192 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (๖) ออกระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับการก าหนดต าแหน่งและคุณสมบัติของแต่ละต าแหน่ง การคัดเลือก บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน วินัย และการลงโทษวินัย การออกจากต าแหน่ง การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษพนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุน รวมทั้งการก าหนดวัน เวลาปฏิบัติงาน วันหยุด วันหยุดประจ าปี การลา และการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการโดยอนุโลม (๗) แต่งตั้งคณะท างานเพื่อช่วยเหลือหรือพิจารณาและเสนอความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใด หรือมอบหมายให้ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่เห็นสมควร (๘) แต่งตั้งผู้บริหารกองทุน (๙) ด าเนินการด้านการเงินการคลังตามแนวทางของรัฐ (๑๐) ปฏิบัติงานอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์กองทุน ข้อ ๑๐ การประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนต้องมีอนุกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ านวนอนุกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนให้ประธานอนุกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานอนุกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกอนุกรรมการคนหนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุม การลงมติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก อนุกรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด การประชุมคณะท างาน ตามข้อ ๙ (๗) ให้น าวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามมาใช้บังคับ โดยอนุโลม ข้อ ๑๑ ให้คณะอนุกรรมการกองทุนและคณะท างาน ตามข้อ ๙ (๗) ได้รับเบี้ยประชุมหรือ ประโยชน์ตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียนก าหนดตาม ผลการประเมินผลการด าเนินงาน หมวด ๒ การบริหารกองทุน ข้อ ๑๒ ให้ส านักงาน ป.ป.ส. ก าหนดโครงสร้างและอัตราก าลังของกองทุนเพื่อรองรับ การด าเนินงานด้านต่าง ๆ โดยค านึงถึงลักษณะการด าเนินงาน ฐานะการเงินของกองทุน และการใช้ ทรัพยากรบุคคลอย่างคุ้มค่า เพื่อให้สามารถด าเนินภารกิจได้ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน การก าหนดโครงสร้างการบริหารกองทุนเพื่อรองรับการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ อย่างน้อยต้อง ประกอบด้วย กลุ่มงาน หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น โดยก าหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน หนา ๗้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 193 การก าหนดมาตรฐานก าหนดต าแหน่งของพนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุน อย่างน้อยต้อง ประกอบด้วย ชื่อต าแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบหรือลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ คุณสมบัติเฉพาะ ต าแหน่ง รวมทั้งการก าหนดกรอบอัตราก าลัง เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ หรือ สวัสดิการต่าง ๆ การด าเนินการตามวรรคสองและวรรคสาม ให้เสนอคณะอนุกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติ โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ข้อ ๑๓ ให้ผู้บริหารกองทุนจัดท าแผนการด าเนินงานประจ าปี ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผลการด าเนินงานของปีที่ผ่านมา แผนการปฏิบัติงาน ประมาณการรายรับรายจ่ายประจ าปี และประมาณการ กระแสเงินสด ทั้งนี้ ตามแบบที่กระทรวงการคลังก าหนดเพื่อน าเสนอ คณะอนุกรรมการกองทุน พิจารณาอนุมัติก่อนวันเริ่มต้นปีบัญชีไม่น้อยกว่าหกสิบวันของทุกปี และให้ส่งกระทรวงการคลังก่อน วันเริ่มต้นปีบัญชีไม่น้อยกว่าสามสิบวันของทุกปี เพื่อพิจารณาอนุมัติก่อนการใช้จ่ายเงิน การปรับปรุงหรือแก้ไขแผนการด าเนินงานประจ าปีที่ได้รับอนุมัติตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการกองทุน และต้องส่งให้กระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาอนุมัติ หมวด ๓ ผู้บริหารกองทุน ข้อ ๑๔ ให้คณะอนุกรรมการกองทุนแต่งตั้งผู้บริหารกองทุนเพื่อท าหน้าที่บริหารกองทุน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุน รวมทั้ง ปฏิบัติงานอื่นที่คณะอนุกรรมการกองทุนมอบหมาย ผู้บริหารกองทุนตามวรรคหนึ่ง อาจแต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ของส านักงาน ป.ป.ส. หรือสรรหา จากบุคคลภายนอกก็ได้ ในกรณีที่ผู้บริหารกองทุนที่สรรหาจากบุคคลภายนอกให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เป็นผู้มีอ านาจ ท าสัญญาจ้างผู้บริหารกองทุน แบบสัญญาจ้างให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด ข้อ ๑๕ การสรรหาผู้บริหารกองทุนจากบุคคลภายนอก ให้คณะอนุกรรมการกองทุนแต่งตั้ง คณะท างานสรรหาคณะหนึ่ง จ านวนไม่เกินห้าคน ท าหน้าที่สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมในการบริหารกองทุน และเสนอรายชื่อให้คณะอนุกรรมการกองทุนพิจารณาแต่งตั้ง ผู้บริหารกองทุนที่สรรหาจากบุคคลภายนอกไม่มีฐานะเป็นพนักงานกองทุนหรือลูกจ้างกองทุน และต้องเป็นผู้สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้กองทุนได้เต็มเวลา ข้อ ๑๖ ผู้บริหารกองทุนที่สรรหาจากบุคคลภายนอกอย่างน้อยต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติและไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย หนา ๘้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
194 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (๒) มีอายุไม่น้อยกว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบห้าปีบริบูรณ์ (๓) เป็นผู้ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เหมาะสมกับกิจการของกองทุน (๔) ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง (๕) ไม่เป็นผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หรือกรรมการ หรือผู้ด ารงต าแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ ของพรรคการเมือง (๖) ไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการด าเนินงานของกองทุนไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม (๗) ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นบุคคลไร้ความสามารถ หรือเสมือน ไร้ความสามารถ (๘) ไม่เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิด ที่ได้กระท าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๙) ไม่เป็นผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การมหาชนในวันที่มีการแต่งตั้ง (๑๐) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีต าแหน่งหรือเงินเดือนประจ า พนักงานหรือลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐ หรือผู้ปฏิบัติงานขององค์การมหาชน ในวันที่มีการแต่งตั้ง ข้อ ๑๗ ผู้บริหารกองทุนที่สรรหาจากบุคคลภายนอก ให้มีวาระอยู่ในต าแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะด ารงต าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ กรณีที่คณะอนุกรรมการกองทุนเห็นสมควรให้ผู้บริหารกองทุนตามวรรคหนึ่ง ซึ่งมีผลการท างานดี มีประสิทธิภาพและการว่าจ้างต่อไปจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งแก่กองทุน ให้คณะอนุกรรมการ กองทุนพิจารณาโดยไม่ต้องด าเนินการตามข้อ ๑๕ ก็ได้ ข้อ ๑๘ นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามข้อ ๑๗ ผู้บริหารกองทุนที่สรรหาจากบุคคลภายนอก อาจพ้นจากต าแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ออกตามกรณีที่ก าหนดไว้ในสัญญาจ้าง (๔) คณะอนุกรรมการกองทุนมีมติให้ออก เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ (๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๑๖ การให้ผู้บริหารกองทุนออกจากต าแหน่งตาม (๔) คณะอนุกรรมการกองทุนต้องมีมติคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่าสองในสามของจ านวนอนุกรรมการเท่าที่มีอยู่ โดยไม่นับรวมผู้บริหารกองทุน หนา ๙้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 195 ข้อ ๑๙ การด ารงต าแหน่ง การพ้นจากต าแหน่ง เงื่อนไขการจ้าง การประเมินผล การปฏิบัติงาน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์หรือสวัสดิการต่าง ๆ ของผู้บริหารกองทุนที่สรรหาจากบุคคลภายนอก ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ้างที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง ข้อ ๒๐ ผู้บริหารกองทุนที่เป็นเจ้าหน้าที่ของส านักงาน ป.ป.ส. อาจได้รับค่าตอบแทน ตามที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ข้อ ๒๑ เมื่อผู้บริหารกองทุนต้องพ้นจากต าแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ให้คณะอนุกรรมการ กองทุนด าเนินการแต่งตั้งผู้บริหารกองทุนขึ้นใหม่แทนผู้ซึ่งต้องพ้นจากต าแหน่ง ให้แล้วเสร็จภายใน เก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้บริหารกองทุนพ้นจากต าแหน่ง ข้อ ๒๒ ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งผู้บริหารกองทุน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ด ารงต าแหน่งรักษาการในต าแหน่งหรือผู้ปฏิบัติราชการในต าแหน่งตามระเบียบราชการตามโครงสร้าง และอัตราก าลังที่ได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังตามข้อ ๑๒ เป็นผู้รักษาการแทน และมีหน้าที่ และอ านาจเช่นเดียวกับผู้บริหารกองทุน หมวด ๔ พนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุน ข้อ ๒๓ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เป็นผู้มีอ านาจในการบรรจุแต่งตั้งหรือจ้างบุคคลให้เป็นพนักงาน กองทุนหรือลูกจ้างกองทุน ภายใต้กรอบอัตราก าลัง เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์หรือ สวัสดิการต่าง ๆ ที่ได้รับความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง การจ้างพนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุนให้ท าเป็นสัญญาจ้างตามต าแหน่งและคุณสมบัติของ พนักงานกองทุนหรือลูกจ้างกองทุนแต่ละต าแหน่งที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เป็นผู้ลงนามในสัญญาจ้าง พนักงานกองทุนมีก าหนดเวลาการจ้างไม่เกินคราวละสี่ปี และอาจมีการต่อสัญญาจ้างต่อเนื่องได้ ตามความเหมาะสมและจ าเป็น ส าหรับลูกจ้างกองทุนมีก าหนดเวลาการจ้างเป็นรายปี แบบสัญญาจ้างให้เป็นไปตามที่ส านักงาน ป.ป.ส. ก าหนด ข้อ ๒๔ เจ้าหน้าที่ของส านักงาน ป.ป.ส. ที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ได้มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ เกี่ยวกับกองทุนอาจได้รับค่าตอบแทนตามที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง หมวด ๕ การรับเงินและทรัพย์สิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของกองทุน หนา ๑๐้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
196 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ข้อ ๒๕ กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ (๑) เงินและทรัพย์สินที่โอนมาจากกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติ มาตรการในการปราบปรามผู้กระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 (๒) ทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุนตามมาตรา ๘๑ มาตรา ๘๒ มาตรา ๘๖ และมาตรา ๑๘๖ (๓) เงินและทรัพย์สินที่ได้จากการบริจาค (๔) เงินและทรัพย์สินที่ได้รับจากรัฐบาล (๕) ผลประโยชน์ที่เกิดจากทรัพย์สินตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) เงินและทรัพย์สินของกองทุนตามวรรคหนึ่ง ไม่ต้องส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ข้อ ๒๖ เมื่อทรัพย์สินใดตกเป็นของกองทุน ให้ปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ให้ผู้ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องน าทรัพย์สินพร้อมทั้งหนังสือน าส่งจ านวนสองชุดมอบแก่ผู้บริหาร กองทุน หรือข้าราชการในส านักงาน ป.ป.ส. หรือพนักงานกองทุนซึ่งเลขาธิการ ป.ป.ส. มอบหมายให้ เป็นผู้ตรวจรับทรัพย์สิน (๒) ให้ผู้ตรวจรับทรัพย์สินด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (ก) ตรวจสอบทรัพย์สินให้ถูกต้องตามรายละเอียดในหนังสือน าส่ง แล้วให้ผู้น าส่ง และผู้ตรวจรับทรัพย์สินลงนามก ากับไว้เป็นหลักฐานและเก็บรักษาหนังสือน าส่งไว้เป็นหลักฐานฝ่ายละหนึ่งชุด หากทรัพย์สินนั้นไม่ครบถ้วน หรือมีความช ารุดเสียหาย ให้บันทึกไว้โดยชัดแจ้งด้วย (ข) ท าการส ารวจทรัพย์สินและบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับจ านวน ประเภท รวมทั้งมูลค่า ของทรัพย์สินนั้น โดยอาจมีรายละเอียดอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได้ แล้วรายงานและเสนอความเห็นต่อ คณะอนุกรรมการกองทุนว่าสมควรด าเนินการแก่ทรัพย์สินนั้นต่อไปอย่างไร ข้อ ๒๗ เมื่อได้มีการตรวจรับทรัพย์สินตามข้อ ๒๖ แล้ว ให้ด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ถ้าเป็นเงินให้น าส่งผู้รับเงินตามข้อ ๒๙ ทันที ทั้งนี้ ต้องไม่ช้ากว่าวันท าการวันแรก ที่อาจน าส่งได้ (๒) ทรัพย์สินที่เป็นสังหาริมทรัพย์ ให้น าไปเก็บรักษาไว้ที่สถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินของกองทุน หรือจะฝากเก็บรักษาไว้ที่สถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินของส านักงาน ป.ป.ส. ตามระเบียบที่ออกตามความ ในมาตรา ๗๕ แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติดโดยอนุโลม (๓) ทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์หรือเป็นทรัพย์สินที่มีลักษณะตามข้อ ๒๘ จะมอบให้ บุคคลซึ่งได้ดูแลรักษาทรัพย์สินในระหว่างการยึดหรืออายัดดูแลรักษาต่อไป หรือจะจ้างบุคคลอื่นให้ดูแล รักษาทรัพย์สิน หรือเช่าสถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินนั้นไปพลางก่อนในระหว่างที่คณะอนุกรรมการกองทุน ยังไม่มีมติเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นก็ได้ โดยจัดให้มีเอกสารหลักฐานและจ าแนกประเภททรัพย์สินที่จัดเก็บ ให้ชัดเจน หนา ๑๑้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 197 เมื่อได้ด าเนินการตามวรรคหนึ่งแล้วให้รายงานคณะอนุกรรมการกองทุนโดยเร็ว และในกรณี ที่เป็นทรัพย์สินที่มีหลักฐานทางทะเบียน ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. จัดการเกี่ยวกับหลักฐานทางทะเบียน ดังกล่าวให้เรียบร้อยด้วย ข้อ ๒๘ ให้ผู้ตรวจรับทรัพย์สินตามข้อ ๒๖ รายงานคณะอนุกรรมการกองทุน โดยด่วนที่สุด เมื่อปรากฏว่า (๑) ทรัพย์สินนั้นมีสภาพเป็นของสด ของเสียได้ หรือถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่าของทรัพย์สินนั้น (๒) ทรัพย์สินนั้นมีลักษณะที่อาจท าให้สกปรกเลอะเทอะ หรือมีกลิ่น หรืออาจรบกวน หรือก่อความร าคาญ (๓) ทรัพย์สินนั้นมีน้ าหนักมาก หรือไม่สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย หรือมีขนาดใหญ่มาก หรือเปลืองเนื้อที่ในการเก็บรักษา (๔) ทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สินซึ่งโดยสภาพอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย เช่น สารเคมี หรือสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง (๕) ทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาไว้ในสถานที่โดยเฉพาะเพื่อรักษาคุณภาพของตัวทรัพย์ ข้อ ๒๙ การรับเงินของกองทุน ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. หรือข้าราชการในส านักงาน ป.ป.ส. ตั้งแต่ระดับช านาญการพิเศษ ซึ่งเลขาธิการ ป.ป.ส. มอบหมาย ร่วมกับผู้บริหารกองทุน หรือข้าราชการ ในส านักงาน ป.ป.ส. ตั้งแต่ระดับช านาญการ ซึ่งผู้บริหารกองทุนมอบหมาย เป็นผู้รับเงินและออกหลักฐาน การรับเงินแล้วด าเนินการตามข้อ ๓6 (๑) ข้อ ๓๐ ให้ส านักงาน ป.ป.ส. เปิดบัญชีเงินฝากไว้ที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ชื่อบัญชี “กองทุนป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด” เพื่อฝากเงินของกองทุน และห้ามมิให้ น าเงินไปใช้จ่ายก่อนส่งเข้าบัญชีเงินฝาก เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงานกองทุน ให้ส านักงาน ป.ป.ส. เปิดบัญชีไว้กับธนาคารพาณิชย์ ธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ หรือธนาคารที่เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ชื่อบัญชี “กองทุนป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด” ภายในวงเงินและเงื่อนไขที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ข้อ ๓๑ การใช้จ่ายเงินกองทุนต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกัน ปราบปราม บ าบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฟื้นฟู สภาพทางสังคมผู้ติดยาเสพติด และติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดรักษา (2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษา วิจัย ทดสอบ ทดลอง ฝึกอบรม ประชุม หรือสัมมนา เกี่ยวกับการป้องกัน ปราบปราม บ าบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฟื้นฟูสภาพทางสังคมผู้ติดยาเสพติด หนา ๑๒้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
198 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีความรู้หรือความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อท าหน้าที่ให้ค าปรึกษา แนะน า ฝึกอบรม ประชุม หรือสัมมนา เกี่ยวกับการป้องกัน ปราบปราม บ าบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฟื้นฟูสภาพทางสังคมผู้ติดยาเสพติด (4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการให้บริการหรือจัดกิจกรรมอันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการป้องกัน ปราบปราม บ าบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฟื้นฟูสภาพทางสังคมผู้ติดยาเสพติด ตลอดจนส่งเสริม และพัฒนาผู้ติดยาเสพติด ผู้เข้ารับการบ าบัดฟื้นฟู และผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟู ให้สามารถด ารงชีวิต ในสังคมได้ (5) ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนช่วยเหลือ หรือสนับสนุนการป้องกัน ปราบปราม บ าบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฟื้นฟูสภาพทางสังคม ผู้ติดยาเสพติดทั้งในประเทศและระดับต่างประเทศ (6) เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการป้องกัน ปราบปราม บ าบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฟื้นฟูสภาพทางสังคมผู้ติดยาเสพติด (7) กิจการอื่นที่จ าเป็นเพื่อประโยชน์ในการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ข้อ ๓๒ เงินของกองทุนให้จ่ายได้ตามจ านวนที่คณะอนุกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติ ส าหรับกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าใช้จ่ายในกรณีต้องคืนทรัพย์สิน ตามมาตรา ๘๓ (๒) ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานและจัดการเกี่ยวกับกองทุนตามหลักเกณฑ์ที่คณะอนุกรรมการ กองทุนก าหนด (๓) ค่าใช้จ่ายหรือค่าตอบแทนอื่นซึ่งจ าเป็นต้องจ่ายแก่หน่วยงาน บุคคลภายนอก พนักงาน เจ้าหน้าที่ ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การด าเนินงานตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๔ ประมวลกฎหมาย ยาเสพติดและพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น (๔) ค่าใช้จ่ายเป็นค่าจ้างและสวัสดิการของพนักงานกองทุนและลูกจ้างกองทุน (๕) ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทรัพย์สิน ค่าใช้จ่ายในการยึด อายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สิน (๖) ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัด (๗) ค่าใช้จ่ายในการประเมินราคาทรัพย์สินตามมาตรา ๗๔ และค่าใช้จ่ายในการประเมิน ค่าเสียหาย และค่าเสื่อมสภาพตามมาตรา ๗๕ (๘) ค่าเสียหายและค่าเสื่อมสภาพตามมาตรา ๗๕ (๙) เงินสินบนตามข้อ ๔1 และเงินรางวัลตามข้อ ๔2 (๑๐) ค่าใช้จ่ายอื่นเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน หนา ๑๓้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 199 อัตราค่าใช้จ่ายหรือค่าตอบแทนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการกองทุน ประกาศก าหนด การจ่ายเงินหรือทรัพย์สินจากกองทุนครั้งหนึ่งถ้ามีจ านวนหรือมูลค่าเกินห้าสิบล้านบาทจะต้อง ได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการ ป.ป.ส. ก่อน การจ่ายเงินกองทุนเพื่อประโยชน์ในการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด ส าหรับกรณีอื่นนอกจากที่ก าหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ให้คณะอนุกรรมการกองทุนกระท าได้โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการ ป.ป.ส. ข้อ ๓๓ วิธีการจ่ายเงินที่ได้รับอนุมัติตามข้อ ๓๒ แล้ว ให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการ แต่ถ้าไม่มีระเบียบที่เกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ข้อ ๓4 การจ่ายเงินกองทุนตามข้อ 32 ให้ด าเนินการจ่ายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่ กรณีมีเหตุขัดข้อง หรือมีความจ าเป็นเร่งด่วน ซึ่งไม่สามารถด าเนินการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้จ่ายเป็นเงินสด หรือเช็ค หรือโดยวิธีการอื่นที่คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด ข้อ ๓5 การสั่งจ่ายเงินตามข้อ 32 ให้ประกอบด้วยบุคคลที่มีอ านาจลงนามสองฝ่าย อย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน ดังต่อไปนี้ (๑) ฝ่ายที่หนึ่ง ได้แก่ เลขาธิการ ป.ป.ส. หรือรองเลขาธิการ ป.ป.ส. หรือที่ปรึกษา การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดที่ได้รับมอบหมายจากเลขาธิการ ป.ป.ส. (๒) ฝ่ายที่สอง ได้แก่ ผู้บริหารกองทุน หรือผู้ที่รักษาการหรือปฏิบัติราชการแทน ข้อ ๓6 ทรัพย์สินของกองทุนให้เก็บรักษาไว้ ดังนี้ (๑) ในกรณีที่เป็นเงิน ให้ฝากไว้ที่กระทรวงการคลังตามข้อ 30 (๒) ในกรณีที่เป็นทรัพย์สินอื่น ให้เก็บรักษาไว้ตามระเบียบที่ออกตามความในมาตรา ๗๕ แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติดโดยอนุโลม หมวด ๖ การบริหาร การจัดการ การจัดหาผลประโยชน์ การจ าหน่ายทรัพย์สิน และกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินกิจการของกองทุน ข้อ ๓7 ให้ส านักงาน ป.ป.ส. มีหน้าที่รับผิดชอบการด าเนินงานของกองทุนและมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ปฏิบัติงานธุรการและฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการกองทุน (๒) รับมอบและจัดเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของกองทุน การเบิกจ่ายเงินกองทุน รวมทั้ง การวางระบบการจัดเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินกองทุน หนา ๑๔้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
200 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (๓) จัดให้มีการจัดท าแผนการบริหาร การจัดการ การจัดหาผลประโยชน์ การจ าหน่าย ทรัพย์สินและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุน รวมทั้งด าเนินการบริหารจัดการทรัพย์สินของกองทุน ให้เกิดประโยชน์ (๔) แต่งตั้งพนักงานกองทุนหรือลูกจ้างกองทุน ตลอดจนก าหนดหน้าที่และควบคุมดูแล การปฏิบัติงาน ของพนักงานกองทุนหรือลูกจ้างกองทุน (๕) จัดให้มีการตรวจสอบบัญชีรับและบัญชีจ่ายของกองทุน (๖) ประสานงานในการด าเนินงานกองทุนกับหน่วยงานอื่นหรือบุคคลใด ๆ ที่เกี่ยวข้อง (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ก าหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือที่คณะอนุกรรมการกองทุน หรือ คณะกรรมการ ป.ป.ส. มอบหมาย ข้อ 38 คณะอนุกรรมการกองทุนโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง อาจจัดหาผลประโยชน์ จากเงินของกองทุนได้ ดังนี้ (1) ฝากไว้กับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ ธนาคารที่เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หรือธนาคารพาณิชย์ (2) ซื้อพันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย หรือรัฐวิสาหกิจ (3) ซื้อตราสารแห่งหนี้โดยมีกระทรวงการคลังรับรอง หรืออาวัล หรือค้ าประกันเงินต้นและ ดอกเบี้ย (4) การน าเงินไปลงทุนเพื่อจัดหาผลประโยชน์อื่นที่นอกเหนือจาก (1) (2) และ (3) ข้อ 39 คณะอนุกรรมการกองทุนอาจน าทรัพย์สินอื่นไปจัดหาผลประโยชน์ได้ตามหลักเกณฑ์ เดียวกันกับการน าทรัพย์สินที่เก็บรักษาไว้ในระหว่างการยึดหรืออายัดไปจัดหาผลประโยชน์ แต่ถ้ามีกรณีจ าเป็น และสมควรนอกเหนือไปจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้กระท าได้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ป.ป.ส. ให้น าระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาและการจัดการทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัด การน าทรัพย์สิน ออกขายทอดตลาด และการน าทรัพย์สินไปใช้เพื่อประโยชน์ของทางราชการ และระเบียบอื่นใด ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัด ซึ่งออกตามความในประมวลกฎหมายยาเสพติด มาใช้บังคับโดยอนุโลม หมวด ๗ เงินสินบนและเงินรางวัล ข้อ ๔0 ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร คณะอนุกรรมการกองทุนอาจพิจารณามีมติให้มีการจ่าย เงินสินบน หรือเงินรางวัลได้ตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในหมวดนี้ หนา ๑๕้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 201 การจ่ายเงินสินบนหรือเงินรางวัลตามที่ก าหนดไว้ในหมวดนี้ เป็นเพียงหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการตามที่คณะอนุกรรมการกองทุนเห็นสมควรมิใช่เป็นการโฆษณาหรือ ให้ค ามั่น ตามกฎหมายแก่บุคคลใดในอันที่จะยกขึ้นกล่าวอ้างเพื่อเรียกร้องสิทธิในเงินดังกล่าว ข้อ ๔1 คณะอนุกรรมการกองทุนมีอ านาจพิจารณาจ่ายเงินสินบนแก่ผู้ซึ่งชี้แนะให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ทราบถึงตัวทรัพย์สิน แหล่งที่มา หรือสถานที่ตั้งของทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท า ความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด โดยมีข้อมูลหรือพยานหลักฐานพอสมควรที่สามารถใช้เป็นประโยชน์ ในการตรวจสอบทรัพย์สิน จนมีผลท าให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของกองทุน เงินสินบนที่จะจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้คณะอนุกรรมการกองทุนก าหนด โดยพิจารณาถึงประโยชน์ ของข้อมูลและพยานหลักฐานที่จะได้รับจากผู้ชี้แนะและมูลค่าของทรัพย์สิน โดยให้จ่ายได้ไม่เกินร้อยละห้า ของเงินที่ค านวณได้จากราคาทรัพย์สินที่ประเมินได้ในวันที่ยึด หรืออายัดทรัพย์สิน หรือของราคาที่ได้ จากการขายทอดตลาด แล้วแต่กรณีหักด้วยค่าใช้จ่ายในการประเมินราคาทรัพย์สินหรือขายทอดตลาด ทรัพย์สินนั้น เงินสินบนที่จะจ่ายตามวรรคสอง ถ้าไม่มีการจ่ายให้น าเงินสินบนดังกล่าวมาจ่ายเป็นเงินรางวัล ข้อ ๔2 คณะอนุกรรมการกองทุนมีอ านาจพิจารณาจ่ายเงินรางวัลให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ผู้ท าหน้าที่ตรวจสอบยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด ผู้ซึ่งท าหน้าที่เก็บรักษา หรือจัดการทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัด หรือร่วมด าเนินการตรวจสอบยึดหรือ อายัดทรัพย์สิน ผู้ซึ่งท าหน้าที่สอบสวน สืบสวนหรือจับกุมผู้กระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด หรือผู้ท า หน้าที่สืบสวนขยายผลการจับกุมยึดทรัพย์สิน จนมีผลให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของกองทุน โดยให้จ่ายได้ ไม่เกินร้อยละยี่สิบห้าของเงินที่ค านวณได้จากราคาทรัพย์สินที่มีการประเมินได้ในวันที่ยึดหรืออายัด ทรัพย์สิน หรือของราคาที่ได้จากการขายทอดตลาดแล้วแต่กรณีหักด้วยค่าใช้จ่ายในการประเมิน ราคาทรัพย์สินหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินนั้น ข้อ ๔3 เงินสินบนหรือเงินรางวัลให้จ่ายหลังจากน าทรัพย์สินนั้นออกขายทอดตลาดหรือ น าไปใช้ประโยชน์แล้ว หากไม่มีการน าทรัพย์สินนั้นออกขายทอดตลาด หรือไม่มีการน าไปใช้ประโยชน์ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ทรัพย์สินตกเป็นของกองทุน ให้คณะอนุกรรมการกองทุนประเมินราคาทรัพย์สินนั้น ตามที่เห็นสมควร เพื่อน ามาเป็นเกณฑ์ในการก าหนดเงินสินบนหรือเงินรางวัล ข้อ ๔4 ถ้าผู้มีสิทธิได้รับเงินสินบนหรือเงินรางวัลมีหลายคน ให้แบ่งเงินนั้น คนละส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่คณะอนุกรรมการกองทุนจะเห็นสมควรก าหนดเป็นอย่างอื่น หมวด ๘ การบัญชี และการตรวจสอบภายใน ข้อ ๔5 ให้คณะอนุกรรมการกองทุนวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถ จัดท ารายงานการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด าเนินงานของกองทุนได้อย่างถูกต้อง ตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และให้กองทุนจัดท าและส่งข้อมูลทางการเงิน หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการด าเนินงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางก าหนด หนา ๑๖้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
202 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ข้อ ๔6 การปิดบัญชีให้กระท าปีละครั้ง โดยถือปีงบประมาณเป็นรอบปีบัญชี และให้ คณะอนุกรรมการกองทุนจัดท ารายงานการเงินของกองทุนส่งให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินภายใน หกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ เพื่อตรวจสอบและรับรอง และเมื่อส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ได้ตรวจสอบและรับรองรายงานการเงินแล้ว ให้ส่งกระทรวงการคลังภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ แจ้งจากส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และรายงานให้คณะกรรมการ ป.ป.ส. เพื่อทราบ ข้อ ๔7 ให้ส านักงาน ป.ป.ส. และคณะอนุกรรมการกองทุนจัดให้มีระบบการตรวจสอบ ภายใน เพื่อตรวจสอบการด าเนินงานต่าง ๆ ของกองทุน ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการ ตรวจสอบภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ หรือมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน รวมทั้งจัดให้มีกฎบัตรว่าด้วยการตรวจสอบภายในของกองทุน ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยวัตถุประสงค์ อ านาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ การรายงาน และมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนขอบเขตการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ ต้องก าหนดให้สอดคล้อง กับกฎระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง บทเฉพาะกาล ข้อ 48 บรรดาระเบียบ ประกาศ หรือค าสั่งใด ที่ออกตามระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบ ทรัพย์สิน ว่าด้วยกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๖ ที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปโดยอนุโลม จนกว่าจะมีระเบียบ ประกาศ หรือค าสั่ง ที่ออกตามระเบียบนี้ใช้บังคับ ประกาศ ณ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖5 วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด หนา ๑๗้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 203 ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยที่เป็นการสมควรก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ เพื่อให้ การเปรียบเทียบปรับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๘๕ วรรคหนึ่งแห่งประมวลกฎหมายยาเสพติด คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ พ.ศ. ๒๕๖๕” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “การเปรียบเทียบ” หมายความว่า การเปรียบเทียบตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ของผู้มีอ านาจเปรียบเทียบ “ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบ” หมายความว่า คณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. มอบหมาย หรือ เลขาธิการ อย. หรือผู้ซึ่ง เลขาธิการ อย. มอบหมายแล้วแต่กรณี “ผู้ฝ่าฝืนค าสั่ง” หมายความว่า ผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามค าสั่งที่ออกตามประมวลกฎหมายยาเสพติด มาตรา ๕๗ “ผู้กระท าความผิด” หมายความว่า ผู้ต้องหาว่ากระท าความผิดตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ที่มีโทษปรับสถานเดียว ข้อ ๔ ความผิดซึ่งมีโทษปรับสถานเดียวตามระเบียบนี้ ได้แก่ (๑) ฐานความผิดที่อยู่ในอ านาจของคณะกรรมการ ป.ป.ส. ได้แก่ มาตรา ๑๗๔ (๒) ฐานความผิดที่อยู่ในอ านาจของเลขาธิการ อย. ได้แก่ มาตรา ๑๓๕ มาตรา ๑๓๖ มาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๕๘ มาตรา ๑๕๙ และมาตรา ๑๗๕ หมวด ๒ การเปรียบเทียบปรับของคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. มอบหมาย หนา ๖้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ * * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ลงวันที่ ๒๕ เมษายน๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
204 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ข้อ ๕ เมื่อเจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการตามมาตรา ๕๖ ไม่ปฏิบัติตาม ค าสั่งของเลขาธิการ ป.ป.ส. ที่สั่งให้ด าเนินมาตรการที่จ าเป็นเพื่อป้องกันมิให้มีการกระท าความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการเกิดขึ้นอีก หรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งปิดชั่วคราวหรือสั่งพักใช้ ใบอนุญาตประกอบการของคณะกรรมการ ป.ป.ส. เลขาธิการ ป.ป.ส. หรือหน่วยงานซึ่งควบคุม การประกอบการตามมาตรา ๕๗ ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ การฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามค าสั่งดังกล่าว เช่น ข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ในการฝ่าฝืนค าสั่ง วัน เวลา และสถานที่แจ้งต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. เพื่อพิจารณาส่งให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบด าเนินการเปรียบเทียบ ข้อ ๖ การเปรียบเทียบปรับของผู้มีอ านาจเปรียบเทียบให้ถือหลักเกณฑ์และก าหนดจ านวน เงินค่าปรับ ดังต่อไปนี้ (๑) กรณีครั้งแรก ให้เปรียบเทียบปรับเป็นจ านวนเงินหนึ่งหมื่นบาท (๒) กรณีครั้งที่สอง ให้เปรียบเทียบปรับเป็นจ านวนเงินห้าหมื่นบาท (๓) กรณีตั้งแต่ครั้งที่สามขึ้นไป ให้เปรียบเทียบปรับเป็นจ านวนเงินหนึ่งแสนบาท ข้อ ๗ ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบด าเนินการเปรียบเทียบ ดังนี้ (๑) เรียกหรือให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. เรียกผู้ฝ่าฝืนค าสั่งมาท าการเปรียบเทียบปรับ ณ ที่ท าการ (๒) แจ้งข้อกล่าวหาเกี่ยวกับพฤติการณ์วันเวลาและสถานที่ฝ่าฝืนค าสั่ง และ (๓) แจ้งให้ผู้ฝ่าฝืนค าสั่งทราบว่าเป็นคดีที่ท าการเปรียบเทียบปรับได้ ในกรณีที่ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีอ านาจเปรียบเทียบหรือการกระท านั้น ไม่เป็นการฝ่าฝืนค าสั่งตามที่กล่าวหาให้ยุติเรื่องและบันทึกไว้และส่งเรื่องคืนเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ในกรณีผู้ฝ่าฝืนค าสั่งยอมให้เปรียบเทียบตามระเบียบนี้ เมื่อผู้ฝ่าฝืนค าสั่งได้ช าระเงินค่าปรับ ตามค าเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ก าหนดแล้วให้ถือว่าคดีนั้นเป็นอันเลิกกันตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญาและให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบบันทึกรายละเอียดไว้ ในกรณีที่ผู้ฝ่าฝืนค าสั่งไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ หรือไม่ยอมช าระเงินค่าปรับตามที่มี การเปรียบเทียบภายในก าหนดเวลา ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบแจ้งเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. เพื่อด าเนินการ ร้องทุกข์กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนเพื่อด าเนินคดีอาญากับผู้กระท าความผิดต่อไป หนังสือเรียกตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามแบบที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ประกาศก าหนด ข้อ ๘ การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการน าเงินค่าปรับจากการเปรียบเทียบส่งคลัง ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบออกหนังสือเปรียบเทียบปรับให้ผู้ฝ่าฝืนค าสั่ง และให้ผู้ฝ่าฝืนค าสั่งไปช าระเงิน ที่เจ้าหน้าที่คลังของส านักงาน ป.ป.ส. และให้เจ้าหน้าที่คลังออกหนังสือช าระเงินค่าปรับให้แก่ผู้กระท าความผิด และให้น าส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หนังสือเปรียบเทียบปรับและหนังสือช าระเงินค่าปรับตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามแบบที่ เลขาธิการ ป.ป.ส. ประกาศก าหนด หนา ๗้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 205 หมวด ๓ การเปรียบเทียบปรับของเลขาธิการ อย. หรือผู้ซึ่งเลขาธิการ อย. มอบหมาย ข้อ ๙ ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบด าเนินการเปรียบเทียบปรับ ให้แล้วเสร็จภายในสถานที่ตั้งปกติ ของส านักงานที่ตนสังกัด ข้อ ๑๐ การเปรียบเทียบ ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบถือหลักเกณฑ์และก าหนดจ านวนเงิน ค่าปรับ ตามบัญชีก าหนดอัตราค่าปรับส าหรับการเปรียบเทียบท้ายระเบียบนี้ ข้อ ๑๑ เมื่อปรากฏหลักฐานจากพนักงานเจ้าหน้าที่ว่ามีการกระท าความผิดเกิดขึ้น ให้ผู้มีอ านาจ เปรียบเทียบเรียกผู้กระท าความผิดมาท าการเปรียบเทียบหากข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นไม่สอดคล้องกับ หลักฐานจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้ที่ปฏิบัติงานเปรียบเทียบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความ และให้แจ้ง ข้อหาในการกระท าความผิด วัน เวลา และสถานที่เกิดเหตุ และชี้แจงให้ผู้กระท าความผิดเข้าใจถึง ความผิดที่เกิดขึ้นว่าเป็นคดีที่ท าการเปรียบเทียบได้ ถ้ายอมรับสารภาพผิดและกรณีที่มีของกลางในคดี ผู้ต้องหายินยอมยกของกลางให้ตกเป็นของ ส านักงาน อย. เมื่อผู้ต้องหาได้ช าระเงินค่าปรับตามค าเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ก าหนดแล้ว ให้ถือว่าคดีนั้นเป็นอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ผู้กระท าความผิดที่ยินยอมให้เปรียบเทียบ หรือผู้กระท าความผิดที่ไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ ให้บันทึกค าให้การของผู้กระท าความผิด และบัญชีของกลาง (ถ้ามีของกลาง) ไว้ ข้อ ๑๒ ในคดีที่ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบพิจารณาแล้วเห็นว่า (๑) ไม่มีอ านาจเปรียบเทียบ ให้ด าเนินการตามระเบียบว่าด้วยการพิจารณาทางคดี ที่ส านักงาน อย. ก าหนด และ (๒) การกระท านั้นไม่เป็นความผิดตามข้อกล่าวหา ให้ส่งเรื่องคืนหน่วยงานเจ้าของเรื่อง เพื่อด าเนินการตามที่เห็นสมควรต่อไป ข้อ ๑๓ ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบ บันทึกการเปรียบเทียบผู้กระท าความผิดที่ช าระค่าปรับแล้ว และบันทึกประวัติผู้กระท าความผิด ข้อ ๑๔ การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการน าเงินค่าปรับจากการเปรียบเทียบส่งคลัง (๑) ส านักงาน อย. ให้ผู้มีอ านาจเปรียบเทียบออกใบสั่งช าระค่าปรับเปรียบเทียบคดี ให้ผู้กระท าความผิด และให้ผู้กระท าความผิดไปช าระเงินที่เจ้าหน้าที่คลัง ส านักงาน อย. และให้เจ้าหน้าที่คลัง ออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้กระท าความผิดใบเสร็จรับเงินให้มีข้อความแสดงว่าเป็นใบเสร็จรับเงิน ค่าเปรียบเทียบตามประมวลกฎหมายยาเสพติด และบันทึกการเก็บเงินไว้ เงินค่าปรับให้น าส่งเป็น รายได้แผ่นดิน ตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง หนา ๘้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
206 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (๒) จังหวัดอื่น ๆ ให้ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดด าเนินการตาม (๑) โดยอนุโลมและเมื่อท า การเปรียบเทียบเสร็จแล้วให้มีการจัดท ารายงานผลการเปรียบเทียบคดีเป็นรายเดือน ถ้าเดือนใดไม่มี การเปรียบเทียบไม่ต้องจัดท ารายงาน ทั้งนี้ ให้รายงานภายในวันที่ ๑๕ ของเดือนถัดไป และให้เสนอ รายงานต่อเลขาธิการ อย. ข้อ ๑๕ ให้หนังสือเรียกเปรียบเทียบปรับ บันทึกค าให้การผู้กระท าความผิด (กรณียินยอม เปรียบเทียบ) บัญชีของกลาง บันทึกค าให้การผู้กระท าความผิด (กรณีไม่ยินยอมเปรียบเทียบ) แบบเปรียบเทียบคดีก าหนดค่าปรับ แบบบันทึกประวัติผู้กระท าความผิด แบบรายงานผลการเปรียบเทียบ เป็นไปตามแบบที่เลขาธิการ อย. ประกาศก าหนด ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด หนา ๙้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 207 บัญชีก ำหนดอัตรำค่ำปรับส ำหรับกำรเปรียบเทียบ แนบท้ำยระเบียบคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด ว่ำด้วยหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขกำรเปรียบเทียบปรับ พ.ศ. 2565 ตำมมติคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด ในกำรประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ล ำดับควำมผิด (มำตรำ)ฐำนควำมผิดอัตรำโทษ (มำตรำ)อัตรำค่ำปรับที่ก ำหนดให้เปรียบเทียบ (บำท)ครั้งที่ ๑ครั้งที่ ๒ครั้งที่ ๓ครั้งที่ ๔ และครั้งต่อไป ๑๓๓ (๒)ผู้ควบคุมยานพาหนะผู้ใดไม่จัดให้มีการป้องกันตามสมควร เพื่ อ มิให้ ย าเส พ ติ ดให้ โท ษ ห รือ วั ต ถุ อ อ ก ฤ ท ธิ์ สู ญ ห า ย หรือมีการน าเอาไปใช้โดยมิชอบ ๑๓๕ ปรับไม่เกิน ๕๐,๐๐๐บาท ๑๐,๐๐๐๒๐,๐๐๐๔๐,๐๐๐๕๐,๐๐๐ ๒๓๖ ผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๓๖ ผู้ใดน าเข้าหรือส่งออกในแต่ละครั้ง ซึ่งยาเสพติดให้โทษหรือวัตถุออกฤทธิ์ โดยไม่ได้รับใบอนุญาต เฉพาะคราวในแต่ละครั้งที่น าเข้า หรือส่งออก ๑๓๖ ปรับครั้งละไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐๒,๐๐๐๔,๐๐๐๕,๐๐๐ 3๙๕ผู้รับอนุญาตด าเนินการผลิตหรือจ าหน่ายยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๕ หรือวัตถุออกฤทธิ์ ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในระหว่างที่เภสัชกร มิได้อยู่ประจ าควบคุมกิจการ ๑๕๐ ปรับ ๑๐,๐๐๐ - ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๑๐,๐๐๐๓๐,๐๐๐๖๐,๐๐๐๑๐๐,๐๐๐ 4๔๙ วรรคสอง ผู้ใดแก้ไขรายการทะเบียนต ารับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ หรือวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไม่เป็นไป ตามที่ก าหนดไว้ในกฎกระทรวงตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง ๑๕๘ ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๕,๐๐๐๑๐,๐๐๐๑๕,๐๐๐๒๐,๐๐๐ 5๑๐๑ผู้รับใบส าคัญการขึ้นทะเบียนต ารับ ผู้ใดผลิต หรือน าเข้าต ารับ ยาเสพติดให้โทษหรือต ารับวัตถุออกฤทธิ์ไม่ตรงตามรายการ ที่ได้ขึ้นทะเบียนต ารับไว้ ๑๕๙ ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๕,๐๐๐๑๐,๐๐๐๑๕,๐๐๐๒๐,๐๐๐ 6๖๑ผู้รับอนุญ าตหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องผู้ใดไม่มาให้ถ้อยค าหรือ ไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามมาตรา ๖๑ ๑๗๕ ปรับไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท ๒,๐๐๐๒,๐๐๐๒,๐๐๐๒,๐๐๐ สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส.
208 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ประกาศสำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่อง กำ หนดแบบหนังสือการเปรียบเทียบปรับ ตามระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ พ.ศ. ๒๕๖๕ อาศัยอำ นาจตามความในข้อ ๗ วรรคห้า และข้อ ๘ วรรคสอง แห่งระเบียบคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ พ.ศ. ๒๕๖๕ เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จึงกำ หนดแบบหนังสือการเปรียบเทียบปรับไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ แบบ ป.ป.๑ หนังสือเรียก เพื่อใช้เรียกผู้ฝ่าฝืนคำ สั่งมาทำ การเปรียบเทียบปรับ ตามข้อ ๗ วรรคห้า ข้อ ๒ แบบ ป.ป.๒ หนังสือเปรียบเทียบปรับ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบปรับผู้ฝ่าฝืนคำสั่ง ตามข้อ ๘ วรรคสอง ข้อ ๓ แบบ ป.ป.๓ หนังสือชำ ระเงินค่าปรับ เพื่อใช้ในการรับชำ ระเงินค่าปรับจากผู้ฝ่าฝืนคำสั่ง ตามข้อ ๘ วรรคสอง ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (นายวิชัย ไชยมงคล) เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปราบยาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 209 แบบ ป.ป๑ ที่ .........../............ หน่วยงาน........................................................ ........................................................................ วันที่.........เดือน...........พ.ศ. ......... เรื่อง เรียกให้พบเพื่อเปรียบเทียบปรับตามประมวลกฎหมายยาเสพติด เรียน (ชื่อเจ้าของ/ผู้ดำ เนินกิจการสถานประกอบการ) อ้างถึง คำสั่งเลขาธิการ ป.ป.ส.หรือคำสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ส.ที่......./................ ลงวันที่.....................) ตามคำสั่งที่อ้างถึง เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ได้ตรวจสอบพบว่า ท่านกระทำการ .........(ข้อกล่าวหา พฤติการณ์วันเวลาและสถานที่เกี่ยวกับการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำ สั่งเลขาธิการ ป.ป.ส. ที่สั่งให้ดำ เนิน มาตรการที่จำ เป็นเพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ / คำ สั่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือคำ สั่งเลขาธิการ ปป.ส. ให้ปิดสถานประกอบการณ์ชั่วคราว / คำสั่งคณกรรมการ ป.ป.ส. หรือคำสั่งเลขาธิการ ป.ปส. พักใช้ใบอนุญาตประกอบการสำ หรับการประกอบ ธุรกิจ).............ตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่อง กำ หนดมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการ จึงเป็นความผิดตามมาตรา ๑๗๕ แห่งประมวล กฎหมายยาเสพติด ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งบาทถึงหนึ่งแสนบาท ซึ่งความผิดดังกล่าว เป็นความผิดที่ เปรียบเทียบได้ และเป็นการกระทำความผิดครั้งที่......... หากท่านประสงค์จะชำ ระค่าปรับขอให้ท่านไปพบ........................(เจ้าหน้าที่)....................... ณ .........................(สถานที่) ....................... ภายในกำ หนด...........(จำ นวน).............วัน นับตั้งแต่วันได้รับหนังสือฉบับนี้ ในเวลาทำ การ เพื่อเปรียบเทียบปรับ เป็นเงินจำ นวน ............. (ตัวเลข) ............บาท (.........(ตัวอักษร.............) ทั้งนี้ หากไม่ไปพบในเวลาที่กำ หนด ทางราชการจะส่งเรื่องให้พนักงานสอบสวนดำ เนินคดีตามกฎหมาย ต่อไป (.....(ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบปรับ).....) .....(ตำแหน่ง)..... .....(หน่วยงาน)...... โทร............... โทรสาร.............. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
210 สำ�นักงาน ป.ป.ส. แบบ ป.ป.๒ สำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด หนังสือเปรียบเทียบปรับ คดีเปรียบเทียบที่ ............/.......... ที่ทำการเปรียบเทียบ.................. วันที่..........เดือน.........พ.ศ. .......... ชื่อผู้กระทำความผิด.........(ชื่อเจ้าของ/ผู้ดำ เนินกิจการสถานประกอบการ).......... เหตุเกิดเมื่อวันที่..........เดือน.......... พ.ศ. .........เวลา..........น. ณ สถานประกอบการ...................... ตั้งอยู่เลขที่…............หมู่ที่..............ตรอก/ซอย..............ถนน.............ตำ บล/แขวง..............อำ เภอ/เขต…..….…..… จังหวัด....................โทร. ................... คดีนี้ ผู้กระทำความผิดได้กระทำความผิดโดยฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม......(คำสั่งเลขาธิการ ป.ป.ส. ที่สั่งให้ดำ เนินมาตรการที่จำ เป็นเพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำความผิดเกี่ยวยาเสพติดในสถานประกอบการ/ คำ สั่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือคำ สั่งเลขาธิการ ป.ป.ส. ให้ปิดสถานประกอบการชั่วคราว/ คำสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือคำสั่งเลขาธิการ ป.ป.ส. พักใช้ใบอนุญาตประกอบการสำ หรับการประกอบธุรกิจ)........... จึงเป็นความผิดตามมาตรา ๑๗๔ แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติด ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาท ถึงหนึ่งแสนบาท ซึ่งความผิดดังกล่าว ซึ่งเป็นความผิดที่เปรียบเทียบได้ และเป็นความกระทำผิดครั้งที่........ อาศัยอำ นาจตามความในมาตรา ๑๘๕ แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติด......(ผู้มีอำ นาจ เปรียบเทียบปรับ)...........จึงเปรียบเทียบปรับผู้กระทำความผิด เป็นจำ นวนเงิน..............(ตัวเลข)..............บาท .........(ตัวอักษร)...........และผู้กระทำความผิดยินยอมให้เปรียบเทียบปรับ (ลงชื่อ)...............................................ผู้กระทำความผิด (...............(ชื่อ -- สกุล)...............) (ลงชื่อ)...............................................ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบปรับ (...............(ชื่อ -- สกุล)...............) ตำแหน่ง................................................ (ลงชื่อ).................................................เจ้าหน้าที่ (...............(ชื่อ -- สกุล)...............) ตำแหน่ง................................................ บันทึกการชำ ระเงินค่าปรับ ใบเสร็จเล่มที่.........................เลขที่......................... วันที่…….........เดือน……......….........…พ.ศ. ............ จำ นวน...........................................................บาท ลงชื่อ..................................เจ้าหน้าที่ผู้รับเงินค่าปรับ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 211 แบบ ป.ป.๓ สำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด หนังสือชำ ระเงินค่าปรับ สำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ได้รับเงินค่าปรับ ในคดีเปรียบเทียบที่ ................../.............เนื่องจาก .......(ชื่อเจ้าของ/ผู้ดำ เนินกิจการสถานประกอบการ)......อยู่บ้านเลขที่................ หมู่ที่...............ตรอก/ซอย.............ถนน............... ตำ บล/แขวง...............อำ เภอ/เขต.............จังหวัด................... โทร..................ได้กระทำการ...........(ฝ่าฝืนหรือไม่ปฎิบัติตามคำสั่งเลขาธิการ ป.ป.ส. ที่สั่งให้ดำ เนินมาตรการ ที่จำ เป็นเพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ / คำสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือคำสั่งเลขาธิการ ป.ป.ส. ให้ปิดสถานประกอบการชั่วคราว/คำสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือคำสั่ง เลขาธิการ ป.ป.ส. พักใช้ใบอนุญาตประกอบการสำ หรับการประกอบธุรกิจ)...........ตามประกาศคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่อง กำ หนดมาตรการป้องกัน ปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานประกอบการเป็นจำ นวนเงิน...........(ตัวเลข)..........บาท..........(ตัวอักษร)...........ไว้แล้ว (ลงชื่อ)...............................................ผู้กระทำความผิด (..............(ชื่อ - สกุล)...............) (ลงชื่อ) ..............................................เจ้าหน้าที่ผู้รับเงินค่าปรับ (..............(ชื่อ - สกุล)...............) ตำแหน่ง................................................ วันที่..........เดือน.............พ.ศ. ......... สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
212 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ประสำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กำ หนดแบบตามระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ พ.ศ.๒๕๖๕ พ.ศ.๒๕๖๕ อาศัยอำ นาจตามความในข้อ ๑๕ แห่งระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบปรับ พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึ่งออกตามความในประมวลกฎหมายยาเสพติด เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยากำ หนดแบบหนังสือเรียกเปรียบเทียบปรับ บันทึกคำ ให้การผู้กระทำความผิด (กรณียินยอมเปรียบเทียบ)บัญชีของกลาง บันทึกคำ ให้การผู้กระทำความผิด(กรณีไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ) แบบเปรียบเทียบคดีกำ หนดค่าปรับ แบบบันทึกประวัติผู้กระทำความผิด แบบรายงานผลการเปรียบเทียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ หนังสือเชิญพบเพื่อเปรียบเทียบปรับ ให้ใช้แบบ แบบป.ป.๑ ข้อ ๒ บันทึกคำ ให้การผู้กระทำความผิด(กรณียอมเปรียบเทียบ) ให้ใช้แบบ ป.ป.๒ ข้อ ๓ บัญชีของกลาง ให้ใช้แบบแนบท้ายแบบ ป.ป.๒ (ถ้ามี) ข้อ ๔ บันทึกคำ ให้การผู้กระทำความผิด (กรณีไม่ยอมเปรียบเทียบ) ให้ใช้แบบ ป.ป.๓ ข้อ ๕ แบบเปรียบเทียบคดีกำ หนดค่าปรับ ให้ใช้แบบ ป.ป๔ ข้อ ๖ บันทึกประวัติผู้กระทำความผิด ให้ใช้แบบ ป.ป.๕ ข้อ ๗ รายงานผลการเปรียบเทียบ ให้ใช้เปรียบ ป.ป.๖ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ (นายไพศาล คั่นคุ้ม) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 213 ที่ ............... แบบ ป.ป๑ หน่วยงาน................................................... ……………………………..........……………………. ................................................................... วันที่ ........เดือน.................ปี.............. เรื่อง เชิญพบเพื่อเปรียบเทียบปรับตามประมวลกฎหมายยาเสพติด เรียน ....................................................................... สิ่งที่ส่งมาด้วย หนังสือมอบอำ นาจ จำ นวน ๑ ฉบับ ตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบ...................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ซึ่งจากการตรวจสอบดังกล่าวพบว่ามี............................................................................................เป็นผู้............................. ดังนั้นการกระทำของ...........................................................................เป็นการกระทำความผิดฐาน............................... ตามมาตรา.............ต้องระวางโทษ.................................................... ตามมาตรา ........ อันเป็นความผิดที่เปรียบเทียบได้ และเป็นการกระทำความผิดครั้งที่ .......... หากท่านประสงค์จะชำ ระค่าปรับขอให้ท่านไปพบ (เจ้าหน้าที่ หรือนิติกร) ที่.................................................ภายในวันที่.................................................... ในวันทำการและก่อนเวลา ๑๕.๐๐ น. เพื่อเปรียบเทียบ........... (ชื่อผู้กระทำความผิด)............................................... เป็นจำ นวนเงิน ......... (ตัวเลข)........บาท (-ตัวอักษร-) ................................................. ในกรณีที่ไม่สามารถไปได้ด้วยตัวเอง โปรดมอบหมายให้ผู้อื่นดำ เนิน การแทนตามหนังสือมอบอำ นาจที่ส่งมาด้วย ทั้งนี้ หากไม่ไปภายในกำ หนดเวลาที่ระบุไว้ (ชื่อหน่วยงาน) จะส่งเรื่องให้ พนักงานสอบสวนดำ เนินคดีตามกฎหมายต่อไป จึงเรียนมาเพื่อทราบ ขอแสดงความนับถือ -ระบุชื่อหน่วยงานที่ออกหนังสือ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
214 สำ�นักงาน ป.ป.ส. แบบ ป.ป.๒ บันทึกคำ ให้การผู้กระทำความผิด (กรณียินยอมเปรียบเทียบ) ............................... คดีเปรียบเทียบที่................................../................................ ทำ ที่......สำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา... วันที่............. เดือน ...................... พ.ศ. ................... ข้าพเจ้า .................................................................................................................................อายุ....................ปี สัญชาติ.......................อยู่บ้านเลขที่.............................. หมู่................... ตรอก/ซอย....................................................... ถนน........................................ แขวง/ตำ บล........................................... เขต/อำ เภอ ..................................................... จังหวัด.................................................โทร.............. (โดยมี ........................................................เป็นผู้ได้รับมอบอำ นาจ จาก..............................................ตามหนังสือมอบอำ นาจ ที่..........ลงวันที่.......... เดือน....................... พ.ศ.............) เจ้าหน้าที่ได้แจ้งข้าพเจ้าว่า...............................................................................................................เป็น ผู้กระทำความผิดตามประมวลกฏหมายยาเสพติด ข้อหาฐาน............................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................... ซึ่งสำ นักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ทำการเปรียบเทียบได้ ข้าพเจ้ารับทราบแล้ว ขอให้การรับสารภาพว่ากระทำผิดจริง และผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบคดีพิจารณาแล้ว กำ หนดเปรียบเทียบเป็นจำ นวนเงิน....................................................บาท (.................................................) ข้าพเจ้าขอรับรองว่า (๑) ข้าพเจ้ายินยอมให้ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบคดีทำการเปรียบเทียบ จำ นวน............................................บาท (.................................) โดยจะนำ เงินค่าปรับจำ นวนนี้มาชำ ระภายใน วันที่...........เดือน................................ พ.ศ........... (๒) ของกลางที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้เก็บมานั้นข้าพเจ้าขอมอบให้เป็นของสำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข มีจำ นวนตามที่ระบุไว้ในบัญชีของกลางแนบท้ายคำ ให้การฉบับนี้ (๓) หากข้าพเจ้าไม่นำ เงินจำ นวนดังกล่าวตาม (๑) มาชำ ระภายในเวลาที่กำ หนด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ดำ เนินการตามกฎหมายต่อไป บันทึกนี้ เจ้าหน้าที่ได้อ่านให้ผู้กระทำความผิดฟังแล้ว รับว่าถูกต้อง จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ ลงชื่อ...................................................ผู้กระทำความผิด ลงชื่อ...................................................ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบ ลงชื่อ...................................................เจ้าหน้าที่ ลงชื่อ...................................................พยาน ลงชื่อ...................................................พยาน หมายเหตุ: ในกรณีนิติบุคคลเป็นผู้กระทำความผิด ใช้แบบ ป.ป.๒ นี้แยกเป็น ๒ ฉบับ สำ หรับนิติบุคคลฉบับหนึ่ง และสำ หรับผู้แทนหรือผู้จัดการอีกฉบับหนึ่ง แต่ให้ลงหมายเลขคดีเพียงหมายเลขเดียว สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 215 แบบแนบท้ายแบบ ป.ป.๒ บัญชีของกลาง คดีเปรียบเทียบที่............................./.............................. เขียนที่...................................................................... วันที่..............เดือน...................................พ.ศ............... ข้าพเจ้า.......................................................................................อยู่เลขที่........................................... ซอย........................แขวง/ตำ บล..................................................................เขต/อำ เภอ................................................. จังหวัด....................................................................โทร................................................................. ผู้กระทำความผิดยินยอมยกของกลางให้ตกเป็นของสำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขดังมีรายการต่อไปนี้ ลำดับที่ รายชื่อของกลาง จำ นวนปริมาณ หมายเหตุ ๑. เก็บตัวอย่าง/อายัด/ยึด/มอบพยานหลักฐาน รายละเอียดตามแบบ/อายัด/ยึด/หรือ บันทึก การตรวจสถานที่ผลิต/นำ เข้า/จำ หน่าย/อื่นๆ หรือบันทึกคำ ให้การ ลงวันที่...................เดือน.........................พ.ศ..... ตามที่แนบท้ายในสำ นวนคดีนี้ ๒. เก็บตัวอย่าง/อายัด/ยึด/มอบพยานหลักฐาน รายละเอียดตามแบบ/อายัด/ยึด/หรือ บันทึก การตรวจสถานที่ผลิต/นำ เข้า/จำ หน่าย/อื่นๆ หรือบันทึกคำ ให้การ ลงวันที่..................เดือน..........................พ.ศ..... ตามที่แนบท้ายในสำ นวนคดี ๓. เก็บตัวอย่าง/อายัด/ยึด/มอบพยานหลักฐาน รายละเอียดตามแบบ/อายัด/ยึด/บันทึก การตรวจสถานที่ผลิต/นำ เข้า/จำ หน่าย/อื่นๆ หรือบันทึกคำ ให้การ ลงวันที่..................เดือน..........................พ.ศ...... ตามที่แนบท้ายในสำ นวนคดีนี้ ลงชื่อ.............................................................ผู้กระทำความผิด ลงชื่อ............................................................เจ้าหน้าที่ (...........................................................) นิติกร.................................. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
216 สำ�นักงาน ป.ป.ส. แบบ ป.ป.๓ บันทึกคำ ให้การผู้กระทำความผิด (กรณีไม่ยินยอมเปรียบเทียบ) ........................... คดีเปรียบเทียบที่......................................./......................................... วันที่.................เดือน........................................พ.ศ............. ข้าพเจ้า.............................................................................................................................. อายุ....................ปี สัญชาติ........................ อยู่บ้านเลขที่............................ หมู่................... ตรอก/ซอย...................................................... ถนน................................................ แขวง/ตำ บล................................................ เขต/อำ เภอ ........................................ จังหวัด.................................................โทร...-........ (โดยมี......................................................เป็นผู้ได้รับมอบอำ นาจจาก ............................................................ ตามหนังสือมอบอำ นาจที่............ลงวันที่............. เดือน................................ พ.ศ....................) เจ้าหน้าที่ได้แจ้งข้าพเจ้าว่า...........................................................................................................................เป็น ผู้กระทำความผิดตามประมวลกฏหมายยาเสพติด ข้อหาฐาน.......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... มีโทษตามมาตรา....................................ต้องระวางโทษตามมาตรา................................................................................. ซึ่ง..............................................ทำการเปรียบเทียบได้ และจะเปรียบเทียบเป็นจำ นวนเงิน......................................บาท (...................................................................) ข้าพเจ้า.......................................................................................ไม่ยินยอมให้ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบคดีทำการ เปรียบเทียบเพราะ ( ) ข้าพเจ้าไม่ได้กระทำความผิด ( ) จำ นวนค่าปรับสูง ( ) เหตุอื่นๆ (ให้ระบุ)................................................................................... บันทึกนี้ เจ้าหน้าที่ได้อ่านให้ผู้กระทำความผิดฟังแล้ว รับว่าถูกต้อง จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ ลงชื่อ.....................................................ผู้กระทำความผิด ลงชื่อ.....................................................ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบ ลงชื่อ.....................................................เจ้าหน้าที่ ลงชื่อ.....................................................พยาน ลงชื่อ....................................................พยาน สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 217 แบบ ป.ป.๔ สำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา แบบเปรียบเทียบคดีกำ หนดค่าปรับ คดีปรียบเทียบที่.............................../...................... ที่ทำการเปรียบเทียบ................................................................. วันที่.............. เดือน......................... พ.ศ............ ชื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้กล่าวหา......................................................................................................... ชื่อผู้กระทำความผิด (๑)..................................................................................................................... (๒)..................................................................................................................... เหตุเกิดเมื่อวันที่......................เดือน..................... พ.ศ................ เวลา........... น. ณ สถานที่...................................เลขที่............................................................................................................ จังหวัด..................................โทร................................................. คดีนี้ ผู้กระทำความผิดได้กระทำความผิดตามมาตราประมวลกฎหมายยาเสพติด มาตรา............................................................. ข้อหาฐาน (๑).................................................................................................................................................................. (๒).................................................................................................................................................................. (๓).................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... มีบทลงโทษตามมาตรา..........................ต้องระวางโทษปรับ....................................................................บาท ซึ่งเป็นความผิดที่เปรียบเทียบได้ และผู้กระทำความผิดยินยอมให้เปรียบเทียบ จึงเปรียบเทียบผู้กระทำความผิด เป็นเงิน.............................................บาท (...................................................) ผู้กระทำความผิดให้ชำ ระค่าปรับแล้วเมื่อวันที่.................เดือน................................. พ.ศ................... ลงชื่อ...............................................ผู้กระทำความผิด หมายเหตุ -- ค่าปรับบุคคลธรรมดา ลงชื่อ...............................................ผู้มีอำ นาจเปรียบเทียบ เป็นเงิน ........................ บาท ลงชื่อ...............................................เจ้าหน้าที่ และปรับนิติบุคคล ลงชื่อ...............................................พยาน เป็นเงิน ................................ บาท ลงชื่อ...............................................พยาน รวมเป็น ........................................ บาท ผู้กระทำผิด รับทราบ และยินยอมให้ปรับ ตามจำ นวน ดังกล่าว จึงลงลายมือชื่อไว้เป็น หลักฐาน บันทึกการชำ ระเงิน ใบเสร็จเล่มที่.........................เลขที่................................. วันที่……............เดือน………............…พ.ศ....................... จำ นวนเงิน........................................................บาท ลงชื่อ............................................เจ้าหน้าที่ผู้รับเงิน สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
218 สำ�นักงาน ป.ป.ส. แบบบันทึกประวัติผู้กระทำความผิด แบบ ป.ป.๕ ๑. ผู้กระทำความผิด ชื่อ.......................................ชื่อสกุล.............................................อายุ...........ปี เชื้อชาติ.................สัญชาติ........................ที่อยู่บ้านเลขที่.................................. ........................................................................................................................... ผู้จดแจ้ง........................................................เลขที่........../............ ๒. วัน เวลา และ สถานที่ เหตุเกิดเมื่อวัน...เดือน.....................พ.ศ. ......วลา.................น. สถานที่เกิดเหตุ เกิดเหตุ .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... ๓. ข้อหา ฐาน..................................................................................................................... ............................................................................................................................ ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ๔. จำ นวนของกลาง ของกลาง (๑) ยึดและเก็บมา........................................................... (๒) อายัด........................................................................ ๕. ผลคดี กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ฐาน..................................................................................มาตรา........................ ผู้กระทำความผิดยินยอมให้เปรียบเทียบและชำระเงินค่าปรับ จำ นวน ........................บาท (.............................) วันที่ชำ ระค่าปรับ วันที่........เดือน...............พ.ศ. ........ หลักฐานการสั่งเปรียบเทียบ ตามหนังสือ ที่........../...........ลงวันที่................ ๖. งานคลังรับเงิน วันที่.......เดือน..................พ.ศ...................จำ นวน........................บาท (........................................) ตามใบเสร็จเล่มที่................เลขที่........................... ลงวันที่................................ ลงชื่อ.................................................ผู้เปรียบเทียบ (................................................) ตำแหน่ง............................................... สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 219 แบบ ป.ป.๖ แบบรายงานผลเปรียบเทียบ ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ประจำดือน................................พ.ศ....................... เหตุเกิดที่เป็นความผิดผลคดี เลขที่ถนนแขวง/ตำบลเขต/อำเภอข้อหาปรับเป็นเงินของกลาง หมายเหตุ (บาท) ลำดับที่วัน เดือน ปี รวม ที่.............../................... เสนอ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ................................................................ สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส. สำ นัก ง า น ป.ป.ส.
220 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่อง ก าหนดมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในสถานประกอบการ โดยที่เป็นการสมควรก าหนดมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระท าความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ และก าหนดสถานประกอบการที่อยู่ภายใต้บังคับของมาตรการ ดังกล่าว รวมทั้งก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสั่งปิดชั่วคราวหรือการพักใช้ใบอนุญาต ประกอบการของสถานประกอบการที่มีการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และการแจ้งให้หน่วยงาน ที่ควบคุมสถานประกอบการด าเนินการสั่งปิดชั่วคราวหรือการพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๗ วรรคสาม แห่งประมวลกฎหมาย ยาเสพติด คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการกระท าความผิดเกี่ยวกับ ยาเสพติดในสถานประกอบการในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจังหวัด แล้วแต่กรณี ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ส. แต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามประกาศนี้ “พนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึ่งท างานในสถานประกอบการไม่ว่าจะในลักษณะประจ า หรือชั่วคราว ทั้งนี้ ให้หมายความรวมถึงลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานด้วย ข้อ ๒ ให้สถานที่ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจใด ๆ ดังต่อไปนี้เป็นสถานประกอบการที่อยู่ ภายใต้บังคับของมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในสถานประกอบการ (๑) สถานีบริการน้ ามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ ามันเชื้อเพลิงและให้รวมถึง สถานที่ที่ใช้ในการประกอบกิจการต่าง ๆ ซึ่งอยู่ในความควบคุม ดูแล หรืออาศัยสิทธิของเจ้าของหรือ ผู้ด าเนินกิจการสถานีบริการน้ ามันเชื้อเพลิงด้วย (๒) สถานีบริการที่บรรจุก๊าซให้แก่ยานพาหนะทั้งทางบกและทางน้ าตามกฎกระทรวงที่ออก ตามกฎหมายว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว (๓) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ (๔) ที่พักอาศัยในเชิงพาณิชย์ประเภทหอพัก อาคารชุดหรือเกสเฮ้าส์ (Guest house) ที่ให้ผู้อื่นเช่า (๕) สถานที่ที่ได้จัดให้มีการเล่นบิลเลียด สนุกเกอร์ ซึ่งเก็บค่าบริการจากผู้เล่น (๖) โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน หนา ๗๐้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 221 (๗) สถานที่หรือที่เก็บสินค้าหรือพัสดุภัณฑ์ซึ่งผู้ประกอบการขนส่งใช้ประกอบกิจการขนส่ง สินค้าหรือพัสดุภัณฑ์ ข้อ ๓ ให้เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการตามข้อ ๒ ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) ควบคุม สอดส่อง และดูแล ไม่ให้พนักงานของสถานประกอบการหรือบุคคลภายนอก กระท าการหรือมั่วสุมกันกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในหรือบริเวณสถานประกอบการ (๒) พิจารณาคัดเลือกบุคลากรที่ไม่มีพฤติการณ์ในการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด เข้าเป็นพนักงาน ทั้งนี้ ไม่รวมถึงผู้เสพยาเสพติดซึ่งได้รับการบ าบัดการติดยาเสพติดและฟื้นฟู สภาพร่างกายและจิตใจของผู้ติดยาเสพติดให้กลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และจัดอบรมพนักงานของตน ให้มีความเข้าใจในการป้องกันการใช้ยาเสพติดอย่างสม่ าเสมอ (๓) จัดท าบันทึกประวัติของพนักงานไว้ประจ าสถานประกอบการ โดยบันทึกประวัตินี้ อย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อและนามสกุล เลขบัตรประจ าตัวประชาชน ที่อยู่ และภูมิล าเนา ของพนักงาน (๔) ให้ความร่วมมือกับเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจในการแจ้ง เมื่อพบว่ามีการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด หรือให้ข้อมูล ข่าวสารหรือพฤติการณ์ต่าง ๆ ของบุคคลซึ่งมีเหตุอันควรสงสัยหรือควรเชื่อได้ว่าจะกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถาน ประกอบการของตน และอ านวยความสะดวกในการตรวจหรือทดสอบหาสารเสพติดตามกฎหมาย ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดียาเสพติด ข้อ ๔ ให้เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการตามข้อ ๒ (๗) ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (๑) เมื่อรับมอบสินค้าหรือพัสดุภัณฑ์จากผู้ส่งหรือผู้ฝาก แล้วแต่กรณี ให้จัดท าบันทึก รายละเอียดชื่อ นามสกุล เลขประจ าตัวประชาชนหรือเลขหนังสือเดินทางของผู้ส่งหรือผู้ฝากนั้น รวมทั้งบันทึกรายละเอียดของผู้รับสิ่งของหรือผู้รับแทนในท านองเดียวกันด้วยเมื่อได้มีการส่งมอบสินค้า หรือพัสดุภัณฑ์นั้น การบันทึกอาจจัดท าเป็นเอกสารหรือข้อมูลในระบบสารสนเทศ หรือวิธีการอื่นใด ที่สามารถให้ข้อมูลพิสูจน์ตัวบุคคลได้ ในกรณีได้จัดท าใบก ากับของหรือใบตราส่งตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ให้ถือเป็นสาระส าคัญส่วนหนึ่งของบันทึกดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ ให้จัดเก็บไว้เพื่อประโยชน์ ในการสืบสวนสอบสวนเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ได้จัดท าบันทึก (๒) ในกรณีพบหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามียาเสพติดซุกซ่อนในสินค้าหรือพัสดุภัณฑ์ ในหรือบริเวณสถานประกอบการซึ่งอยู่ในความดูแล ให้แจ้งเหตุโดยเร็วที่สุดและหากพบยาเสพติด ให้จัดส่งบันทึกตามที่ก าหนดไว้ใน (๑) ต่อเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ภายในสิบห้าวันนับแต่ได้ทราบถึงเหตุนั้น ข้อ ๕ ให้เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการตามข้อ ๒ จัดให้มีป้ายหรือประกาศเตือน เกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดตามวรรคสองและวรรคสาม หนา ๗๑้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
222 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ป้ายหรือประกาศตามวรรคหนึ่งจะต้องมีความชัดเจน เห็นได้ง่าย และมีข้อความเป็นภาษาไทย เตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด ประกอบกับข้อความที่แสดงว่า สถานประกอบการที่ติดป้ายหรือประกาศนั้นอยู่ภายใต้บังคับมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหา การกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ข้อความตามวรรคสองจะมีภาษาอื่นนอกจากภาษาไทยก็ได้ แต่ข้อความภาษาอื่นต้องมีความหมาย ตรงกับข้อความภาษาไทยและมีขนาดไม่ใหญ่กว่าข้อความภาษาไทย ลักษณะ ขนาด และรายละเอียดของข้อความให้เป็นไปตามที่ก าหนดในท้ายประกาศนี้ ข้อ ๖ ให้เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการตามข้อ ๒ (๗) ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องจัดท าป้ายหรือประกาศเตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด ตามข้อ ๕ แต่ให้แจ้งข้อความให้ผู้ส่งหรือผู้ฝากสินค้าหรือพัสดุภัณฑ์และผู้รับสิ่งของดังกล่าวทราบว่า ยาเสพติดเป็นสิ่งของผิดกฎหมายและต้องห้ามในการขนส่งโดยเด็ดขาด สิ่งของที่เกี่ยวข้องอาจใช้เป็น พยานหลักฐานในการด าเนินคดีตามกฎหมายได้ โดยปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑) ปิดประกาศซึ่งข้อความดังกล่าวในบริเวณสถานที่หรือที่เก็บสินค้าหรือพัสดุภัณฑ์ ซึ่งใช้ประกอบกิจการขนส่งสินค้าหรือพัสดุภัณฑ์ หรือ (๒) พิมพ์หรือประทับข้อความดังกล่าวบนใบก ากับของหรือใบตราส่งหรือเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๗ ในกรณีที่เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ตรวจพบว่ามีการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในสถานประกอบการใด ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ดังกล่าวจัดท าบันทึกรายงานพร้อมความเห็นเสนอต่อ คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาภายในห้าวันนับแต่วันที่ตรวจพบ เว้นแต่ในกรณีจ าเป็นเร่งด่วน ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. จัดท าบันทึกรายงานพร้อมความเห็นเสนอต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. เพื่อพิจารณา ภายในสามวัน นับแต่วันที่ตรวจพบ ข้อ ๘ เมื่อคณะอนุกรรมการได้รับบันทึกรายงานตามข้อ ๗ ว่ามีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า มีการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ หากคณะอนุกรรมการโดยมติเสียงข้างมาก เห็นว่ามีเหตุอันควรเชื่อได้ ให้คณะอนุกรรมการท ารายงานและความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ส. เพื่อพิจารณาว่าควรมีค าสั่งปิดชั่วคราวหรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการของสถานประกอบการนั้นหรือไม่ ในกรณีที่คณะอนุกรรมการเห็นว่าไม่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในสถานประกอบการ ให้คณะอนุกรรมการเรียกเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมาให้ ข้อมูลข้อเท็จจริง หรือหลักฐานอื่นใดเพื่อประกอบการพิจารณาอีกก็ได้ ในกรณีที่คณะอนุกรรมการได้ด าเนินการตามวรรคสองแล้ว เห็นว่าไม่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า มีการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ให้คณะอนุกรรมการรายงานพร้อมความเห็น ต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. ในการนี้ ถ้าเลขาธิการ ป.ป.ส. ไม่เห็นด้วยกับคณะอนุกรรมการดังกล่าวแล้ว ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. ท ารายงานและความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ส. เพื่อพิจารณาก็ได้ หนา ๗๒้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 223 ข้อ ๙ เมื่อเลขาธิการ ป.ป.ส. ได้รับรายงานและความเห็นตามข้อ ๗ หรือคณะกรรมการ ป.ป.ส. ได้รับรายงานและความเห็นตามข้อ ๘ แล้ว ให้คณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. แล้วแต่กรณี มีหนังสือเรียกให้เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการมาชี้แจงหรือพิสูจน์ว่า ตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่กรณีโดยให้ส่งหนังสือดังกล่าวแก่เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการ สถานประกอบการเป็นระยะเวลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน ทั้งนี้ เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการ สถานประกอบการอาจมอบหมายเป็นหนังสือให้บุคคลอื่นมาชี้แจงหรือพิสูจน์แทนก็ได้ การชี้แจงหรือพิสูจน์ตามวรรคหนึ่ง ให้กระท าเป็นการลับเพื่อมิให้เกิดความเสียหายต่อ สถานประกอบการหรือบุคคลภายนอก ข้อ ๑๐ ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. พิจารณาแล้วเห็นว่า ควรสั่งปิดชั่วคราว หรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. แล้วแต่กรณี ท าค าสั่งเป็นหนังสือ และแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการนั้น ทราบโดยเร็ว ในการแจ้งค าสั่งปิดชั่วคราวหรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการของคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. ตามวรรคหนึ่ง ให้ประธานอนุกรรมการหรือเลขาธิการ ป.ป.ส. แล้วแต่กรณี เป็นผู้แจ้งค าสั่งส าหรับสถานประกอบการที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจังหวัดนั้น แล้วแต่กรณี ข้อ ๑๑ ในการแจ้งค าสั่งปิดชั่วคราว หรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการแก่เจ้าของหรือ ผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการตามข้อ ๑๐ วรรคสอง ให้ส่งหรือมอบแก่เจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการ สถานประกอบการและให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อรับทราบค าสั่งนั้นหรือส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับ ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามได้ เพราะเหตุที่ไม่พบเจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการ สถานประกอบการหรือบุคคลดังกล่าวไม่ยอมรับค าสั่ง ให้ปิดค าสั่งไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานประกอบการ โดยให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. พร้อมด้วยพยานอย่างน้อยสองคนปิดค าสั่ง ต่อหน้าเจ้าพนักงานต ารวจท้องที่ที่สถานประกอบการนั้นตั้งอยู่และให้ท าบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ในการนี้ ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการสถานประกอบการได้ทราบค าสั่งนั้นแล้วตั้งแต่วันที่ปิดค าสั่ง ข้อ ๑๒ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. แจ้งให้หน่วยงานที่ควบคุมการประกอบธุรกิจของสถาน ประกอบการตามกฎหมายอื่นทราบภายในสามวันนับแต่วันที่คณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. แล้วแต่กรณี มีค าสั่งให้ปิดชั่วคราวหรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ เมื่อหน่วยงานที่ควบคุมการประกอบธุรกิจของสถานประกอบการตามกฎหมายอื่นได้รับแจ้ง ตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้หน่วยงานนั้นติดตามและตรวจสอบว่าเจ้าของหรือผู้ด าเนินกิจการ สถานประกอบการได้ปฏิบัติตามค าสั่งของคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. หรือไม่ หนา ๗๓้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
224 สำ�นักงาน ป.ป.ส. หากพบว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามให้หน่วยงานดังกล่าวแจ้งให้คณะกรรมการ ป.ป.ส. หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. แล้วแต่กรณีทราบโดยเร็ว ข้อ ๑๓ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด หนา ๗๔้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ * * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๘๔ ง ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 225 ลักษณะ ขนาด และรายละเอียดของข้อความ ท้ายประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่อง ก าหนดมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในสถานประกอบการ ____________________ ๑. ลักษณะของข้อความ ให้พิมพ์ด้วยอักษรตัวตรง หรือเขียนด้วยอักษรตัวตรงและบรรจง ทั้งนี้ สีของข้อความให้ใช้สี ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนกับสีของพื้นป้ายหรือประกาศ ๒. ขนาดของข้อความ (๑) ข้อความเตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดในป้ายหรือ ประกาศของสถานประกอบการตามข้อ ๒ (๑) (๒) และ (๖) ให้มีขนาดของอักษรกว้างไม่น้อยกว่า ๔ เซนติเมตร และสูงไม่น้อยกว่า ๗ เซนติเมตร (๒) ข้อความเตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดในป้ายหรือ ประกาศของสถานประกอบการตามข้อ ๒ (๓) (๔) และ (๕) ให้มีขนาดของอักษรกว้างไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร และสูงไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร (๓) นอกจากข้อความเตือนตาม (๒) หรือ (๒) แล้วให้มีข้อความว่า “สถานประกอบการนี้ อยู่ภายใต้บังคับมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในสถานประกอบการ ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด” โดยข้อความดังกล่าวให้มีขนาดเล็กกว่าข้อความเตือน ตาม (๒) หรือ (๒) แล้วแต่กรณี และจะอยู่ในป้ายหรือประกาศเดียวกันด้วยหรือไม่ก็ได้ ๓. รายละเอียดของข้อความ (๑) ข้อความเตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของประเภทสถานประกอบการ ตัวอย่างเช่น - ยาเสพติดท าลายความมั่นคงของชาติ - ยาเสพติดบั่นทอนสุขภาพผู้เสพและท าลายความมั่นคงของชาติ - การจ าหน่ายยาเสพติด ต้องระวางโทษสูงสุดประหารชีวิต - งานให้ชีวิต ยาเสพติดให้ทุกข์ - ลูกเมียคือชีวิต ยาเสพติดคือวายร้าย - ยาเสพติดมีมหัตภัยกับทุกคน - โรงงานทั่วไทย ร่วมต้านภัยยาเสพติด - เอาใจใส่ลูกจ้างสักนิด ยาเสพติดไม่มาเยือน (๒) ข้อความที่แสดงว่าสถานประกอบการที่ติดป้ายหรือประกาศนั้นอยู่ภายใต้บังคับมาตรการ ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ตามประมวล กฎหมายยาเสพติด คือ - สถานประกอบการนี้อยู่ภายใต้บังคับมาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหา การกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
226 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการสั่งตรวจสอบทรัพย์สิน การยุติการตรวจสอบทรัพย์สิน และการคืนทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้ชั่วคราว พ.ศ. 2565 อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๖๔ (๕) ประกอบมาตรา ๖๘ และมาตรา ๗๑ แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติด คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการสั่ง ตรวจสอบทรัพย์สิน การยุติการตรวจสอบทรัพย์สินและการคืนทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้ชั่วคราว พ.ศ. 2565” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค 1 - 9 ส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกรุงเทพมหานคร และส านักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด “ทรัพย์สินที่มีเหตุอันควรสงสัย” หมายความว่า ทรัพย์สินที่สงสัยว่าเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่อง กับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด และให้หมายความรวมถึงทรัพย์สินที่ผู้ต้องหามีอยู่ หรือได้มาเกินกว่าฐานะหรือความสามารถในการประกอบอาชีพหรือกิจกรรมอย่างอื่นโดยสุจริต เว้นแต่ เป็นทรัพย์สินที่ใช้ในครัวเรือน หรือทรัพย์สินที่บุคคลทั่วไปสามารถมีได้ตามฐานานุรูป หรือตามความจ าเป็น ในการด ารงชีพ “ประโยชน์แก่ทางราชการ” หมายความว่า เกิดประสิทธิภาพต่อทางราชการและเกิด ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ในการปราบปรามผู้กระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ข้อ 4 กรณีที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ได้รับรายงานจากเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ว่าได้ด าเนินการ ยึดหรืออายัดทรัพย์สินโดยอาศัยอ านาจตามมาตรา ๑๑/๑ (๖) แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณา คดียาเสพติด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕๖๔ แล้วให้ส านักงานรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สิน ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด พร้อมท าความเห็นเสนอ คณะกรรมการพิจารณาโดยเร็ว การเก็บรักษาทรัพย์สินระหว่างที่คณะกรรมการหรือเลขาธิการ ป.ป.ส. ยังไม่มีค าสั่งตรวจสอบ ยึดหรืออายัดให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. น าทรัพย์สินที่มีเหตุอันควรสงสัยส่งมอบเพื่อเก็บรักษา ณ ส านักงาน หรือสถานที่เก็บรักษาที่เลขาธิการ ป.ป.ส. มอบหมายให้เป็นสถานที่เก็บรักษาทรัพย์สิน หนา ๓๙้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ * * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 227 ที่มีการตรวจยึดทรัพย์สินนั้นไว้ โดยน าหลักเกณฑ์ วิธีการ ที่ก าหนดไว้ในระเบียบคณะกรรมการ ตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บรักษาทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัดมาบังคับใช้โดยอนุโลม ข้อ 5 ในการพิจารณาสั่งตรวจสอบทรัพย์สิน ให้ส านักงานด าเนินการตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง รายละเอียดหรือพฤติการณ์ ดังนี้ (๑) ชื่อ นามสกุล และเลขประจ าตัวประชาชนของผู้ต้องหาหรือเลขประจ าตัวบุคคล ตามเอกสารที่ทางราชการออกให้ (๒) ข้อกล่าวหา ชนิด ประเภทและปริมาณยาเสพติดของกลาง (๓) พฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องหรือที่เคยเกี่ยวข้องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด (๔) รายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ต้องหาที่ตรวจพบ (๕) รายละเอียดเกี่ยวกับอาชีพ รายได้และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สิน (๖) ชื่อหน่วยงานผู้ท าการสืบสวนจับกุมและหัวหน้าชุดในการสืบสวนจับกุม (๗) ชื่อหน่วยงานสอบสวนและพนักงานสอบสวนที่รับผิดชอบ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาให้หน่วยงานหรือเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ที่เสนอเรื่องให้มีการ สั่งตรวจสอบทรัพย์สินจัดส่งข้อมูล ข้อเท็จจริงตามวรรคหนึ่ง มายังส านักงาน การด าเนินการในข้อนี้หากข้อมูลตามวรรคหนึ่งไม่ครบถ้วน ให้ส านักงานด าเนินการแจ้ง หน่วยงานหรือเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ที่เสนอเรื่องให้มีการสั่งตรวจสอบทรัพย์สินน าส่งข้อมูลอันเป็น เหตุควรเชื่อในทรัพย์สินที่จะยึดหรืออายัดว่าเป็นทรัพย์สินที่มีเหตุอันควรสงสัยประกอบการพิจารณา เพื่อมีค าสั่งตรวจสอบทรัพย์สินโดยเร็ว ข้อ 6 ในการพิจารณาสั่งตรวจสอบทรัพย์สิน ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของบุคคลอื่น ที่มีหลักฐานเป็นที่เชื่อได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด ของผู้ต้องหา ให้ส านักงานด าเนินการตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง รายละเอียดหรือพฤติการณ์ จากรายงานการสืบสวนประกอบการพิจารณาสั่งตรวจสอบ ยึดหรืออายัด ดังนี้ (๑) เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องทางการเงินที่แสดงให้เห็นว่า มีการโอนทรัพย์สินให้กัน อาทิเช่น หลักฐานการโอนเงินในระบบธนาคาร ใบเสร็จที่ระบุชื่อผู้ต้องหาเป็นผู้ซื้อหรือผู้ช าระเงิน (๒) ข้อมูลหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของบุคคลที่แสดงให้เห็นว่า อาจมีการให้ ทรัพย์สินกัน หรือครอบครองร่วมกัน (๓) บันทึกถ้อยค าหรือค าให้การของผู้ต้องหาที่รับว่าให้หรือใช้ทรัพย์สินร่วมกับบุคคล ที่มีการถือครองทรัพย์สินแทน (๔) ข้อมูลฐานะทางการเงินหรืออาชีพรายได้ของบุคคลที่แสดงให้เห็นว่า บุคคลนั้น มีความสามารถมีทรัพย์สินนั้นได้โดยสุจริตหรือไม่ ข้อ 7 ในกรณีการด าเนินการตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง รายละเอียดหรือพฤติการณ์ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาสั่งตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหาตามข้อ 5 และการพิจารณา หนา ๔๐้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
228 สำ�นักงาน ป.ป.ส. สั่งตรวจสอบทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับ ยาเสพติดของผู้ต้องหาตามข้อ 6 หากปรากฏว่าทรัพย์สินของผู้ต้องหารายใดเป็นทรัพย์สิน ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติดให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอคณะกรรมการพิจารณาสั่งให้มีการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหารายนั้น แต่ในกรณีที่มี เหตุอันควรเชื่อได้ว่าทรัพย์สินรายใด อาจมีการโอน ยักย้าย ซุกซ่อน และมีความจ าเป็นเร่งด่วน ไม่อาจน าเสนอคณะกรรมการได้ทันหรือเป็นกรณีที่มีเหตุผลและความจ าเป็นอย่างอื่น เลขาธิการ ป.ป.ส. อาจสั่งให้ตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหาไปก่อนแล้วรายงานให้คณะกรรมการทราบก็ได้ ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาชีพ รายได้ หรือการได้มาซึ่งทรัพย์สินที่จะยึดหรืออายัด เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. อาจตรวจสอบข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือมีหนังสือแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องหรือ ผู้อาจอ้างสิทธิติดต่อส านักงานตามแต่พื้นที่ เพื่อชี้แจงพร้อมทั้งน าหลักฐานมาแสดงว่าตนเป็นเจ้าของ ที่แท้จริง และพิสูจน์ว่าได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยสุจริตมีค่าตอบแทน ไม่เกี่ยวเนื่องกับการกระท า ความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติดต่อเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ประกอบการพิจารณาเสนอสั่งตรวจสอบ ทรัพย์สินหรือเสนอไม่สั่งตรวจสอบทรัพย์สิน ข้อ 8 กรณีคณะกรรมการหรือเลขาธิการ ป.ป.ส. สั่งตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหารายใด ในระหว่างการด าเนินการตรวจสอบทรัพย์สิน หากเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. พบว่าการด าเนินการตรวจสอบ ทรัพย์สินต่อไปจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. แจ้งผลการตรวจสอบ ทรัพย์สินพร้อมความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา หากคณะกรรมการเห็นด้วยกับความเห็น ของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. คณะกรรมการอาจสั่งให้ยุติการตรวจสอบทรัพย์สินนั้นก็ได้ การด าเนินการตรวจสอบทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึง (๑) ไม่คุ้มค่าในการด าเนินการตรวจสอบทรัพย์สิน การยึดหรืออายัด และการจัดการทรัพย์สิน หรือไม่เกิดประสิทธิภาพในการปราบปรามยาเสพติด หรือเป็นภาระแก่ทางราชการมากกว่าประโยชน์ ที่ทางราชการจะได้รับ โดยมีมูลค่าทรัพย์สินตามที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ประกาศก าหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการ (๒) เป็นทรัพย์สินที่หากมีการด าเนินการตามกฎหมายอื่นแล้วจะท าให้เกิดประสิทธิภาพ ในการบังคับใช้กฎหมายยิ่งกว่า ข้อ 9 การแจ้งผลการตรวจสอบทรัพย์สินตามข้อ 8 ควรให้ปรากฏข้อเท็จจริงประกอบ การพิจารณา ดังนี้ (๑) พฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติดของผู้ต้องหา ที่ถูกตรวจสอบทรัพย์สิน (๒) ผลการด าเนินคดีอาญาหรือค าพิพากษาในคดีที่ผู้ต้องหาถูกจับกุมในความผิดร้ายแรง เกี่ยวกับยาเสพติด หนา ๔๑้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 229 (๓) รายละเอียดทรัพย์สิน สภาพและราคาประเมินของทรัพย์สินแต่ละรายการ (๔) ภาระต่าง ๆ ที่จะตกแก่ทางราชการหากด าเนินการตรวจสอบทรัพย์สินต่อไป (๕) ประโยชน์ที่จะได้รับเมื่อศาลมีค าสั่งถึงที่สุดให้ริบทรัพย์สินตกเป็นของกองทุนป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด (๖) การด าเนินการตามกฎหมายอื่นจะเกิดประโยชน์มากกว่าหรือเป็นภาระแก่ทางราชการ น้อยกว่าการด าเนินการตรวจสอบทรัพย์สินตามกฎหมายนี้ ข้อ ๑0 ในกรณีคณะกรรมการได้พิจารณาผลการตรวจสอบทรัพย์สินและความเห็นของ เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ตามข้อ 8 และข้อ 9 แล้ว หากคณะกรรมการเห็นสมควรด าเนินการ ตรวจสอบทรัพย์สินต่อไป ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ด าเนินการตรวจสอบทรัพย์สินต่อไป ในกรณี ที่คณะกรรมการเห็นด้วยกับความเห็นของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. และคณะกรรมการสั่งให้ยุติ การตรวจสอบทรัพย์สินนั้น หากคณะกรรมการเห็นสมควรจะสั่งให้คืนทรัพย์สินที่มีการยึดหรืออายัด ไว้ชั่วคราวในระหว่างการตรวจสอบให้แก่เจ้าของทรัพย์สินก็ได้ ในกรณีคณะกรรมการสั่งให้คืนทรัพย์สินที่มีการยึดหรืออายัดไว้ชั่วคราวในระหว่าง การตรวจสอบให้แก่เจ้าของทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงานคืนทรัพย์สินนั้นให้แก่เจ้าของทรัพย์สิน ในกรณีทรัพย์สินที่คืนเป็นทรัพย์สินที่สามารถด าเนินการตามกฎหมายอื่นได้ก็ให้ด าเนินการกับทรัพย์สิน นั้นต่อไปตามกฎหมายดังกล่าวนั้น ในกรณีทรัพย์สินที่ส านักงานได้มีการเก็บรักษาไว้ตามข้อ 4 วรรคสอง หากคณะกรรมการหรือ เลขาธิการ ป.ป.ส. ไม่มีค าสั่งตรวจสอบ ยึดหรืออายัด และส านักงานตรวจสอบแล้วไม่สามารถ ด าเนินการตามกฎหมายอื่นได้ ก็ให้ด าเนินการส่งมอบทรัพย์สินนั้นคืนให้แก่เจ้าของทรัพย์สิน การขอรับทรัพย์สินคืนและการคืนทรัพย์สิน ให้น ากฎกระทรวงว่าด้วยการขอรับทรัพย์สินคืน และการคืนทรัพย์สินมาบังคับใช้โดยอนุโลม ข้อ 11 ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ านาจออกระเบียบ ประกาศ หรือค าสั่ง เพื่อปฏิบัติการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอคณะกรรมการ วินิจฉัยชี้ขาด ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน หนา ๔๒้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
230 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการประเมินค่าเสียหายและค่าเสื่อมสภาพ พ.ศ. 2565 อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๖๔ (๕) ประกอบมาตรา ๗5 แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติด คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการประเมิน ค่าเสียหาย และค่าเสื่อมสภาพ พ.ศ. 2565” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการเก็บรักษา” หมายความว่า คณะกรรมการผู้มีหน้าที่เก็บรักษาตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บรักษาทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัด “ทรัพย์สิน” หมายความว่า ทรัพย์สินที่ได้น าไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ ข้อ 4 ในกรณีที่ต้องคืนทรัพย์สินใด ให้คณะกรรมการเก็บรักษาประเมินค่าเสียหายหรือ ค่าเสื่อมสภาพของทรัพย์สินนั้น ข้อ 5 ในกรณีจ าเป็นหรือสมควร เลขาธิการ ป.ป.ส. จะแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ค่าเสียหายหรือค่าเสื่อมสภาพขึ้นเป็นการเฉพาะก็ได้ ข้อ 6 ในการประเมินค่าเสียหายหรือค่าเสื่อมสภาพ ถ้ามีความจ าเป็นและสมควร คณะกรรมการเก็บรักษาหรือคณะกรรมการประเมินค่าเสียหายหรือค่าเสื่อมสภาพ อาจขอให้ผู้ซึ่งมี ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับทรัพย์สินประเภทใดโดยเฉพาะเป็นผู้ตรวจสอบและให้ความเห็น เพื่อประกอบ การพิจารณาเกี่ยวกับการประเมินค่าเสียหายหรือเสื่อมสภาพทรัพย์สินนั้นก็ได้ ข้อ 7 ในการประเมินค่าเสียหายหรือค่าเสื่อมสภาพ ให้ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ ถือว่าเป็น ทรัพย์สินที่ไม่อาจคืนได้ (๑) ทรัพย์สินที่สูญหาย เสียหาย หรือเสื่อมสภาพโดยสิ้นเชิง (๒) ทรัพย์สินที่โดยสภาพไม่อาจซ่อมแซมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ (๓) ทรัพย์สินที่โดยสภาพอาจซ่อมแซมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ แต่คณะกรรมการเห็นว่า ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมนั้นสูงเกินควร ข้อ 8 การประเมินค่าเสียหายและค่าเสื่อมสภาพของทรัพย์สิน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ถ้าทรัพย์สินนั้นเสียหายและสามารถซ่อมแซมให้กลับสู่สภาพเดิมได้ ให้ประเมินค่าเสียหาย เท่ากับค่าใช้จ่ายที่จ าเป็นเพื่อซ่อมแซมทรัพย์สินนั้นให้กลับคืนสู่สภาพเดิม หนา ๔๗้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ * * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 231 (๒) ถ้าทรัพย์สินนั้นเสื่อมสภาพเนื่องจากการใช้งาน ให้ประเมินค่าเสื่อมสภาพเท่ากับ ค่าเสื่อมสภาพที่ค านวณได้ ตามหลักเกณฑ์ที่ทางราชการใช้ในการค านวณราคาเมื่อทรัพย์สิน ของทางราชการเสียหายหรือสูญหาย ข้อ 9 เลขาธิการ ป.ป.ส. จะสั่งให้คณะกรรมการเก็บรักษาหรือคณะกรรมการประเมิน ค่าเสียหายหรือค่าเสื่อมสภาพ ชี้แจงเหตุผลและหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินค่าเสียหายหรือ ค่าเสื่อมสภาพ หรือสั่งให้มีการประเมินใหม่ก็ได้ หากเห็นว่าค่าเสียหายหรือค่าเสื่อมสภาพที่ประเมินไว้นั้น สูงหรือต่ าเกินสมควร หรือหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินยังไม่เหมาะสม ข้อ 10 ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ านาจออกระเบียบหรือ ค าสั่งเพื่อปฏิบัติการ ตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอให้ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยชี้ขาด ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน หนา ๔๘้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
232 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บรักษาทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัด พ.ศ. 2565 อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๖๔ (๕) และมาตรา ๗5 แห่งประมวลกฎหมายยาเสพติด คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บรักษา ทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัด พ.ศ. 2565” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ทรัพย์สิน” หมายความว่า ทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับ ยาเสพติดที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้มีค าสั่งให้ยึดหรืออายัดไว้แล้วและให้หมายความรวมถึง ทรัพย์สินที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินหรือเลขาธิการ ป.ป.ส. ได้มีค าสั่งให้ยึดหรืออายัดไว้ ชั่วคราวด้วย ข้อ ๔ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ านาจออกระเบียบหรือ ค าสั่งเพื่อปฏิบัติการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอให้ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยชี้ขาด หมวด ๑ หน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน ข้อ ๕ ในกรณีปกติ ให้ผู้อ านวยการส านักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด หรือผู้อ านวยการ ส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค หรือผู้อ านวยการส านักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณีมีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดได้ในพื้นที่ ที่ตนรับผิดชอบ แต่ในกรณีมีเหตุจ าเป็นและสมควรเลขาธิการ ป.ป.ส. จะมีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น คณะหนึ่ง หรือหลายคณะประกอบด้วยข้าราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องจ านวนไม่น้อยกว่าสามคน หรือจะมีค าสั่งแต่งตั้งผู้อ านวยการส านักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด หรือผู้อ านวยการส านักงาน ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค หรือผู้อ านวยการส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กรุงเทพมหานคร ให้เป็นผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินรายการใดหรือทรัพย์สินจากคดีใดโดยเฉพาะก็ได้ เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการตามระเบียบนี้ ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินอาจมอบหมาย ให้ผู้หนึ่งผู้ใดท าการแทนก็ได้ หนา ๔๙้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ * * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 233 ข้อ ๖ ให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินตามข้อ ๕ มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ตรวจความถูกต้องของทรัพย์สินที่จะต้องเก็บรักษาหรือส่งมอบ (๒) จัดท าบัญชีทรัพย์สินที่เก็บรักษา (๓) จัดท าหลักฐานการรับหรือส่งมอบทรัพย์สิน (๔) เก็บรักษากุญแจและรหัสของสถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินตามข้อ ๗ (๕) ตรวจสอบเกี่ยวกับทรัพย์สิน เช่น ความช ารุดบกพร่อง และรายงานความเคลื่อนไหว หรือผลการตรวจสอบเกี่ยวกับทรัพย์สิน ทั้งนี้ ตามที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ก าหนด (๖) เก็บรักษาทรัพย์สินที่ได้รับมอบไว้ให้ปลอดภัย (๗) ส่งมอบทรัพย์สินแก่บุคคลที่เลขาธิการ ป.ป.ส. มีค าสั่ง ข้อ ๗ ลูกกุญแจและรหัสให้แยกกันเก็บรักษาไว้ โดยให้ผู้อ านวยการส านักตรวจสอบ ทรัพย์สินคดียาเสพติด หรือผู้อ านวยการส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค หรือผู้อ านวยการส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกรุงเทพมหานคร หรือประธานกรรมการ เก็บรักษาทรัพย์สินที่เลขาธิการ ป.ป.ส. แต่งตั้งแล้วแต่กรณี เป็นผู้เก็บรักษารหัสและให้ข้าราชการ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับช านาญการขึ้นไป หรือยศพันต ารวจโทขึ้นไปหรือเทียบเท่าและข้าราชการ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับช านาญการขึ้นไป หรือยศพันต ารวจตรีขึ้นไปหรือเทียบเท่ามีหน้าที่ เก็บรักษาลูกกุญแจคนละหนึ่งดอก ข้าราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน จากเลขาธิการ ป.ป.ส. หมวด ๒ การส่งมอบและรับมอบทรัพย์สิน ข้อ ๘ ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ซึ่งด าเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ประเมินราคา และส่งมอบ ทรัพย์สินพร้อมเอกสารหลักฐานให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน เพื่อเก็บรักษาไว้ ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ก าหนดในระเบียบนี้ กรณีที่มีเหตุจ าเป็นและสมควร เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. อาจส่งมอบทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไปก่อน แล้วประเมินราคาทรัพย์สินภายหลังก็ได้ ในกรณีที่ทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือเป็นการประกอบกิจการ เช่น อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือเกษตรกรรม ที่มีรายได้จากการประกอบกิจการดังกล่าว ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ตามวรรคหนึ่ง รายงานเลขาธิการ ป.ป.ส. ทันทีเพื่อพิจารณาสั่งการ หากเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ไม่อาจยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งได้ ให้รายงานต่อ เลขาธิการ ป.ป.ส. เพื่อพิจารณาสั่งการ หนา ๕๐้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
234 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ข้อ ๙ ในการยึดและส่งมอบทรัพย์สินที่เป็นอัญมณี เครื่องทองรูปพรรณหรือของมีค่า ท านองเดียวกัน ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ที่ด าเนินการการยึด ตรวจความถูกต้องของทรัพย์สินที่ยึด ต่อหน้าผู้น ายึด แล้วบรรจุทรัพย์สินแยกตามประเภทลงในภาชนะที่เรียบร้อย ปลอดภัย แล้วลงลายมือชื่อ เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ผู้ยึดและผู้น ายึด บนฉลากแล้วปิดทับภาชนะบรรจุทรัพย์สินหรือตัวทรัพย์สิน ตามที่เห็นสมควรในลักษณะที่หากจะมีการเปิดภาชนะดังกล่าวแล้ว จะต้องท าให้ฉลากหรือภาชนะ ฉีกขาดหรือไม่อยู่ในสภาพที่ปิดอยู่ตามปกติ แล้วส่งมอบให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน ในกรณีที่ฉลากหรือภาชนะฉีกขาดหรือไม่อยู่ในสภาพที่ปิดอยู่ตามปกติ ผู้มีหน้าที่เก็บรักษา ทรัพย์สินอาจไม่รับมอบทรัพย์สินนั้นก็ได้ เว้นแต่มีเหตุอันสมควร ข้อ ๑๐ ภายใต้บังคับข้อ ๖ ให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินตรวจสอบความถูกต้องของ ทรัพย์สินที่ส่งมอบต่อหน้าเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ผู้ส่งมอบ แล้วบรรจุทรัพย์สินแยกตามประเภท ลงในภาชนะที่เรียบร้อย ปลอดภัย แล้วลงลายมือชื่อเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ผู้ส่งมอบและรับมอบ ในแบบฉลากที่ปิดภาชนะนั้นไว้เป็นหลักฐาน การปิดฉลากที่ภาชนะบรรจุทรัพย์สินหรือตัวทรัพย์สิน ให้ปิดทับในลักษณะที่หากจะมีการเปิด ภาชนะดังกล่าวแล้ว จะต้องท าให้ฉลากหรือภาชนะฉีกขาดหรือไม่อยู่ในสภาพที่ปิดอยู่ตามปกติ ในกรณี ที่ทรัพย์สินมีขนาดใหญ่ไม่อาจบรรจุในภาชนะได้ ให้ปิดทับบนทรัพย์สินนั้นในต าแหน่งที่เห็นสมควร แบบฉลากตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ส านักงาน ป.ป.ส. ก าหนด ข้อ ๑๑ เมื่อมีการส่งมอบสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ใดแล้ว หากปรากฏว่าทรัพย์สิน ดังกล่าวมีภาระผูกพัน ให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มีหนังสือแจ้งให้คู่สัญญาทราบเกี่ยวกับการยึดหรือ อายัดทรัพย์สินนั้น และให้รวบรวมมูลหนี้และหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องส่งมอบให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษา ทรัพย์สิน เพื่อรายงานเลขาธิการ ป.ป.ส. พิจารณาสั่งการ ข้อ ๑๒ กรณีทรัพย์สินที่ต้องส่งมอบเพื่อเก็บรักษาเป็นเงินสด เพื่อความสะดวกในการ ส่งมอบทรัพย์สิน เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. อาจน าทรัพย์สินประเภทเงินสดที่ยึดเข้าฝากสถาบันการเงิน ตามที่คณะกรรมการก าหนดไปก่อน แล้วน าหลักฐานการฝากเงินส่งมอบต่อคณะกรรมการเก็บรักษา ทรัพย์สินก็ได้ ข้อ ๑๓ ในการน าทรัพย์สินที่เก็บรักษามาประเมินราคาตามข้อ ๘ วรรคสอง จะต้องได้รับ อนุญาตจากผู้มีอ านาจอนุญาตตามข้อ ๒๑ โดยให้ระบุรายละเอียดของทรัพย์สิน และวันเวลาที่จะน า ทรัพย์สินนั้น มาท าการตรวจสอบและประเมินราคา ในการตรวจสอบเพื่อประเมินราคาตามวรรคหนึ่ง หากต้องมีการท าลายฉลากที่ปิดทับภาชนะ ที่เก็บรักษาทรัพย์สิน ให้กระท าต่อหน้าเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. และผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน เมื่อด าเนินการประเมินราคาแล้ว ให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินบรรจุทรัพย์สินในภาชนะใหม่ ต่อหน้าเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. แล้วลงลายมือชื่อเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. และผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน หนา ๕๑้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 235 ในแบบฉลากที่ปิดภาชนะนั้นไว้เพื่อเป็นหลักฐาน ทั้งนี้ ให้น าความในข้อ ๑๐ วรรคสอง และวรรคสาม มาบังคับใช้โดยอนุโลม หมวด ๓ วิธีการเก็บรักษาทรัพย์สิน ข้อ ๑๔ ในการเก็บรักษาทรัพย์สิน ให้พึงปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดท าบัตรหรือเครื่องหมายติดไว้กับทรัพย์สินนั้นตามบัญชีทรัพย์สินที่เก็บรักษาตามข้อ ๖ (๒) เพื่อสะดวกและง่ายต่อการค้นหาและอ้างอิง (๒) เก็บรักษาทรัพย์สินตามประเภท สภาพ และขนาดของทรัพย์สินในสถานที่หรือห้องที่ มั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย ข้อ ๑๕ ถ้าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาเป็นอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที่ไม่สะดวกต่อ การขนย้าย ให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีที่เห็นสมควร อาจจัดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินดูแลทรัพย์สินต่อไปได้ ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินยินยอม หรือ (๒) จัดให้ผู้อื่นดูแลรักษาทรัพย์สิน เช่น จ้างคนเฝ้าทรัพย์สิน ข้อ ๑๖ ถ้าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาเป็นทรัพย์สินตามข้อ ๘ วรรคสาม เลขาธิการ ป.ป.ส. จะมีค าสั่งตั้งผู้จัดการหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์หรือกิจการดังกล่าว โดยให้ส่งมอบเงินรายได้ทั้งหมด หรือบางส่วนแก่ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินภายในเวลาและตามเงื่อนไขที่ก าหนดก็ได้ เพื่อเก็บรักษา เช่นเดียวกับทรัพย์สินและเมื่อได้ด าเนินการดังกล่าวแล้วให้รายงานคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ในโอกาสแรกที่มีการประชุม ข้อ ๑๗ ถ้าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาเป็นเงินสด ให้รีบน าเข้าฝากสถาบันการเงินที่ประกอบ กิจการธนาคาร หรือที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการเฉพาะ หรือที่ไม่ประกอบกิจการธนาคาร ตามที่ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินก าหนดในวันที่รับทรัพย์สิน หากไม่สามารถน าเข้าฝากได้ทันเนื่องจาก สถาบันการเงินปิดท าการแล้ว ให้รีบน าเข้าฝากในโอกาสแรกที่สถาบันการเงินเปิดท าการแล้วรายงานให้ เลขาธิการ ป.ป.ส. ทราบ ในกรณีทรัพย์สินที่เก็บรักษาเป็นเงินตราต่างประเทศที่อาจแลกเปลี่ยนเป็นเงินไทยได้ ให้แลกเปลี่ยนเป็นเงินไทย แล้วเก็บรักษาตามวรรคหนึ่ง ข้อ ๑๘ ถ้าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาเป็นอัญมณี เครื่องทองรูปพรรณ หรือของมีค่าอื่น ท านองเดียวกัน ให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินตามข้อ ๕ เก็บรักษาทรัพย์สินไว้ในที่ปลอดภัยตามที่เห็นสมควร โดยในบัญชีทรัพย์สินที่เก็บรักษาตามข้อ ๖ (๒) ให้มีรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นตามสมควรด้วย ข้อ ๑๙ ให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินรายงานต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. โดยเร็วเพื่อพิจารณา สั่งการตามที่เห็นสมควร เมื่อปรากฏว่า หนา ๕๒้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
236 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (๑) ทรัพย์สินนั้นมีสภาพเป็นของสด ของเสียได้ หรือถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อ ความเสียหายหรือค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่าของทรัพย์สินนั้น (๒) ทรัพย์สินนั้นมีลักษณะที่อาจท าให้สกปรก เลอะเทอะ หรือมีกลิ่นหรืออาจรบกวนหรือ ก่อความร าคาญ (๓) ทรัพย์สินนั้นมีน้ าหนักมากหรือไม่สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย หรือมีขนาดใหญ่มาก หรือเปลืองเนื้อที่ในการเก็บรักษา (๔) ทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สินซึ่งโดยสภาพอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย เช่น สารเคมี หรือสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง (๕) ทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาไว้ในสถานที่โดยเฉพาะเพื่อรักษาคุณภาพของตัวทรัพย์ ข้อ ๒๐ ในกรณีที่เลขาธิการ ป.ป.ส. เห็นว่าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาตามข้อ ๑ ไม่เหมาะสม ที่จะเก็บรักษาไว้หรือการเก็บรักษาไว้จะเป็นภาระแก่ทางราชการมากเกินสมควร เลขาธิการ ป.ป.ส. อาจสั่งให้น าทรัพย์สินนั้นออกขายทอดตลาดหรือน าไปใช้ประโยชน์ของทางราชการได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบว่าด้วยการน าทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือน าไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ ข้อ ๒๑ การเคลื่อนย้ายทรัพย์สินออกนอกสถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินจะกระท าได้เมื่อได้รับ อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้อ านวยการส านักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด ผู้อ านวยการ ส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค หรือผู้อ านวยการส านักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดกรุงเทพมหานคร หรือประธานกรรมการเก็บรักษาทรัพย์สินก่อน ในกรณีทรัพย์สินที่เก็บรักษาเกิดความเสียหายให้รีบรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. โดยเร็ว ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน หนา ๕๓้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 237 ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการน าทรัพย์สินออกขายทอดตลาด หรือน าไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ พ.ศ. 2565 อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๖๔ (๕) ประกอบมาตรา 75 แห่งประมวลกฎหมาย ยาเสพติด คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการน า ทรัพย์สินออกขายทอดตลาด หรือน าไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ พ.ศ. 2565” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ านาจออกระเบียบหรือค าสั่ง เพื่อปฏิบัติการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัยชี้ขาด หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด “หัวหน้าหน่วยงานราชการ” หมายความว่า ผู้ซึ่งด ารงต าแหน่งตั้งแต่ผู้อ านวยการ ผู้บังคับการต ารวจ ผู้บังคับการกรม หรือเทียบเท่าขึ้นไป “กองทุน” หมายความว่า กองทุนป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด “ทรัพย์สิน” หมายความว่า ทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิดร้ายแรงเกี่ยวกับ ยาเสพติดที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินได้มีค าสั่งให้ยึดหรืออายัดไว้แล้ว และให้หมายความรวมถึง ทรัพย์สินที่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน หรือเลขาธิการ ป.ป.ส. ได้มีค าสั่งให้ยึดหรืออายัดไว้ ชั่วคราวด้วย ข้อ 5 เลขาธิการ ป.ป.ส. อาจสั่งให้น าทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือน าไปใช้ประโยชน์ ของทางราชการได้ เมื่อปรากฏว่า (๑) ทรัพย์สินนั้นมีสภาพเป็นของสด ของเสียได้ หรือถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อ ความเสียหาย หรือค่าเสียหายจะเกินส่วนแห่งค่าของทรัพย์สินนั้น (๒) ทรัพย์สินนั้นมีลักษณะที่อาจท าให้สกปรก เลอะเทอะ หรือมีกลิ่น หรืออาจรบกวน หรือก่อความร าคาญ หนา ๔๓้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ * * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
238 สำ�นักงาน ป.ป.ส. (๓) ทรัพย์สินนั้นมีน้ าหนักมาก หรือไม่สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย หรือมีขนาดใหญ่มาก หรือเปลืองเนื้อที่ในการเก็บรักษา (๔) ทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สิน ซึ่งโดยสภาพอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย เช่น สารเคมี หรือสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง (๕) ทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาไว้ในสถานที่โดยเฉพาะเพื่อรักษาคุณภาพของตัวทรัพย์ ทรัพย์สินตาม (๑) ถึง (๕) ให้รวมถึง ทรัพย์สินที่เลขาธิการ ป.ป.ส. เห็นว่าไม่เหมาะสม ที่จะเก็บรักษาไว้ หรือหากเก็บรักษาไว้จะเป็นภาระแก่ทางราชการมากกว่าน าไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น หมวด ๒ การขายทอดตลาด ข้อ 6 ในการขายทอดตลาดให้เลขาธิการ ป.ป.ส. แต่งตั้งคณะกรรมการขายทอดตลาด ขึ้นคณะหนึ่ง หรือหลายคณะมีจ านวนไม่น้อยกว่าสามคน โดยมีข้าราชการในส านักงานเป็นกรรมการ และเลขานุการ มีหน้าที่ด าเนินการขายทอดตลาดทรัพย์สิน ในกรณีที่เห็นสมควร เลขาธิการ ป.ป.ส. อาจจัดจ้างหรือมอบหมายหน่วยงานราชการหรือ บริษัทเอกชนเป็นผู้ด าเนินการขายทอดตลาดแทนก็ได้ โดยให้คณะกรรมการขายทอดตลาดตามวรรคหนึ่ง ด าเนินการ ประกวดราคา พิจารณา ควบคุม ก ากับดูแลการขายทอดตลาดทรัพย์สินของหน่วยงานราชการ หรือบริษัทเอกชนนั้น รวมทั้งก าหนดราคาขั้นต่ าของทรัพย์สินที่จะขายทอดตลาด กรณีจัดจ้างหรือมอบหมายหน่วยงานราชการ หรือบริษัทเอกชนมาด าเนินการขายทอดตลาด ค่าใช้จ่ายในการขายทอดตลาดจะต้องไม่สูงกว่าร้อยละ ๒๕ ของราคาขั้นต่ าของทรัพย์สินนั้น ข้อ 7 การด าเนินการขายทอดตลาดให้กระท าโดยเปิดเผยตามระเบียบที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ก าหนด ข้อ 8 ค่าใช้จ่ายในการขายทอดตลาดตามระเบียบนี้ ให้ใช้เงินจากกองทุน หมวด ๓ การน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ ข้อ 9 ทรัพย์สินที่จะน าไปใช้ประโยชน์จะต้องเป็นทรัพย์สินที่ไม่เหมาะสมจะน าออกขาย ทอดตลาด หรือการน าทรัพย์สินไปใช้นั้นจะได้ประโยชน์มากกว่าการขายทอดตลาด ข้อ ๑0 การน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ให้กระท าได้เฉพาะหน่วยงานราชการเท่านั้น ข้อ ๑1 การขอน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ ให้หัวหน้าหน่วยงานราชการมีหนังสือแสดง ความจ านงต่อเลขาธิการ ป.ป.ส. โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ (๑) หน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานราชการนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่ประสงค์ จะขอน าทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์ หนา ๔๔้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 239 (๒) ประเภทของทรัพย์สินที่จะขอน าไปใช้ประโยชน์ (๓) เหตุผลและความจ าเป็นที่จะขอน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ (๔) ลักษณะและระยะเวลาของการใช้ประโยชน์ (๕) การดูแลรักษาและความรับผิดชอบในกรณีที่เกิดความช ารุดบกพร่อง เสียหายหรือสูญหาย ข้อ ๑2 ในกรณีที่เลขาธิการ ป.ป.ส. เห็นว่าทรัพย์สินตามข้อ 5 จะเป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดของส านักงาน เลขาธิการ ป.ป.ส. อาจอนุญาตให้หน่วยงานนั้น น าทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อ ๑3 การพิจารณาอนุญาตให้น าทรัพย์สินใดไปใช้ประโยชน์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ เลขาธิการ ป.ป.ส. ก าหนด ทั้งนี้ ในระเบียบดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) หน่วยงานราชการนั้นเป็นหน่วยงานราชการซึ่งท าหน้าที่ปราบปรามยาเสพติด หรือท าหน้าที่ ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด (๒) เหตุผลและความจ าเป็นที่จะขอน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ (๓) ภาระต่าง ๆ ที่จะตกแก่ทางราชการ หากไม่น าทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์ (๔) ความเสียหายหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการน าทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์ (๕) พฤติการณ์ในการด าเนินคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้น (๖) พฤติกรรมอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร การพิจารณาอนุญาตตามวรรคหนึ่ง หากหน่วยราชการได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อทรัพย์สิน ดังกล่าวแล้ว ก็ไม่อนุญาตให้น าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ ข้อ ๑4 การขอน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานราชการอื่น นอกจากหน่วยงานราชการ ตามข้อ ๑3 (๑) ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน เพื่อพิจารณาเป็นราย ๆ ไป ข้อ ๑5 เมื่อหน่วยงานราชการใดได้รับอนุญาตให้น าทรัพย์สินใดไปใช้ประโยชน์ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. จัดให้มีเอกสารการส่งมอบและรับมอบทรัพย์สินนั้นไว้เป็นหลักฐาน และมีหนังสือแจ้งให้ ส่วนราชการต้นสังกัดของหน่วยงานราชการนั้น และส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบ ข้อ ๑6 หน่วยงานราชการที่น าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ มีหน้าที่บ ารุงรักษาทรัพย์สินนั้น ถ้ามีความเสียหายหรือทรัพย์สินนั้นสูญหาย ให้รีบด าเนินการตามระเบียบของทางราชการและแจ้งให้ เลขาธิการ ป.ป.ส. ทราบทันที ข้อ ๑7 เมื่อหมดความจ าเป็นที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินนั้นต่อไป หรือเมื่อครบ ก าหนดเวลาได้รับอนุญาตแล้ว หรือเมื่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินหรือเลขาธิการ ป.ป.ส. เพิกถอนการอนุญาต ให้หน่วยงานราชการที่น าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์จัดส่งทรัพย์สินนั้นคืน พร้อมหลักฐานการส่งคืนเป็นหนังสือภายในเวลาที่ก าหนด หนา ๔๕้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
240 สำ�นักงาน ป.ป.ส. ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้ส่งคืนในสภาพที่เป็นอยู่ในขณะที่ได้รับมอบทรัพย์สินนั้นไป เว้นแต่ จะเสื่อมไปโดยสภาพแห่งทรัพย์สินนั้นเอง ในกรณีที่ไม่อาจส่งคืนในสภาพดังกล่าวได้ ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. พิจารณาด าเนินการตามที่เห็นสมควร ข้อ ๑8 ก่อนครบก าหนดเวลาที่ได้รับอนุญาตให้น าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ ถ้าหน่วยราชการ ที่น าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ เห็นว่ามีความจ าเป็นที่จะต้องน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ต่อไปอีก ให้หัวหน้าหน่วยราชการนั้นมีหนังสือถึงเลขาธิการ ป.ป.ส. ก่อนครบก าหนดเวลาดังกล่าวไม่น้อยกว่า สิบห้าวัน แจ้งถึงเหตุผลและความจ าเป็นที่ต้องน าทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ต่อไป ให้เลขาธิการ ป.ป.ส. พิจารณาถึงเหตุผลและความจ าเป็นตามวรรคหนึ่ง โดยค านึงถึง หลักเกณฑ์ตามข้อ ๑3 และในกรณีที่เลขาธิการ ป.ป.ส. ไม่อนุญาตให้น าทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์ ต่อไป ให้หน่วยงานราชการนั้นคืนทรัพย์สิน พร้อมหลักฐานการส่งคืนเป็นหนังสือภายในเวลาที่ก าหนด และให้น าความในข้อ ๑7 วรรคสองมาใช้บังคับ ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน หนา ๔๖้ ่ เลม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.
ประมวลกฎหมายยาเสพติด 241 ระเบียบสำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยการขายทอดตลาดทรัพย์สิน พ.ศ. ๒๕๖๕ อาศัยอำ นาจตามความในข้อ ๓ และข้อ ๗ แห่งระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการนำ ทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือนำ ไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๖๕ เลขาธิการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดออกระเบียบไว้ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าด้วยการขายทอดตลาดทรัพย์สิน พ.ศ. ๒๕๖๕” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ทรัพย์สิน”หมายความว่า ทรัพย์สินที่มีลักษณะตามข้อ ๔ แห่งระเบียบคณะกรรมการสอบ ทรัพย์สิน ว่าด้วยการนำ ทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือนำ ไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๖๕ “คณะกรรมการการขายทอดตลาด” หมายความว่า คณะกรรมการขายทอดตลาดทรัพย์สินตามข้อ ๖ แห่งระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการนำ ทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือนำ ไปใช้ประโยชน์ ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๖๕ “ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน”หมายความว่า ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดตาม ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บรักษาทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออายัด พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้อ ๔ ให้ผู้อำ นวยการสำ นักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มี อำ นาจออกคำสั่งเพื่อปฏิบัติการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการตามระเบียบนี้ ให้ผู้อำ นวยการสำ นักตรวจสอบทรัพย์สิน คดียาเสพติดรายงานเลขาธิการ ป.ป.ส. ทันที่เพื่อพิจารณาสั่งการ หมวด๑ การดำ เนินการขายทอดตลาด ข้อ ๕ การดำ เนินการขายทอดตลาดในหมวดนี้ ให้ดำ เนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ เลขาธิการ ป.ป.ส. กำ หนด เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ผู้อำ นวยการสำ นักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด หรือ ผู้อำ นวยการสำ นักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค อาจเสนอเลขาธิการ ป.ป.ส. มอบหมายหรือจัดจ้าง หน่าวยงานราชการหรือบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำ เนินการขายทอดตลาดทรัพย์สินเป็นรายครั้งหรือรายปีก็ได้ ข้อ ๖ เมื่อ... สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงาน ป.ป.ส.