ ใหเ้ หตผุ ลส้ันๆ ประกอบ เกลยี ด เสียงดัง ดี ไมด่ ี จากขา่ ว เหตกุ ารณ์

อย่างเหมาะสม สถานการณ์ ในชวี ิตประจาวัน เชน่

Nice/ Very nice./ Well done!/

Congratulations.

I like… because… / I love…because…/

I feel… because…

I think…/ I believe…/ I agree/disagree…

I don’t believe…/ I have no idea…/ Oh no!

etc.

ม.๒ ๑. สนทนา แลกเปล่ยี นขอ้ มูล ภาษาที่ใชใ้ นการส่อื สารระหวา่ งบคุ คล เช่น การ

เก่ียวกบั ตนเอง เรื่องต่างๆ ใกลต้ ัว ทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การ

และสถานการณต์ ่างๆ ใน พดู แทรกอย่างสภุ าพ การชกั ชวน ประโยค/

ชีวติ ประจาวันอย่างเหมาะสม ข้อความ ท่ีใช้แนะนาตนเอง เพ่ือน และบคุ คล

ใกลต้ ัว และสานวนการตอบรับ การแลกเปล่ยี น

ข้อมลู เกี่ยวกบั ตนเอง เรือ่ งใกล้ตวั สถานการณ์

ตา่ งๆ ในชีวิตประจาวนั

ม.๒ ๒. ใชค้ าขอรอ้ ง ให้คาแนะนา คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชีแ้ จง และคาอธบิ าย

คาช้แี จง และคาอธบิ ายตาม

สถานการณ์

ม.๒ ๓. พดู และเขียนแสดงความตอ้ งการ ภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงความตอ้ งการ เสนอและให้

เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบ ความช่วยเหลอื ตอบรบั และปฏิเสธการให้ความ

รบั และปฏเิ สธการให้ความช่วยเหลือ ชว่ ยเหลือในสถานการณต์ ่างๆ เชน่

ในสถานการณต์ ่างๆ อย่างเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need… /

May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./

Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right

ahead./

Need some help?/ What can I do to

๒๕

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

help?/

Would you like any help?/ I’m afraid…/

I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc.

ม.๒ ๔. พูดและเขยี นเพอื่ ขอและให้ คาศพั ท์ สานวน ประโยค และข้อความที่ใช้ใน

ข้อมลู บรรยาย และแสดงความ การขอและใหข้ ้อมูล บรรยาย และแสดงความ

คิดเหน็ เกย่ี วกบั เรือ่ งท่ฟี งั หรืออา่ น คิดเหน็ เกี่ยวกับเร่อื งที่ฟงั หรืออ่าน

อยา่ งเหมาะสม

ม.๒ ๕. พดู และเขียนแสดงความรู้สึก ภาษาที่ใชใ้ นการแสดงความรู้สกึ ความคิดเหน็

และความคดิ เหน็ ของตนเอง และใหเ้ หตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ

เก่ียวกบั เรื่องต่างๆ กิจกรรม และ เสยี ใจ มคี วามสุข เศร้า หวิ รสชาติ สวย น่า

ประสบการณ์ พร้อมทั้งใหเ้ หตุผล เกลยี ด เสยี งดัง ดี ไมด่ ี จากขา่ ว เหตกุ ารณ์

ประกอบอย่าง เหมาะสม สถานการณ์ ในชวี ติ ประจาวนั เชน่

Nice./ Very nice./ Well done!/

Congratulations on… / I like…because…/ I

love…because…/ I feel… because…/ I

think…/ I believe…/ I agree/ disagree…/

I’m afraid I don’t like…/ I don’t believe…/

I have no idea…/ Oh no! etc.

ม.๓ ๑. สนทนาและเขยี นโตต้ อบข้อมลู ภาษาท่ีใชใ้ นการสื่อสารระหว่างบุคคล เชน่ การ

เก่ยี วกับตนเอง เรอื่ งตา่ งๆใกล้ตัว ทักทาย กลา่ วลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การ

สถานการณ์ ขา่ ว เรื่องทอี่ ยู่ใน พดู แทรกอย่างสภุ าพ การชักชวน การ

ความสนใจของสังคมและสื่อสาร แลกเปลีย่ นขอ้ มูลเกยี่ วกบั ตนเอง เรือ่ งใกล้ตัว

อย่างตอ่ เนอื่ งและเหมาะสม สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การสนทนา/

เขยี นขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเองและบุคคลใกลต้ ัว

สถานการณ์ ข่าว เรือ่ งที่อยู่ในความสนใจใน

ชีวติ ประจาวนั

ม.๓ ๒. ใชค้ าขอร้อง ให้คาแนะนา คาขอร้อง คาแนะนา คาช้ีแจง คาอธิบาย ทม่ี ี

คาช้ีแจง และคาอธิบายอย่าง ข้ันตอนซับซ้อน

เหมาะสม

ม.๓ ๓. พดู และเขียนแสดงความตอ้ งการ ภาษาที่ใช้ในการแสดงความตอ้ งการ เสนอและให้

เสนอและใหค้ วามชว่ ยเหลือ ตอบ ความช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธการให้ความ

รบั และปฏเิ สธการให้ความช่วยเหลอื ชว่ ยเหลือในสถานการณต์ ่างๆ เช่น

๒๖

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ในสถานการณต์ ่างๆ อย่างเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/

May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./

Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right

ahead./ Need some help?/ What can I do

to help?/ Would you like any help?/ I’m

afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but…

etc.

ม.๓ ๔. พดู และเขยี นเพ่ือขอและให้ คาศพั ท์ สานวน ประโยค และขอ้ ความท่ีใช้ใน

ข้อมูล อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และ การขอและให้ข้อมูล อธบิ าย เปรียบเทยี บ และ

แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เร่ืองท่ี แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั เร่ืองทฟี่ งั หรอื อา่ น

ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม

ม.๓ ๕. พูดและเขียนบรรยายความร้สู กึ ภาษาทใี่ ช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น

และความคดิ เห็นของตนเอง และให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดใี จ

เก่ยี วกับเร่อื งตา่ งๆ กิจกรรม เสียใจ มีความสขุ เศรา้ หวิ รสชาติ สวย น่า

ประสบการณ์ และขา่ ว/เหตุการณ์ เกลยี ด เสยี งดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตกุ ารณ์

พรอ้ มท้ังใหเ้ หตผุ ลประกอบอย่าง สถานการณ์ ในชวี ติ ประจาวัน เชน่

เหมาะสม Nice./ Very nice./ Well done!/

Congratulations on... / I like…because…/ I

love… because… /

I feel… because…I think…/ I believe…/

I agree/disagree…/ I’m afraid …/ I don’t

like… I don’t believe…/ I have no idea…/

Oh no! etc.

ม.๔-๖ ๑. สนทนาและเขยี นโตต้ อบข้อมลู ภาษาทใ่ี ช้ในการสื่อสารระหว่างบคุ คล เช่น การ

เก่ยี วกับตนเองและเรอื่ งตา่ ง ๆ ทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคณุ ขอโทษ ชมเชย การ

ใกลต้ วั ประสบการณ์ สถานการณ์ พูดแทรกอย่างสุภาพ การชกั ชวน การ

ขา่ ว / เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ท่ีอยู่ใน แลกเปล่ยี นข้อมูลเก่ียวกบั ตนเอง เรอ่ื งใกลต้ วั

ความสนใจของสงั คม และสอ่ื สาร สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การสนทนา/

อย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม เขยี นขอ้ มลู เกยี่ วกับตนเองและบุคคลใกล้ตัว

ประสบการณ์ สถานการณ์ต่างๆ ข่าวเหตกุ ารณ์

ประเดน็ ท่อี ยใู่ นความสนใจของสังคม

๒๗

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ม.๔-๖
ม.๔-๖ ๒. เลอื กและใช้คาขอรอ้ ง ให้ คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชแ้ี จง คาอธบิ าย ท่ีมี

ม.๔-๖ คาแนะนา คาชีแ้ จง คาอธิบาย ข้ันตอนซบั ซอ้ น
ม.๔-๖
อย่างคลอ่ งแคลว่

๓.พดู และเขียนแสดงความตอ้ งการ ภาษาทใี่ ช้ในการแสดงความตอ้ งการ เสนอและให้

เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ ความชว่ ยเหลอื ตอบรบั และปฏิเสธการใหค้ วาม

ความชว่ ยเหลือในสถานการณ์ ช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ เชน่

จาลองหรอื สถานการณ์จริงอย่าง Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/

เหมาะสม May/Can/Could…?/Would you

please…?Yes,../ Please do. /Certainly./ Yes,

of course./Sure./ Need some help?/ What

can I do to help?/ Would you like any

help?/ If you like I could…/ What can I do

to help?/ Would you like any help?/

Would you like me to help you?/ If you

need anything, please…/ Is there anything

I can do?/ I’ll do it for you./ I’m afraid…/

I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc.

๔. พูดและเขียนเพ่อื ขอและให้ คาศพั ท์ สานวน ประโยคและข้อความท่ีใชใ้ นการ

ขอ้ มูล บรรยาย อธบิ าย ขอและใหข้ ้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทยี บ

เปรยี บเทียบ และแสดงความ และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับประเดน็ /ข่าว/

คิดเหน็ เกีย่ วกับเรอ่ื ง/ประเดน็ / เหตกุ ารณ์ท่ีฟังและอ่าน

ข่าว/เหตุการณท์ ่ฟี งั และอ่านอยา่ ง

เหมาะสม

๕. พูดและเขยี นบรรยายความรสู้ กึ ภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงความรสู้ กึ ความคิดเห็น

และแสดงความคดิ เห็นของตนเอง และใหเ้ หตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไมช่ อบ ดีใจ

เก่ยี วกบั เรือ่ งต่างๆ กิจกรรม เสียใจ มคี วามสขุ เศรา้ หวิ รสชาติ สวย นา่

ประสบการณ์ และขา่ ว/เหตกุ ารณ์ เกลียด เสยี งดัง ดี ไมด่ ี จากข่าว เหตกุ ารณ์

อย่างมีเหตผุ ล สถานการณ์ ในชีวิตประจาวนั เช่น

Nice./Very nice./Well

done!/Congratulations on…

I like… because…/ I love… because…/

I feel… because…/I think…/I believe…/

I agree/disagree…/ I’m afraid I don’t like…/

I don’t believe…/I have no idea…/ Oh no!

๒๘

สาระท่ี ๑ ภาษาเพื่อการสือ่ สาร

มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เห็นในเรอ่ื งตา่ งๆ โดยการ
พดู และการเขียน

ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.๑ ๑. พูดและเขยี นบรรยายเกย่ี วกับ ประโยคและข้อความที่ใช้ในการบรรยายเกยี่ วกับ

ตนเอง กิจวัตรประจาวัน ตนเอง กิจวตั รประจาวัน ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม

ประสบการณ์ และสิ่งแวดลอ้ ม ใกล้ตวั เชน่ การเดนิ ทาง การรับประทานอาหาร

ใกล้ตวั การเรียน การเล่นกีฬา ฟงั เพลง การอ่านหนังสอื

การทอ่ งเท่ยี ว

๒. พูด/เขยี น สรปุ ใจความสาคญั / การจับใจความสาคญั /แกน่ สาระ การวิเคราะห์

แกน่ สาระ(theme) ท่ีไดจ้ ากการ ความเร่ือง/เหตกุ ารณ์ทีอ่ ยู่ในความสนใจ เช่น

วเิ คราะห์เรือ่ ง/เหตกุ ารณท์ อี่ ยใู่ น ประสบการณ์ ภาพยนตร์ กฬี า เพลง

ความสนใจของสังคม

๓. พูด/เขยี นแสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นและการให้เหตผุ ลประกอบ

เกยี่ วกับกิจกรรมหรอื เรื่องต่างๆ เก่ยี วกบั กจิ กรรมหรือเรอ่ื งต่างๆ ใกล้ตวั

ใกลต้ ัว พรอ้ มท้ังให้เหตุผลสนั้ ๆ

ประกอบ

ม.๒ ๑. พดู และเขียนบรรยายเกี่ยวกับ การบรรยายขอ้ มลู เกีย่ วกบั ตนเอง กิจวัตร

ตนเอง กิจวัตรประจาวนั ประจาวนั ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณท์ ่ีอยู่ใน

ประสบการณ์ และข่าว/เหตกุ ารณ์ ความสนใจของสงั คม เช่น การเดนิ ทาง การ

ทอี่ ยใู่ นความสนใจของสังคม รับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การฟงั

เพลง การอ่านหนงั สือ การท่องเที่ยว การศึกษา

สภาพสังคม เศรษฐกจิ

๒. พูดและเขยี นสรุปใจความ การจับใจความสาคญั /แกน่ สาระ หวั ข้อเรอ่ื ง

สาคัญ/แกน่ สาระ หัวข้อเรอื่ ง การวเิ คราะห์เร่ือง/ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ที่อยูใ่ นความ

(topic) ทไ่ี ด้จากการวิเคราะห์เรอ่ื ง/ สนใจ เชน่ ประสบการณ์ ภาพยนตร์ กีฬา

ข่าว/เหตุการณ์ ท่อี ย่ใู นความสนใจ ดนตรี เพลง

ของสงั คม

๓. พูดและเขยี นแสดงความคดิ เห็น การแสดงความคิดเหน็ และการใหเ้ หตุผลประกอบ

เกยี่ วกับกจิ กรรม เรอ่ื งต่างๆ ใกล้ตวั เก่ยี วกบั กจิ กรรม เรือ่ งต่างๆ ใกลต้ ัว และ

๒๙

ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

และประสบการณ์ พรอ้ มท้ังให้ ประสบการณ์

เหตผุ ลสน้ั ๆ ประกอบ

ม.๓ ๑. พูดและเขียนบรรยายเก่ียวกับ การบรรยายเกีย่ วกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/

ตนเอง ประสบการณ์ ขา่ ว/ เหตกุ ารณ์/ประเด็นทอี่ ยู่ในความสนใจของสงั คม

เหตกุ ารณ์ / เรื่อง/ ประเดน็ ต่างๆ เชน่ การเดนิ ทาง การรบั ประทานอาหาร การเลน่

ทีอ่ ยูใ่ นความสนใจของสังคม กฬี า/ดนตรี การฟังเพลง การอา่ นหนงั สอื การ

ทอ่ งเทีย่ ว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกจิ

๒. พูดและเขียนสรุปใจความ การจบั ใจความสาคญั /แกน่ สาระ หัวขอ้ เรอื่ ง

สาคัญ/แกน่ สาระ หวั ขอ้ เรื่องทไี่ ด้ การวิเคราะหเ์ รอ่ื ง/ขา่ ว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่

จากการวเิ คราะหเ์ รอ่ื ง/ขา่ ว/ อยใู่ นความสนใจ เชน่ ประสบการณ์ เหตุการณ์

เหตุการณ์/สถานการณ์ทอ่ี ยใู่ น สถานการณต์ ่างๆ ภาพยนตร์ กีฬา ดนตรี เพลง

ความสนใจของสังคม

๓. พูดและเขียนแสดงความคดิ เห็น การแสดงความคิดเห็น และการให้เหตุผล

เกย่ี วกบั กจิ กรรม ประสบการณ์ ประกอบเกี่ยวกับกจิ กรรม ประสบการณ์ และ

และเหตกุ ารณ์ พร้อมทง้ั ให้เหตุผล เหตกุ ารณ์

ประกอบ

ม.๔-๖ ๑. พูดและเขียนนาเสนอขอ้ มลู การนาเสนอขอ้ มูลเก่ยี วกับตนเอง ประสบการณ์

เก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ เร่อื งและประเดน็ ท่ีอยใู่ นความ

ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็น สนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การรับประทาน

ต่างๆ ตามความสนใจของสงั คม อาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การดูภาพยนตร์ การ

ฟังเพลง การเลย้ี งสตั วก์ ารอ่านหนงั สอื การ

ทอ่ งเทย่ี ว การศกึ ษา สภาพสงั คม เศรษฐกิจ

๒. พดู และเขียนสรปุ ใจความ การจบั ใจความสาคญั /แกน่ สาระ

สาคัญ/แกน่ สาระท่ีไดจ้ ากการ การวเิ คราะห์เร่อื ง กจิ กรรม ขา่ ว เหตุการณ์ และ

วเิ คราะห์เรอ่ื ง กจิ กรรม ข่าว สถานการณ์ตามความสนใจ

เหตุการณ์ และสถานการณต์ าม

ความสนใจ

๓. พูดและเขยี นแสดงความคดิ เห็น การแสดงความคิดเห็น การใหเ้ หตุผลประกอบและ

เก่ียวกับกจิ กรรม ประสบการณ์ ยกตัวอย่างเกี่ยวกับกจิ กรรม ประสบการณ์ และ

และเหตกุ ารณ์ ท้งั ในท้องถิ่น เหตุการณใ์ นท้องถ่ิน สังคม และโลก

สังคม และโลก พรอ้ มท้ังให้

เหตุผลและยกตัวอยา่ งประกอบ

๓๐

สาระที่ ๒ ภาษาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใชไ้ ด้
อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.๑ ๑.ใช้ภาษา น้าเสียง และกริ ยิ า การใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการ

ทา่ ทางสุภาพเหมาะสม ตาม สนทนา ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของ

มารยาทสังคม และวัฒนธรรมของ เจา้ ของภาษา เชน่ การขอบคุณ ขอโทษ การ

เจ้าของภาษา ชมเชย การใชส้ ีหน้าท่าทางประกอบ การพูด

ขณะแนะนาตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ

การแสดงความรสู้ กึ ชอบ/ไม่ชอบ การกลา่ วอวย

พร การแสดงอาการตอบรับหรอื ปฏิเสธ

๒. บรรยายเกย่ี วกบั เทศกาล ความเปน็ มาและความสาคัญของเทศกาล วัน

วันสาคัญ ชีวิตความเปน็ อยู่ และ สาคญั ชวี ติ ความเปน็ อยู่ และประเพณขี อง

ประเพณีของเจ้าของภาษา เจ้าของภาษา

๓. เข้ารว่ ม/จดั กจิ กรรมทางภาษา กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เช่น การเล่น

และวัฒนธรรมตามความสนใจ เกม การร้องเพลง การเลา่ นทิ าน บทบาทสมมุติ

วันขอบคุณพระเจ้า วนั ครสิ ต์มาส วนั ขน้ึ ปีใหม่

วนั วาเลนไทน์

ม.๒ ๑. ใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกริ ยิ า การใชภ้ าษา นา้ เสียง และกริ ยิ าท่าทางในการ

ทา่ ทางเหมาะกบั บุคคลและโอกาส สนทนา ตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของ

ตามมารยาทสังคม และวฒั นธรรม เจา้ ของภาษา เช่น การขอบคุณ ขอโทษ การ

ของเจ้าของภาษา ชมเชย การใช้สหี นา้ ทา่ ทางประกอบ การพดู ขณะ

แนะนาตนเอง การสมั ผสั มอื การโบกมอื การ

แสดงความร้สู กึ ชอบ/ไม่ชอบ การกล่าวอวยพร

การแสดงอาการตอบรบั หรือปฏิเสธ

๒. อธิบายเกี่ยวกับเทศกาล วัน ความเปน็ มาและความสาคัญของเทศกาล วนั

สาคัญ สาคัญ ชวี ิตความเปน็ อยู่ และประเพณขี อง

ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของ เจ้าของภาษา

เจ้าของภาษา

๓. เข้าร่วม/จัดกจิ กรรมทางภาษา กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เช่น การเล่น

และวัฒนธรรมตามความสนใจ เกม การรอ้ งเพลง การเล่านทิ าน บทบาทสมมุติ

วนั ขอบคณุ พระเจา้ วันครสิ ต์มาส วันขึ้นปีใหม่

วันวาเลนไทน์

๓๑

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๓ ๑. เลอื กใช้ภาษา น้าเสียง และกริ ยิ า การเลอื กใช้ภาษา น้าเสียง และกริ ิยาทา่ ทางใน

ท่าทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส การสนทนา ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรม

ตามมารยาทสงั คม และวัฒนธรรม ของเจา้ ของภาษา เช่น การขอบคณุ ขอโทษ

ของเจ้าของภาษา การชมเชย การใช้สหี นา้ ท่าทางประกอบ การ

พูด ขณะแนะนาตนเอง การสัมผสั มือ การโบก

มอื การแสดงความ ร้สู ึกชอบ/ไมช่ อบ การกล่าว

อวยพร การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏิเสธ

๒. อธิบายเกี่ยวกับชวี ิตความเป็นอยู่ ชวี ิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี

ขนบธรรมเนียมและประเพณีของ ของเจ้าของภาษา

เจ้าของภาษา

๓. เข้ารว่ ม/จดั กิจกรรมทางภาษา กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน่ การเล่น

และวฒั นธรรมตามความสนใจ เกม การร้องเพลง การเล่านิทาน บทบาทสมมตุ ิ

วนั ขอบคุณพระเจ้า วนั ครสิ ตม์ าส วนั ข้ึนปใี หม่

วนั วาเลนไทน์

ม.๔-๖ ๑. เลอื กใช้ภาษา น้าเสยี ง และกริ ิยา การเลอื กใชภ้ าษา นา้ เสยี ง และกิรยิ าท่าทางใน

ทา่ ทางเหมาะกับระดับของบุคคล การสนทนา ระดบั ของภาษา มารยาทสงั คมและ

โอกาส และสถานท่ี ตามมารยาท วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา เชน่ การขอบคุณ

สงั คมและวัฒนธรรมของเจ้าของ ขอโทษ การชมเชย การใช้สหี น้าท่าทาง

ภาษา ประกอบ การพูดขณะแนะนาตนเอง การสัมผัส

มอื การโบกมอื การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ

การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือ

ปฏเิ สธ

๒. อธบิ าย/อภิปรายวถิ ีชวี ิต วถิ ีชีวติ ความคดิ ความเช่ือ และทมี่ าของ

ความคิด ความเช่อื และทมี่ าของ ขนบธรรมเนยี ม และประเพณีของเจ้าของภาษา

ขนบธรรมเนยี ม และประเพณีของ

เจ้าของภาษา

๓. เข้าร่วม แนะนา และจัดกจิ กรรม กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม เชน่ การเลน่

ทางภาษาและวัฒนธรรมอย่าง เกม การรอ้ งเพลง การเลา่ นิทาน/เร่ืองจาก

เหมาะสม ภาพยนตร์ บทบาทสมมุติ ละครสน้ั วันขอบคณุ

พระเจา้ วันคริสต์มาส วนั ข้นึ ปใี หม่ วนั วาเลน

ไทน์

๓๒

สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๑ ๑. บอกความเหมือนและความ ความเหมอื น/ความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียง

แตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียง ประโยคชนิดตา่ งๆ ของเจา้ ของภาษากับของไทย

ประโยคชนดิ ต่างๆ การใช้ การใช้เครอ่ื งหมายวรรคตอนและการลาดบั คา

เครื่องหมายวรรคตอน และการ ตามโครงสร้างประโยคของภาษาตา่ งประเทศและ

ลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของ ภาษาไทย

ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

๒. เปรียบเทยี บความเหมือนและ ความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งเทศกาล

ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง วันสาคัญ และชีวิตความเป็นอยู่ของ

งานฉลอง วนั สาคญั และชวี ติ เจ้าของภาษากบั ของไทย

ความเป็นอยขู่ องเจ้าของภาษากับ

ของไทย

ม.๒ ๑. เปรียบเทยี บและอธบิ ายความ การเปรยี บเทยี บและการอธิบายความเหมอื น/

เหมอื นและความแตกต่างระหว่าง ความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนดิ

การออกเสยี งประโยคชนิดต่างๆ ตา่ งๆ ของเจ้าของภาษากับของไทย การใช้

และการลาดบั คาตามโครงสร้าง เคร่ืองหมายวรรคตอนและการลาดบั คาตาม

ประโยค ของภาษาต่างประเทศ โครงสรา้ งประโยคของภาษาตา่ งประเทศและ

และภาษาไทย ภาษาไทย

๒ เปรยี บเทยี บและอธบิ ายความ การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมือนและ

เหมือนและความแตกต่างระหวา่ ง ความแตกตา่ งระหวา่ งชีวิตความเปน็ อยแู่ ละ

ชีวติ ความเปน็ อยแู่ ละวฒั นธรรม วฒั นธรรมของเจ้าของภาษากบั ของไทย

ของเจา้ ของภาษากบั ของไทย

ม.๓ ๑. เปรยี บเทยี บและอธบิ ายความ การเปรยี บเทียบและการอธบิ ายความเหมือน/

เหมอื นและความแตกต่างระหวา่ ง ความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิด

การออกเสยี งประโยคชนิดต่างๆ ตา่ งๆ

และการลาดับคาตามโครงสร้าง ของเจา้ ของภาษากับของไทย การใชเ้ คร่ืองหมาย

ประโยคของภาษาต่างประเทศและ วรรคตอนและการลาดบั คาตามโครงสรา้ งประโยค

ภาษาไทย ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

๒. เปรียบเทยี บและอธิบายความ การเปรยี บเทียบและการอธบิ ายความเหมือนและ

เหมือนและความแตกต่างระหว่าง ความแตกตา่ งระหว่างชีวิตความเปน็ อยู่และ

ชวี ติ ความเปน็ อยู่และวัฒนธรรม วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย

ของเจา้ ของภาษากบั ของไทย และ การนาวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษาไปใช้

๓๓

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

นาไปใช้อย่างเหมาะสม

ม.๔-๖ ๑. อธบิ าย/เปรยี บเทยี บความ การอธบิ าย/การเปรียบเทยี บความแตกต่าง

แตกต่างระหวา่ งโครงสร้างประโยค ระหว่างโครงสรา้ งประโยค ข้อความ สานวน คา

ขอ้ ความ สานวน คาพงั เพย พงั เพย สภุ าษิต และบทกลอนของ

สภุ าษติ และบทกลอนของ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

ภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย

๒. วิเคราะห์/อภิปราย ความ การวิเคราะห์/การอภิปรายความเหมอื นและความ

เหมอื นและความแตกต่างระหว่าง แตกตา่ งระหว่างวถิ ชี ีวติ ความเช่อื และวฒั นธรรม

วถิ ีชวี ติ ความเช่อื และวฒั นธรรม ของเจา้ ของภาษากับของไทย การนาวัฒนธรรม

ของเจ้าของภาษากับของไทยและ ของเจ้าของภาษาไปใช้

นาไปใชอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล

สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั กลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ่นื

มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กบั กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ่นื และเปน็
พนื้ ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศน์ของตน

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.๑ ๑. คน้ ควา้ รวบรวม และสรปุ ขอ้ มลู / การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการ

ขอ้ เทจ็ จรงิ ที่เกี่ยวข้องกับกลมุ่ สาระ นาเสนอข้อมลู /ขอ้ เท็จจริงทเ่ี ก่ยี วข้องกบั กลุ่ม

การเรยี นร้อู นื่ จากแหล่งเรยี นรู้ และ สาระการเรยี นรอู้ ืน่

นาเสนอดว้ ยการพูด/การเขยี น

ม.๒ ๑. ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมลู / การคน้ ควา้ การรวบรวม การสรปุ และการ

ข้อเทจ็ จริงที่เกย่ี วขอ้ งกับกล่มุ สาระ นาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริงทีเ่ กี่ยวข้องกบั กลุ่ม

การเรียนรอู้ ืน่ จากแหล่งเรยี นรู้ และ สาระการเรยี นร้อู ่ืน

นาเสนอดว้ ยการพดู /การเขยี น

ม.๓ ๑. คน้ คว้า รวบรวม และสรปุ ขอ้ มลู / การคน้ ควา้ การรวบรวม การสรปุ และการ

ขอ้ เทจ็ จริงทเ่ี กี่ยวข้องกับกลมุ่ สาระ นาเสนอขอ้ มลู /ข้อเท็จจริงท่ีเกีย่ วข้องกบั กลมุ่

การเรียนรอู้ นื่ จากแหลง่ เรียนรู้ และ สาระการเรียนรู้อ่ืน

นาเสนอด้วยการพูดและการเขยี น

ม.๔-๖ ๑. ค้นคว้า/สืบคน้ บนั ทึก สรปุ และ การค้นคว้า/การสบื คน้ การบนั ทกึ การสรปุ

แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั ขอ้ มลู ท่ี การแสดงความคิดเหน็ และนาเสนอข้อมลู ท่ี

เกย่ี วขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรียนร้อู น่ื เกี่ยวขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่ง

จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ และนาเสนอ เรยี นรู้ตา่ งๆ

ดว้ ยการพดู และการเขยี น

๓๔

สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพนั ธก์ ับชมุ ชนและโลก

มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม

ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.๑ ๑. ใชภ้ าษาสือ่ สารในสถานการณ์จริง/ การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จรงิ /

สถานการณจ์ าลองทเี่ กิดข้ึนในห้องเรยี น สถานการณจ์ าลองท่เี กิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี นและ

และสถานศึกษา สถานศึกษา

ม.๒ ๑. ใชภ้ าษาสอื่ สารในสถานการณ์จรงิ / การใช้ภาษาสือ่ สารในสถานการณ์จริง/

สถานการณจ์ าลองท่ีเกิดข้ึนในหอ้ งเรยี น สถานการณ์จาลองทีเ่ กดิ ขึน้ ในห้องเรยี น

สถานศกึ ษา และชุมชน สถานศกึ ษา และชมุ ชน

ม.๓ ๑. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จรงิ / การใชภ้ าษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/

สถานการณ์จาลองที่เกดิ ขึ้นในห้องเรียน สถานการณ์จาลองทีเ่ กิดขึ้นในหอ้ งเรยี น

สถานศึกษา ชุมชน และสังคม สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม

ม.๔-๖ ๑. ใช้ภาษาส่อื สารในสถานการณ์จรงิ / การใชภ้ าษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/

สถานการณจ์ าลองท่เี กิดข้ึนในหอ้ งเรยี น สถานการณ์จาลองเสมือนจรงิ ท่ีเกิดขึ้นใน

สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม หอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม

สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพนั ธก์ ับชมุ ชนและโลก

มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเปน็ เคร่ืองมอื พ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี
และการแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับสังคมโลก

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.๑ ๑. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบค้น/ การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ /การ

คน้ ควา้ ความรู้/ขอ้ มลู ตา่ งๆ จากสือ่ และ คน้ คว้าความรู้/ขอ้ มลู ต่างๆ จากสื่อและแหล่ง

แหลง่ การเรยี นรูต้ ่างๆ ในการศึกษาตอ่ การเรียนรู้ตา่ งๆ ในการศึกษาต่อและ

และประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ

ม.๒ ๑. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ / การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบค้น/การ

คน้ คว้า รวบรวมและสรุปความรู้/ข้อมลู คน้ คว้าความรู้/ขอ้ มลู ต่างๆ จากสอื่ และแหลง่

ตา่ งๆ จากสื่อและแหลง่ การเรยี นรู้ต่างๆ การเรียนรู้ตา่ งๆ ในการศึกษาตอ่ และ

ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี ประกอบอาชพี

๒. เผยแพร่/ประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลข่าวสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร/่

ของโรงเรยี นเป็นภาษาต่างประเทศ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลข่าวสารของโรงเรียน

เช่น การทาหนังสอื เล่มเลก็ แนะนาโรงเรียน

การทาแผ่นปลวิ ป้ายคาขวญั คาเชญิ ชวน

๓๕

ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

แนะนาโรงเรียน การนาเสนอข้อมลู ข่าวสาร

ในโรงเรยี นเป็นภาษาอังกฤษ

ม.๓ ๑. ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ / การใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบคน้ /การ

ค้นควา้ รวบรวม และสรปุ ความรู้/ขอ้ มลู ค้นคว้าความรู้/ขอ้ มลู ต่างๆ จากส่อื และแหลง่

ต่างๆ จากส่ือและแหลง่ การเรียนรูต้ ่างๆ การเรยี นรตู้ ่างๆ ในการศกึ ษาต่อและ

ในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ

๒. เผยแพร่ /ประชาสัมพันธ์ การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่/

ข้อมลู ขา่ วสารของโรงเรียน ชมุ ชน และ ประชาสัมพนั ธข์ อ้ มูลขา่ วสารของโรงเรียน

ท้องถิน่ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ ชุมชน และทอ้ งถิน่ เช่น การทาหนังสือเลม่

เลก็ แนะนาโรงเรยี น ชุมชน และทอ้ งถนิ่ การ

ทาแผ่นปลวิ ปา้ ยคาขวญั คาเชิญชวน

แนะนา โรงเรียนและสถานท่สี าคญั ในชุมชน

และท้องถิ่น การนาเสนอขอ้ มูลข่าวสารใน

โรงเรียน ชมุ ชน และทอ้ งถ่ิน เป็น

ภาษาอังกฤษ

ม.๔-๖ ๑. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสบื คน้ / การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ /การ

คน้ คว้า รวบรวม วเิ คราะห์ และสรปุ ค้นควา้ ความรู้/ขอ้ มูลต่างๆ จากส่ือและแหล่ง

ความรู้/ขอ้ มลู ตา่ งๆ จากส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ตา่ งๆ ในการศกึ ษาต่อและ

การเรียนรู้ตา่ งๆ ในการศึกษาตอ่ และ ประกอบอาชีพ

ประกอบอาชีพ

๒. เผยแพร่/ประชาสัมพนั ธ์ ขอ้ มูล การใช้ภาษาองั กฤษในการเผยแพร/่

ข่าวสารของโรงเรยี น ชมุ ชน และ ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารของโรงเรยี น

ท้องถ่นิ /ประเทศชาติ เป็น ชมุ ชน และท้องถิน่ /ประเทศชาติ เชน่ การ

ภาษาต่างประเทศ ทาหนังสือเลม่ เล็กแนะนาโรงเรียน ชมุ ชน

ท้องถิ่น/ประเทศชาติ การทาแผน่ ปลวิ ป้าย

คาขวญั คาเชิญชวนแนะนาโรงเรียน สถานท่ี

สาคญั ในชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ /ประเทศชาติ

การนาเสนอขอ้ มูลขา่ วสารในโรงเรียน ชมุ ชน

ทอ้ งถนิ่ /ประเทศชาตเิ ป็นภาษาองั กฤษ

๓๖

อภธิ านศพั ท์

การเดาความหมายจากบริบท (context clue)
การเดาความหมายของคาศพั ทห์ รือขอ้ ความทีไ่ มท่ ราบความหมายโดยไมต่ อ้ งเปิดพจนานุกรม

เป็นการเดาความหมายน้นั โดยอาศยั การชี้แนะจากคาศัพทห์ รอื ขอ้ ความที่แวดลอ้ มคาศพั ทห์ รือ
ข้อความท่อี า่ น เพอ่ื ช่วยในการทาความเขา้ ใจหรือตคี วามหมายของคาศัพท์หรอื ขอ้ ความท่ไี มเ่ ข้าใจ
ความหมาย
การถ่ายโอนข้อมูล

การแปลงขอ้ มูลท่ีผู้สง่ สารตอ้ งการจะสือ่ สารให้ผรู้ ับสารเข้าใจความหมายในรปู แบบทต่ี อ้ งการ
เชน่ การถา่ ยโอนขอ้ มลู ทีเ่ ป็นคา ประโยค หรือขอ้ ความไปเปน็ ขอ้ มูลท่ีเป็นกราฟ สญั ลักษณ์ รูปภาพ
แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนขอ้ มูลท่ีเปน็ กราฟ สญั ลักษณ์ รูปภาพ แผนผงั
แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเป็นข้อมูลท่ีเปน็ คา ประโยค หรอื ขอ้ ความ
ทักษะการสือ่ สาร

ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขยี น ซึ่งเป็นเครือ่ งมอื ในการรับสารและส่งสารดว้ ย
ภาษานนั้ ๆ ได้อยา่ งสอื่ ความหมาย คล่องแคล่ว ถูกตอ้ ง เขา้ ถึงสารไดอ้ ย่างชัดเจน
บทกลอน (nursery rhyme)

บทรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก ท่ีมีคาคลอ้ งจองและมคี วามไพเราะ เพอื่ ชว่ ยให้จดจาไดง้ ่าย
บทละครส้ัน (skit)

งานเขยี นหรอื บทละครสน้ั ทม่ี กี ารแสดงออกดว้ ยทา่ ทางและคาพดู ทาให้เกดิ ความสนกุ สนาน
อาจเปน็ เรอ่ื งทม่ี าจากนทิ าน นยิ าย ชีวติ ของคน สัตว์ สิ่งของ หรอื ตัดตอนมาจากงานเขยี น
ภาษาท่าทาง

การสอื่ สารโดยการแสดงทา่ ทางแทนคาพดู หรือการแสดงทา่ ทางประกอบคาพดู เพอื่ ให้
ความหมายมคี วามชดั เจนยง่ิ ข้ึน การแสดงทา่ ทางต่างๆ อาจแสดงได้ลกั ษณะ เช่น การแสดงออกทาง
สีหนา้ การสบตา การเคลอื่ นไหวศรี ษะ มอื การยกมอื การพยักหนา้ การเลิกควิ้ เปน็ ต้น
วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

วถิ ีการดาเนนิ ชีวิตของคนในสังคมท่ีใช้ภาษานัน้ นับตง้ั แตว่ ิธีการกินอยู่ การแตง่ กาย การ
ทางาน การพกั ผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อความ ค่านิยม ความคิด ความเชือ่ ทศั นคติ
ขนบธรรมเนยี มประเพณี เทศกาล งานฉลอง และมารยาท เปน็ ตน้
ส่ือที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information)

สง่ิ ท่ใี ช้สอ่ื สารแทนคา วลี ประโยค และข้อความ เชน่ กราฟ สัญลกั ษณ์ รูปภาพ สิ่งของ
แผนผัง แผนภูมิ ตาราง เปน็ ตน้

๓๗

สาระการเรยี นรู้
และรายวชิ าที่เปดิ สอน
กลุ่มสาระการเรียนภาษาต่างประเทศ

โรงเรียนพุทไธสง
สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๒

๓๘

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตคี วามเร่อื งที่ฟงั และอา่ นจากส่อื ประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเหน็
อย่างมเี หตผุ ล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ข่าวสาร แสดงความร้สู กึ และ
ความคิดเห็นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรอ่ื งต่างๆ โดยการ
พดู และการเขยี น
สาระท่ี ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใช้ ได้
อยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากับความสมั พันธก์ บั กล่มุ สาระการเรียนร้อู นื่
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่นื และเป็น
พืน้ ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพนั ธ์กับชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ท้ังในสถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาต่างประเทศเปน็ เครอ่ื งมอื พน้ื ฐานในการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพ
และ การแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ บั สังคมโลก

๓๙

รายวชิ าที่เปิดสอน ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที ๑

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นท่ี ๑

ชื่อรายวิชา ประเภท รหัสวชิ า เวลา/ หน่วย หมายเหตุ
ชวั่ โมง กิต

ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน Fundamental English พื้นฐาน อ ๒๑๑๐๑ ๖๐ ๑.๕ ทุกห้อง

ภาษาองั กฤษเพื่อการ English for เพม่ิ เติม อ ๒๐๒๐๗ ๒๐ ๐.๕ ทกุ ห้อง
สอ่ื สาร ๑ Communication ๑ อ ๒๐๒๐๑ ๔๐
English for Listening เพม่ิ เตมิ จ ๒๐๒๐๑ ๔๐ ๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลือก
ภาษาองั กฤษฟัง-พดู ๑ and Speaking ๑ ญ ๒๐๒๐๑ ๔๐
Chinese Language เพม่ิ เติม อ ๒๐๒๒๑ ๒๐ ๑.๐ กลุ่มทเี่ ลือก
ภาษาจีน (เลอื ก)
Japanese Language เพ่มิ เติม ๑.๐ กลุ่มทเ่ี ลอื ก
ภาษาญป่ี นุ่ (เลือก)
English for Scientist ๑ เพมิ่ เตมิ ๐.๕ ห้องพิเศษ
ภาษาอังกฤษสาหรับ วิทย์-คณิต
นกั วิทยาศาสตร์

รายวชิ าทีเ่ ปิดสอน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที ๑

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนที่ ๒

ชอื่ รายวชิ า ประเภท รหัสวชิ า เวลา/ หน่วย หมายเหตุ
ช่ัวโมง กติ

ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน Fundamental English พ้ืนฐาน อ ๒๑๑๐๒ ๖๐ ๑.๕ ทุกห้อง

ภาษาองั กฤษเพื่อการ English for เพิ่มเตมิ อ ๒๐๒๐๘ ๒๐ ๐.๕ ทกุ หอ้ ง
สอื่ สาร ๒ Communication ๒ อ ๒๐๒๐๒ ๔๐
เพม่ิ เติม อ ๒๐๒๐๓ ๒๐ ๑.๐ กลมุ่ ทเ่ี ลอื ก
ภาษาอังกฤษฟัง-พูด ๑ English for Listening จ ๒๐๒๐๒ ๔๐
and Speaking ๒ เพิ่มเติม ญ ๒๐๒๐๒ ๔๐ ๐.๕ ห้องปกติ
ภาษาองั กฤษอ่าน-เขียน อ ๒๐๒๒๒ ๒๐
English for Reading & เพ่มิ เติม อ ๒๐๒๒๗ ๒๐ ๑.๐ กลุ่มทเ่ี ลือก
ภาษาจนี Writing (เลือก)
เพม่ิ เติม ๑.๐ กลมุ่ ท่ีเลอื ก
Chinese Language (เลือก)
เพิ่มเติม ๐.๕ หอ้ งพิเศษ
ภาษาญีป่ ุ่น Japanese Language วทิ ย์-คณติ
เพม่ิ เตมิ
ภาษาอังกฤษสาหรับ English for Scientist ๐.๕ ห้องพิเศษ
นกั วทิ ยาศาสตร์ ๒ กีฬา

ภาษาองั กฤษสาหรับ English for Sport
นกั กีฬา

๔๐

รายวิชาทีเ่ ปิดสอน ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี ๒
กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนที่ ๑

ชื่อรายวิชา ประเภท รหสั วชิ า เวลา/ หน่วย หมายเหตุ
พ้ืนฐาน ชวั่ โมง กิต

ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน Fundamental อ ๒๒๑๐๑ ๖๐ ๑.๕ ทกุ ห้อง
English
ภาษาองั กฤษเพ่อื การ เพิ่มเตมิ อ ๒๐๒๐๙ ๒๐ ๐.๕ ทุกหอ้ ง
สอ่ื สาร ๓ English for
Communication เพ่ิมเติม จ ๒๐๒๐๓ ๔๐ ๑.๐ กล่มุ ที่
ภาษาจีน (เลือก) ๔๐ เลอื ก
๓ เพิ่มเตมิ ญ ๒๐
ภาษาญ่ปี ุ่น (เลอื ก) ๒๐๒๐๓ ๑.๐ กล่มุ ที่
ภาษาอังกฤษสาหรับ Chinese เลือก
Language เพม่ิ เติม อ ๒๐๒๒๓
นกั วิทยาศาสตร์ Japanese ๐.๕ ห้องพิเศษ
Language วิทย-์ คณิต

English for
Scientist ๓

รายวชิ าท่เี ปิดสอน ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที ๒
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ ๒

ชื่อรายวิชา ประเภท รหสั วิชา เวลา/ หน่วย หมายเหตุ
พ้นื ฐาน ช่วั โมง กิต
ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน Fundamental
English อ ๒๒๑๐๒ ๖๐ ๑.๕ ทุกห้อง
ภาษาองั กฤษเพ่อื การ
ส่อื สาร ๔ English for เพม่ิ เตมิ อ ๒๐๒๑๐ ๒๐ ๐.๕ ทกุ หอ้ ง
Communication
ภาษาจนี เพิม่ เติม จ ๒๐๒๐๔ ๔๐ ๑.๐ กล่มุ ท่ีเลอื ก
๔ (เลอื ก) ๔๐
ภาษาญป่ี ่นุ เพม่ิ เตมิ ญ ๒๐ ๑.๐ กลมุ่ ที่เลือก
ภาษาอังกฤษสาหรับ Chinese (เลอื ก) ๒๐๒๐๔
Language ๐.๕ หอ้ งพเิ ศษ
นักวทิ ยาศาสตร์ เพ่มิ เตมิ อ ๒๐๒๒๔ วทิ ย-์ คณิต
Japanese
Language

English for
Scientist ๔

๔๑

รายวชิ าทเี่ ปดิ สอน ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที ๓
กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ภาคเรยี นท่ี ๑

ชื่อรายวชิ า ประเภท รหัสวชิ า เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ

ชวั่ โมง กิต

ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน Fundamental พ้นื ฐาน อ ๒๓๑๐๑ ๖๐ ๑.๕ ทุกห้อง
English

ภาษาอังกฤษเพ่ือการ English for เพิ่มเติม อ ๒๐๒๑๑ ๒๐ ๐.๕ ทกุ ห้อง

ส่ือสาร ๕ Communication ๕

ภาษาจีน Chinese Language เพ่มิ เติม จ ๒๐๒๐๕ ๔๐ ๑.๐ กล่มุ ท่ี
(เลือก) เลือก

ภาษาญีป่ ุ่น Japanese Language เพม่ิ เติม ญ ๔๐ ๑.๐ กลมุ่ ท่ี
(เลอื ก) ๒๐๒๐๕ เลือก

ภาษาองั กฤษสาหรับ English for เพ่มิ เตมิ อ ๒๐๒๒๕ ๒๐ ๐.๕ ห้องพเิ ศษ
นักวทิ ยาศาสตร์ Scientist ๕ วทิ ย-์ คณิต

รายวิชาทีเ่ ปดิ สอน ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี ๓

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนที่ ๒

ช่ือรายวิชา ประเภท รหัสวชิ า เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
ช่วั โมง กติ

ภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน Fundamental พ้ืนฐาน อ ๒๓๑๐๒ ๖๐ ๑.๕ ทุกหอ้ ง
English อ ๒๐๒๑๒ ๒๐
ภาษาองั กฤษเพื่อการ เพ่ิมเตมิ จ ๒๐๒๐๖ ๔๐ ๐.๕ ทุกห้อง
สอ่ื สาร ๖ English for ญ ๒๐๒๐๖ ๔๐
Communication เพม่ิ เติม อ ๒๐๒๒๖ ๒๐ ๑.๐ กลมุ่ ท่ี
ภาษาจนี ๖ (เลือก) เลือก
เพ่มิ เตมิ
ภาษาญป่ี ุน่ Chinese (เลือก) ๑.๐ กลมุ่ ท่ี
Language เพม่ิ เติม เลือก
ภาษาอังกฤษสาหรับ
นกั วทิ ยาศาสตร์ Japanese ๐.๕ ห้องพิเศษ
Language วิทย-์ คณิต
English for
Scientist ๖

๔๒

รายวชิ าที่เปิดสอน ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นท่ี ๑

ชื่อรายวชิ า ประเภท รหัสวชิ า เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
พนื้ ฐาน ชั่วโมง กติ
ภาษาอังกฤษ Fundamental เพ่มิ เตมิ ๑.๐ ทกุ หอ้ ง
พนื้ ฐาน English เพิ่มเตมิ อ ๓๑๑๐๑ ๔๐
ภาษาอังกฤษฟงั - English for Speaking อ ๓๐๒๑๙ ๒๐ ๐.๕ ทุกห้อง
พดู ๑ & Listening ๑ เพม่ิ เติม อ ๓๐๒๐๗ ๔๐
ภาษาอังกฤษเพอื่ English for ๑.๐ ห้องเรียน
การสื่อสาร ๑ Communication ๑ เพิ่มเตมิ จ๓๐๒๑๓ ๖๐
ภาษาจีน/
ภาษาจนี Chinese Language เพิ่มเติม จ๓๐๒๑๙ ๔๐ ญี่ป่นุ

ภาษาจีนเพือ่ การ Chinese for เพิ่มเตมิ ญ๓๐๒๑๓ ๖๐ ๑.๕ หอ้ งเรยี น
ส่อื สาร ๑ Communication ๑
เพิ่มเตมิ ญ๓๐๒๑๙ ๔๐ ภาษาจีน/
ภาษาญี่ป่นุ Japanese Language (เลือก) ญ่ปี ่นุ
เพมิ่ เตมิ จ๓๐๒๐๑ ๔๐
ภาษาญ่ีป่นุ เพื่อการ Japanese for (เลอื ก) ญ๓๐๒๐๑ ๔๐ ๑.๐ หอ้ งเรยี น

ส่อื สาร ๑ Communication ๑ ภาษาจนี /
ญี่ปนุ่
ภาษาจีน Chinese Language
๑.๕ ห้องเรยี น
ภาษาญ่ปี ุ่น Japanese Language
ภาษาจนี /
ญ่ีปุ่น

๑.๐ หอ้ งเรยี น

ภาษาจีน/
ญ่ีปุ่น

๑.๐ กลุ่มท่เี ลือก

๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลอื ก

๔๓

รายวิชาทเี่ ปิดสอน ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที ๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ ภาคเรยี นท่ี ๒

ชื่อรายวิชา ประเภท รหัสวชิ า เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
พน้ื ฐาน ชวั่ โมง กิต
ภาษาอังกฤษ Fundamental เพม่ิ เตมิ ๑.๐ ทกุ หอ้ ง
พนื้ ฐาน English เพม่ิ เติม อ ๓๑๑๐๒ ๔๐
ภาษาอังกฤษฟงั - English for Speaking อ ๓๐๒๒๐ ๒๐ ๐.๕ ทุกห้อง
พดู ๒ & Listening ๒ เพม่ิ เติม อ ๓๐๒๐๘ ๔๐
ภาษาอังกฤษเพ่อื English for ๑.๐ ห้องเรียน
การสอ่ื สาร ๒ Communication ๑ เพิ่มเติม จ๓๐๒๑๔ ๖๐
ภาษาจีน/
ภาษาจีน ๒ Chinese Language เพม่ิ เติม จ๓๐๒๒๐ ๔๐ ญี่ป่นุ

ภาษาจีนเพ่อื การ เพิ่มเติม ญ๓๐๒๑๔ ๖๐ ๑.๕ หอ้ งเรยี น
สือ่ สาร ๒ Chinese for
Communication ๒ เพิ่มเตมิ ญ๓๐๒๒๐ ๔๐ ภาษาจีน/
ภาษาญป่ี นุ่ ๒ (เลือก) ญ่ปี ่นุ
Japanese Language เพิ่มเตมิ จ๓๐๒๐๒ ๔๐
(เลอื ก) ญ๓๐๒๐๒ ๔๐ ๑.๐ หอ้ งเรยี น
ภาษาญ่ปี นุ่ เพื่อการ Japanese for
ภาษาจนี /
สือ่ สาร ๒ Communication ๒ ญี่ปนุ่

ภาษาจีน Chinese Language ๑.๕ ห้องเรยี น

ภาษาญ่ปี นุ่ Japanese Language ภาษาจนี /
ญ่ีปุ่น

๑.๐ หอ้ งเรยี น

ภาษาจีน/
ญ่ีปุ่น

๑.๐ กลุ่มท่เี ลือก

๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลอื ก

๔๔

รายวชิ าท่เี ปิดสอน ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี ๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ ๑

ชอื่ รายวิชา ประเภท รหสั วิชา เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
พ้ืนฐาน ช่ัวโมง กติ
ภาษาองั กฤษ Fundamental เพม่ิ เติม ๑.๐ ทกุ หอ้ ง
พ้ืนฐาน English เพิ่มเตมิ อ ๓๒๑๐๑ ๔๐
อ ๓๐๒๒๑ ๒๐ ๐.๕ ทุกห้อง
ภาษาอังกฤษฟงั - English for Speaking เพ่มิ เตมิ อ ๓๐๒๐๙ ๔๐
พดู ๓ & Listening ๓ ๑.๐ หอ้ งเรียน
ภาษาอังกฤษเพอ่ื English for Tourism เพม่ิ เติม จ๓๐๒๑๕ ๖๐
การทอ่ งเท่ยี ว ๑ ๑ ภาษาจีน/
เพ่ิมเติม จ๓๐๒๒๑ ๔๐ ญี่ป่นุ
ภาษาจนี ๓ Chinese Language
๓ เพม่ิ เติม ญ๓๐๒๑๕ ๖๐ ๑.๕ หอ้ งเรยี น

ภาษาจีนเพ่ือการ Chinese for เพมิ่ เตมิ ญ๓๐๒๒๑ ๔๐ ภาษาจีน/
(เลือก) ญ่ีป่นุ
ส่อื สาร ๓ Communication ๓ เพิ่มเติม จ๓๐๒๐๓ ๔๐
(เลอื ก) ญ๓๐๒๐๓ ๔๐ ๑.๐ ห้องเรยี น
ภาษาญปี่ นุ่ ๓ Japanese Language
๓ ภาษาจนี /
ญป่ี นุ่
ภาษาญีป่ ุ่นเพ่อื การ Japanese for
๑.๕ ห้องเรยี น
ส่ือสาร ๓ Communication ๓
ภาษาจนี /
ภาษาจนี Chinese Language ญี่ปุ่น

ภาษาญ่ีปนุ่ Japanese Language ๑.๐ ห้องเรยี น

ภาษาจีน/
ญ่ีปุ่น

๑.๐ กลุ่มท่เี ลือก

๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลอื ก

๔๕

รายวชิ าท่เี ปิดสอน ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี ๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ ๒

ชอื่ รายวิชา ประเภท รหสั วิชา เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
พ้ืนฐาน ช่ัวโมง กติ
ภาษาองั กฤษ Fundamental เพม่ิ เติม ๑.๐ ทกุ หอ้ ง
พ้ืนฐาน English เพิ่มเตมิ อ ๓๒๑๐๒ ๔๐
อ ๓๐๒๒๒ ๒๐ ๐.๕ ทุกห้อง
ภาษาอังกฤษฟงั - English for Speaking เพ่มิ เตมิ อ ๓๐๒๑๐ ๔๐
พดู ๔ & Listening ๔ ๑.๐ หอ้ งเรียน
ภาษาอังกฤษเพอ่ื English for Tourism เพม่ิ เติม จ๓๐๒๑๖ ๖๐
การทอ่ งเท่ยี ว ๒ ๒ ภาษาจีน/
เพ่ิมเติม จ๓๐๒๒๒ ๔๐ ญี่ป่นุ
ภาษาจนี ๔ Chinese Language
๔ เพม่ิ เติม ญ๓๐๒๑๖ ๖๐ ๑.๕ หอ้ งเรยี น

ภาษาจีนเพ่ือการ Chinese for เพมิ่ เตมิ ญ๓๐๒๒๒ ๔๐ ภาษาจีน/
(เลือก) ญ่ีป่นุ
ส่อื สาร ๔ Communication ๔ เพิ่มเติม จ๓๐๒๐๔ ๔๐
(เลอื ก) ญ๓๐๒๐๔ ๔๐ ๑.๐ ห้องเรยี น
ภาษาญปี่ นุ่ ๔ Japanese Language
๔ ภาษาจนี /
ญป่ี นุ่
ภาษาญีป่ ุ่นเพ่อื การ Japanese for
๑.๕ ห้องเรยี น
ส่ือสาร ๔ Communication ๔
ภาษาจนี /
ภาษาจนี Chinese Language ญี่ปุ่น

ภาษาญ่ีปนุ่ Japanese Language ๑.๐ ห้องเรยี น

ภาษาจีน/
ญ่ีปุ่น

๑.๐ กลุ่มท่เี ลือก

๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลอื ก

๔๖

รายวิชาทเี่ ปิดสอน ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี ๖
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนท่ี ๑

ชื่อรายวิชา ประเภท รหัสวิชา เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
พ้ืนฐาน ชวั่ โมง กิต
ภาษาองั กฤษ Fundamental เพิ่มเติม ๑.๐ ทุกหอ้ ง
พื้นฐาน English เพมิ่ เติม อ ๓๓๑๐๑ ๔๐
อ ๓๐๒๒๓ ๒๐ ๐.๕ ทุกห้อง
ภาษาอังกฤษฟงั - English for Speaking เพม่ิ เตมิ อ ๓๐๒๑๑ ๔๐
พดู ๕ & Listening ๕ ๑.๐ ห้องเรียน
ภาษาองั กฤษเพ่อื English for Hotel เพม่ิ เติม จ๓๐๒๑๗ ๖๐
การโรงแรม ๑ Business ๑ ภาษาจีน/
เพ่ิมเตมิ จ๓๐๒๒๓ ๔๐ ญี่ป่นุ
ภาษาจีน ๕ Chinese Language
๕ เพม่ิ เติม ญ๓๐๒๑๗ ๖๐ ๑.๕ ห้องเรยี น

ภาษาจนี เพอื่ การ Chinese for เพม่ิ เติม ญ๓๐๒๒๓ ๔๐ ภาษาจีน/
(เลือก) ญี่ป่นุ
สือ่ สาร ๕ Communication ๕ เพม่ิ เตมิ จ๓๐๒๐๕ ๔๐
(เลือก) ญ๓๐๒๐๕ ๔๐ ๑.๐ ห้องเรยี น
ภาษาญีป่ ุ่น ๕ Japanese Language
๕ ภาษาจนี /
ญีป่ นุ่
ภาษาญีป่ นุ่ เพอื่ การ Japanese for
๑.๕ หอ้ งเรยี น
สือ่ สาร ๕ Communication ๕
ภาษาจนี /
ภาษาจีน Chinese Language ญี่ปุ่น

ภาษาญ่ปี ุ่น Japanese Language ๑.๐ ห้องเรยี น

ภาษาจีน/
ญีป่ ุ่น

๑.๐ กลุ่มท่เี ลือก

๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลอื ก

๔๗

รายวิชาทเี่ ปิดสอน ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี ๖
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนท่ี ๒

ชื่อรายวิชา ประเภท รหัสวิชา เวลา/ หนว่ ย หมายเหตุ
พ้ืนฐาน ชวั่ โมง กิต
ภาษาองั กฤษ Fundamental เพิ่มเติม ๑.๐ ทุกหอ้ ง
พื้นฐาน English เพมิ่ เติม อ ๓๓๑๐๒ ๔๐
อ ๓๐๒๒๔ ๒๐ ๐.๕ ทุกห้อง
ภาษาอังกฤษฟงั - English for Speaking เพม่ิ เตมิ อ ๓๐๒๑๒ ๔๐
พดู ๖ & Listening ๖ ๑.๐ ห้องเรียน
ภาษาองั กฤษเพ่อื English for Hotel เพม่ิ เติม จ๓๐๒๑๘ ๖๐
การโรงแรม ๒ Business ๒ ภาษาจีน/
เพ่ิมเตมิ จ๓๐๒๒๔ ๔๐ ญี่ป่นุ
ภาษาจีน ๖ Chinese Language
๖ เพม่ิ เติม ญ๓๐๒๑๘ ๖๐ ๑.๕ ห้องเรยี น

ภาษาจนี เพอื่ การ Chinese for เพม่ิ เติม ญ๓๐๒๒๔ ๔๐ ภาษาจีน/
(เลือก) ญี่ป่นุ
สือ่ สาร ๖ Communication ๖ เพม่ิ เตมิ จ๓๐๒๐๖ ๔๐
(เลือก) ญ๓๐๒๐๖ ๔๐ ๑.๐ ห้องเรยี น
ภาษาญีป่ ุ่น ๖ Japanese Language
๖ ภาษาจนี /
ญีป่ นุ่
ภาษาญีป่ นุ่ เพอื่ การ Japanese for
๑.๕ หอ้ งเรยี น
สือ่ สาร ๖ Communication ๖
ภาษาจนี /
ภาษาจีน Chinese Language ญี่ปุ่น

ภาษาญ่ปี ุ่น Japanese Language ๑.๐ ห้องเรยี น

ภาษาจีน/
ญีป่ ุ่น

๑.๐ กลุ่มท่เี ลือก

๑.๐ กล่มุ ทเ่ี ลอื ก


Click to View FlipBook Version