The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ขการเป็นผู้ประกอบการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sawairad1976, 2021-03-20 23:58:52

หน่วยการเรียนรู้ขการเป็นผู้ประกอบการ

หน่วยการเรียนรู้ขการเป็นผู้ประกอบการ

เปน็ การแสดงรายละเอียดเก่ยี วกบั ข้อมูลของกิจการ ไดแ้ ก่ ชือ่ กจิ การ ที่อยู่และทต่ี ้งั ของกจิ การ ซึ่งในกรณีที่มีสถานท่ีผลิตหรือโรงงาน หรอื สานกั งาน อยคู่ นละแห่ง
ควรมีการระบุรายละเอยี ดเก่ยี วกับการใชส้ อยของสถานท่ีประกอบการ นอกจากน้คี วรแสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกับหมายเลขทะเบยี นการค้า ซ่ึงรายละเอียดท้งั หมดต้องตรงกบั ท่ี
ปรากฏในหนังสือรบั รองฉบับล่าสุดท่ีคัดจากสานกั งานทะเบยี นห้นุ สว่ นบริษัทกรงุ เทพมหานคร กรมพฒั นาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณชิ ย์

6.2 รายนามคณะกรรมการบรษิ ัท

เป็นการแสดงรายนามคณะกรรมการบรษิ ัทตามที่กาหนดในหนงั สือรับรองบรษิ ทั ฯ ซ่งึ ตอ้ งมรี ายชื่อใหค้ รบทุกคนตามท่ปี รากฏในหนงั สอื รบั รอง

6.3 อานาจการลงนามผูกพันบริษทั ของกรรมการ

เป็นการแสดงรายละเอียดเกยี่ วกบั อานาจการลงนามอนั เป็นผลผกู พนั บริษัทของกรรมการรายละเอียดดังกลา่ วจะตอ้ งปรากฏในหนังสือรบั รองบริษัทฯ เช่นเดียวกนั

6.4 รายชือ่ ผู้ถือห้นุ /หนุ้ สว่ น และสัดสว่ นการถือครอง

เป็นการแสดงรายละเอียดเก่ยี วกับรายช่ือผถู้ ือหนุ้ /หุ้นส่วน และสัดสว่ นการถอื ครอง ขอ้ มูลดงั กล่าวจะตอ้ งตรงกับหนงั สอื ทะเบยี นผถู้ ือหนุ้ หรอื หนังสอื แสดง
รายละเอียดของหุน้ ส่วนฉบบั ล่าสดุ ท่คี ัดจากสานกั งานทะเบียนห้นุ ส่วนบรษิ ัทกรงุ เทพมหานคร กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณชิ ย์

6.5 ประวัตของกรรมการหรอื ผูบ้ รหิ าร

เป็นการแสดงรายละเอยี ดกบั ประวตั กิ ารศึกษา ประวัตกิ ารทางาน และผลงานท่ผี ่านมาของกรรมการบริหาร หรอื ผบู้ ริหารหลกั ในแตล่ ะสว่ นงานซึ่งการแสดง
รายละเอยี ดควรแสดงแยกตามลาดับหน้าท่ีในการบริหารจดั การตั้งแต่กรรมการผจู้ ดั การ ผูช้ ่วยกรรมการผ้จู ัดการ ผบู้ ริหารหลกั ในแตล่ ะสายงานของธรุ กิจ ในกรณที ี่มี
รายละเอยี ดด้านจานวนหรือส่วนงานจานวนมากอาจแยกการแสดงไวใ้ นภาคผนวก

7. แผนการตลาด

7.1 เปา้ หมายทางการตลาด

ภาพประกอบที่ 6.5 แสดงรายละเอยี ดเกยี่ วกับเป้าหมายทางการตลาดท่ีธรุ กิจดาเนินการอยู่
เป็นการแสดงถึงรายละเอียดเก่ียวกับเป้าหมายทางการตลาดที่ธรุ กจิ ดาเนนิ การอยแู่ ละต้ังเป้าหมายไว้ทางการตลาดทีธ่ ุรกิจดาเนนิ การอยแู่ ละต้ังเปา้ หมายไว้ซึง่ อาจ
ระบเุ ป็นสว่ นแบ่งตลาด (Market Share) ตลาดเป้าหมาย (Target Market) และเป้าหมายการดาเนินการเพ่ือเข้าถึงส่วนแบ่งตลาดทก่ี าหนด โดยการระบุควรระบเุ ปน็ ตัวเลข
หรอื หนว่ ยที่สามารถวดั ได้ เชน่ ระบุเป็นมลู ค่ายอดขาย หรือเปอรเ์ ซน็ ตข์ องสา่ ชวนแบง่ ตลาด เพื่อให้สามารถเปรยี บเทียบหรือเทยี บเคียงได้ถกู ต้องกบั ขอ้ มลู ของภาพรวมตลาด
ปริมาณความต้องการสินคา้ หรือบริการ และปรมิ าณสินคา้ หรอื บริการจากแหลง่ ต่าง ๆ ท่ีได้ระบุไวก้ อ่ นหนา้ โดยอาจแสดงในรูปกราฟ ประกอบการแสดงรายละเอียดเก่ยี วกบั
ตาแหนง่ ทางการตลาด เช่น ยอดขายตลาดโดยรวม ยอดขายที่ต้องการ เป็นต้น
7.2 การกาหนดกล่มุ ลกู ค้าเป้าหมาย
เป็นการแสดงถงึ กลุ่มลูกค้าเปา้ หมายท่ีธรุ กจิ ตอ้ งการขายสนิ คา้ โดยการกาหนดถงึ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายควรระบุใหเ้ ฉพาะเจาะจง เนือ่ งจากสินคา้ ที่ขายให้แก่ลกู ค้านนั้
จะตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของลกู ค้าเฉพาะกลุ่มหนึ่งกลุม่ ใดเทา่ นั้น วธิ กี ารกาหนดจานวนและลกั ษณะของกลมุ่ ลูกคา้ เป้าหมายอาจแบ่งหรือกาหนดได้จากประชากร

ภูมศิ าสตร์จิตวทิ ยาของผู้บริโภค เป็นตน้ ทง้ั นั้นรวมถึงการระบจุ านวนของลูกคา้ ทคี่ าดวา่ จะเปน็ ผู้ซือ้ สนิ ค้าประกอบไว้ดว้ ย การกาหนดกลมุ่ ลกู ค้าเป้าหมายจะเปน็ ผลทาใหม้ ี
การกาหนดกลยุทธท์ างการตลาดท่ถี กู ตอ้ งและเหมาะสมอกี ดว้ ย การแสดงรายละเอยี ดที่ครบถว้ นเก่ียวกบั ลูกคา้ เป้าหมาย ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดับรายได้ พื้นที่ ทกี่ ลุ่มลูกคา้ อยู่
จานวน นสิ ัยการซอ้ื เงือ่ นไขตา่ ง ๆ ในการเลอื กซอ้ื เป็นต้น ซึ่งขอ้ มูลเก่ียวกับลูกค้าเปา้ หมายควรมาจากการวิเคราะห์ที่ถูกตอ้ งเกย่ี วกับจานวนลูกค้าเป้าหมายท้งั หมด รวมถึง
จานวนลกู ค้าเป้าหมายทีธ่ ุรกจิ ต้องการซ่ึงกาหนดการจากจานวนลูกค้าเปา้ หมายธรุ กิจต้องการจะสง่ ผลไปยงั การวางแผนการผลติ

7.3 กลยทุ ธท์ างการตลาด

เปน็ การแสดงถงึ วธิ กี ารหรอื กระบวนการทางการตลาดท่จี ะนาเสนอสินค้าเพอื่ ให้ถึงกลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายท่กี าหนด จะแบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น คือ ดา้ นบริการ (Service)
ดา้ นราคา (Price) ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place or Channel of Distribution) และดา้ นการส่งเสริมการตลาด (Promotion)

7.4 กจิ กรรมหรือการดาเนินการทางตลาด

เป็นการแสดงรายละเอียดของกจิ กรรมทางการตลาดท่ีจะดาเนินการภายใต้กลยทุ ธ์ทางการตลาดทกี่ าหนดขึ้น โดยอาจระบเุ กี่ยวกบั กิจกรรมต่าง ๆ ระยะเวลาในการ
ดาเนนิ การ และงบประมาณที่ใช้ในการดาเนินการเท่านั้น ทั้งนีอ้ าจแสดงให้เหน็ ผลลพั ธจ์ ากการดาเนนิ การทางตลาดนน้ั ซึ่งประกอบดว้ ย จานวนการเพม่ิ ขึ้นของลกู ค้า ยอดขาย
สนิ คา้ ท่ีเพิ่มขึ้น เปน็ ตน้

ภาพประกอบท่ี 6.6 การประมาณการลงทนุ ในโครงการหรอื ธรุ กจิ

หนว่ ยที่ 7การบริหารงานคุณภาพ

1) วิวัฒนาการของคุณภาพ

คณุ ภาพยคุ ก่อนการปฏวิ ัติอุตสาหกรรม คุณภาพอยบู่ นพ้ืนฐานความคิดของการควบคุมด้วยตนเอง ซึง่ ในระยะเรมิ่ แรกของการผลิตในสงั คมมนษุ ยก์ ารผลิตจะอยู่ ใน
รูปแบบของกระบวนการดา้ นเกษตรกรรม และมีการผลิตแบบอตุ สาหกรรมในรูปแบบช่างฝีมือ ในการผลิตแบบช่างฝีมือจะอาศัยแรงงานจากคนเป็นหลัก ดงั น้ันคณุ ภาพจึง
ข้ึนอยู่กบั ช่างฝมี ือเปน็ สาคญั ในระบบการผลิตนจี้ ะมีแรงงานฝกึ หัดเข้ามาเปน็ ผู้ชว่ ยสร้างมอื ควบคู่ไปกับการเรียนรู้งาน

ภาพประกอบที่ 7.1 แผนผงั แสดงการดาเนินการเก่ียวกบั คุณภาพยคุ ก่อนปฏวิ ัติอุตสาหกรรม
จากภาพแผนผงั จะเหน็ ว่าช่างฝีมือจะเป็นผดู้ าเนนิ การเกี่ยวกับคุณภาพดว้ ยตนเองทงั้ ส้ิน คุณภาพลักษณะนเ้ี ปน็ คุณภาพท่ีกาหนดโดยผู้ผลิต และการประกนั คุณภาพขึน้ อยู่
กับความคงทนและความพอใจของผูใ้ ช้ ซง่ึ เป็นคณุ ภาพในชว่ งก่อนการปฏวิ ัติอตุ สาหกรรม
ยคุ การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม ใน ค.ศ.ท่ี 18-19 ไดเ้ กดิ การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมขน้ึ ในยุโรป โดยมีจดุ เรม่ิ ต้นทีป่ ระเทศอังกฤษและฝร่งั เศส มกี ารแบ่งงานท่ีแต่เดมิ ดาเนนิ การโดย
ชา่ งฝีมือ ให้เป็นงานเฉพาะหลายๆ ด้านตามลาดับข้ันตอนการผลิต และมีเครอ่ื งจักรเขา้ มาแทนแรงงานคน ทาให้ยุคนไ้ี ม่จะเปน็ ต้องใชแ้ รงานฝมี ือ เชน่ ยคุ กอ่ นหนา้ นอ้ี กี ต่อไป

ต่อมาในชว่ ง ค.ศ.ที่ 19 แนวความคิดการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมไดแ้ พรห่ ลายสู่สหรฐั อเมรกิ า ซึ่งทาให้เกิดวิวฒั นาการอย่างตอ่ เนื่องในด้านการบรหิ ารคณุ ภาพโดยเฉพาะทฤษฎี
การจัดการเชิงวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Management) ของเฟรเดอรคิ เทเลอร์ (Frederick Taylor) ทม่ี งุ่ สูก่ ารเพ่ิมผลผลิต (Productivity Improvement) โดยไม่จะเปน็
ต้องเพิ่มจานวนชา่ งฝมี ือ ความคิดของคุณภาพในยุคน้ีจะตง้ั อย่บู นแนวความคิดดา้ นการผลิตภณั ฑย์ ังคงหมายถึงสินค้า หรือบรกิ ารมีการบริหารงานคณุ ภาพโดยการตรวจสอบ
(Inspection)

ภาพประกอบท่ี 7.2 แสดงการตวรจสอบยุคปฏิวัติอตุ สาหกรรม
ในการบริหารคณุ ภาพด้านการตรวจสอบในยคุ น้ี ไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ งเรม่ิ จาก เฮนรี่ ฟอร์ด (Henry Ford) ในปี ค.ศ. 1903 จนถงึ ดร.วอลเตอร์ เอชิวฮาร์ท
(Dr.Walter A. Shewhart) แหง่ ห้องปฏบิ ัติการเบลส์ (Bell Lab.) ท่ไี ดป้ ระยุกตท์ ฤษฎีการทดสอบสมมติฐาน สาหรบั ค่าสดั สว่ นของผลติ ภัณฑ์ (Defcetive Fraction-P) ใน
รูปของแผนภูมคิ วบคมุ
ในเดอื นธนั วาคม ค.ศ. 1941 สหรัฐอเมริกาไดป้ ระกาศเข้ารว่ มสงครามโลกคร้ังที่ 2 กันสมั พันธมติ ร ซึง่ มผี ลตอ่ การระดมนกั วทิ ยาศาสตร์ เพ่อื หามาตรฐานควบคุมคุณภาพ
ในการผลติ อาวุธซงึ่ สงิ่ แรกคอื การพัฒนาแผนการชักตัวอย่างเพอ่ื การยอมรับ เพ่ือทดแทนการตรวจสอบแบบ 100 % โดยอาศัยกฎเกณฑ์ความนา่ จะเปน็ (Probability)
ตอ่ มาไดร้ ับการพัฒนาเป็น มาตรฐานทางทหาร MIL-STD-105 ทใี่ ช้เป็นพ้ืนฐานของแผนการชกั ตวั อยา่ ง เพอ่ื การยอมรับของอุตสาหกรรมทว่ั โลกจนถงึ ปจั จบุ ัน

ยคุ หลงั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 เมื่อปี ค.ศ. 1945 สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ส้ินสุดลง ประเทศญ่ปี ่นุ ซึ่งแพ้สงครามไดเ้ ริม่ ต้นฟ้ืนฟอู ยา่ งเรง่ ด่วน ภายใตก้ ารกากับของสหรฐั อเมรกิ า
ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพผลิตภัณฑ์จาก “ ของเลว ราคาถกู ” ใหด้ ขี ึ้น ภายใตก้ ารช่วยเหลือของวิทยาการจากรัฐบาลสหรฐั อเมรกิ า มจี ุดเน้นคอื การเพิ่มความมปี ระสิทธภิ าพ
ผลของตน้ ทนุ (Cost Effcetiveness) ทง้ั นี้ เพ่ือสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน โดย J.MJuran ไดส้ รปุ ถงึ ปัจจัยแห่งความสาเรจ็ ในการปฏริ ูปคุณภาพของญี่ป่นุ
ไว้ 3 ประการ คือ

1. การปฏบิ ตั ทิ น่ี าโดยผูบ้ รหิ ารระดับสูงสดุ ขององคก์ ร
2. การให้การอบรมในเรือ่ งคุณภาพแกบ่ ุคลากรทุกระดับทัว่ ทง้ั องคก์ ร
ิ 3. ดาเนินการปรบั ปรุงคณุ ภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง

ภายใต้การแขง่ ขันในดา้ นการค้า แนวความคิดสาคญั ของคุณภาพได้เปลย่ี นไปจากเดมิ คือ แนวคดิ ดา้ นการผลิตเป็นแนวคดิ ด้านผลติ ภัณฑ์ ทั้งน้ี เนอ่ื งจากแขง่ ขนั ทาให้ผู้
ซื้อได้สัมผสั กับผลิตภัณฑ์ประเภทการบรกิ าร ก่อนผลิตภัณฑ์ประเภทฮารด์ แวร์ และโดยทผ่ี ลติ ภัณฑ์ประเภทการบริการไมส่ ามารถกาหนด ข้อกาหนดเฉพาะหรอื เพ่อื การ
ตรวจสอบไดม้ ีผลทาให้ไมส่ ามารถตรวจสอบตามผลติ ภณั ฑไ์ ด้ จงึ ได้มีการเปลย่ี นแปลงแนวความคิดใหม่ โดย ฟิลิป ครอสบี (Philip Crosby) ได้เสนอแนวความคดิ วา่ คุณภาพ
เปน็ การสรา้ งความพงึ พอใจตอ่ ลูกค้า (Customer Satisfaction) โดยที่ Deming ได้กาหนดใหม้ คี ณุ ภาพมี 2 แบบคือ

1. คุณภาพด้านการออกแบบ (Quality of Design)
2. คณุ ภาพด้านความถูกตอ้ งในการผลิต (Quality of Confromance)

ยุคโลกาภวิ ัตน์ ค.ศ. 1970 อุตสาหกรรมตา่ งๆ ประสบปญั หาด้านต้นทุนสูงมาก เนอื่ งจากกลุ่มประเทศผู้ผลติ น้ามัน (OPEC) ไดร้ วมตวั กนั ขน้ึ ราคาน้ามนั จากสาเหตุ
ดังกล่าว แนวความคิดดา้ นการตลาด คือ แนวคมาคดิ แบบเบด็ เสร็จ โดย คาโน (Kano) ไดจ้ ดั ให้คุณภาพเปน็ กลยทุ ธใ์ นการบริหารธรุ กิจ ซงึ่ เทา่ กบั ทาใหค้ ณุ ภาพเปน็ เพียง
แนวความคดิ ทไ่ี มส่ ามารถรบั การตรวจสอบทางกายภาพ ไดอ้ ีกตอ่ ไป และ จูแรน (Juran) ไดเ้ รียกคุณภาพในยคุ นี้ว่า คุณภาพแบบคิวตวั ใหญ่ (Big Q) เพื่อให้เกดิ ความ
แตกต่างจากแนวความคิดเดิมในยคุ การผลิตที่เรียกวา่ คุณภาพแบบคิวเลก็ (Little q)

2) ความหมายของคณุ ภาพและการบริหารงานคณุ ภาพ

เอด็ เวริ ์ด เดมมิง (Edward Demming) คุณภาพ คอื คุณค่าและเกณฑ์ท่ีผบู้ ริโภคเปน็ ผูก้ าหนดขึ้นไมใ่ ช่ผู้ประกอบการ คุณคา่ ของสินคา้ เปล่ยี นไปเนื่องจากความตอ้ งการ
ของลูกค้าเปล่ยี นตลอดเวลา การปรับปรุงคณุ ภาพ หมายถึง การปรับปรุงกะบวนการเพ่อื ผลผลิต สม่าเสมอ ลบข้อผิดพลาด ลดการแก้ไข ลดการซอ่ มลดการสญู เสยี วสั ดุ
อปุ กรณเ์ ครือ่ งมอื

โจเซฟ จูแรน (Joseph Juran) คุณภาพ หมายถึง ส่ิงทีต่ รงและเหมาะสมกบั การใชง้ าน (fitness to use)และเปน็ ที่พึงพอใจตอ่ ลกู คา้ 2 ประการ ดงั นี้
1. คณุ ภาพ หมายถึง คณุ สมบัติของผลผลติ ที่ไดต้ ามความต้องการ และเป็นที่พงึ พอใจของลูกคา้ เพิม่ ยอดขาย
2. ปราศจากความไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ ไรข้ ้อบกพรอ่ งไม่กลับมาทาใหม่ ลดการสญู เสยี ลดของเสีย ลดการตรวจสอบ ลดการรอ้ งเรียนของลกู คา้ เพ่ิมประสิทธภิ าพการสง่

มอบ ครอสบี (Philip Crosby)

คุณภาพ หมายถงึ คุณลักษณะและประโยชนข์ อง การใชง้ านโดยรวมของผลิตภัณฑ์ ทีจ่ ะทาใหส้ ามารถตอบสนองการใช้งานได้ เหมาะสมสาหรบั การใช้งาน สอดคลอ้ ง
เหมาะสมกบั ความต้องการ สว่ นประกอบท้ังหมดของผลติ ภณั ฑห์ รือบรกิ าร ทั้งด้านการตลาด วิศวกรรม การผลิต และการซ่อมบารุง ทต่ี รงกบั ความคาดหวงั และความ
ตอ้ งการของลกู คา้ สอดคล้องกับมาตรฐานซ่ึงเปน็ ทีต่ ้องการและคาดหวงั (ของลูกค้า) เชน่ กนั คณุ ภาพ หมายถงึ คุณลกั ษณะทสี่ าคญั โดยรวมและคุณลกั ษณะของผลิตภัณฑ์
หรอื บรกิ าร ซงึ่ แสดงถงึ ความสามารถ ในการสนองความตอ้ งการทก่ี าหนดและความตอ้ งโดยนัย (ISO 8402:1994)

โดยสรุป คุณภาพ หมายถึง เปน็ มาตรฐานทเ่ี ก่ียวกับการจัดการและการประกันคณุ ภาพ โดยเนน้ ความพงึ พอใจของลกู ค้าเปน็ สาคญั และตั้งอยู่บนแนวคดิ พนื้ ฐานว่า เมือ่
กระบวนการดี ผลลพั ธท์ อ่ี อกมาก็จะดี ตามไปดว้ ยถือไดว้ า่ เป็นการตอบสนองผใู้ ชแ้ ละผู้รบั บรกิ าร ใหเ้ กิดความพึงพอใจในผลผลิตนั่นเอง

การบริหารคุณภาพ คอื กระบวนการบริหารงาน ทปี่ ระกอบด้วยนโยบายคุณภาพ วตั ถุประสงค์ คุณภาพการวางแผนงานคณุ ภาพ ระบบการบริหารจดั การเชงิ
คุณภาพ ระบบการตรวจสอบหรือการประเมนิ ผล และการปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เน่อื ง เพ่ือตอบสนองความต้องการลูกค้า พนกั งานและสงั คม

3)หลกั การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ ร

ภาพประกอบท่ี 7.3 การบรหิ ารงานให้มีคณุ ภาพต้องตอบสนองและบรกิ ารลกู คา้ ใหด้ ที ี่สดุ
หลกั การพนื้ ฐานของการบริหารงานคณุ ภาพในองค์กร ประกอบดว้ ย

1. มุ่งตอบสนองความต้องการของลกู คา้ คือ การม่งุ เนน้ ทลี่ ูกคา้ โดย
1.1 สารวจตรวจสอบและทดสอบความตอ้ งการของลูกคา้ ตง้ั แต่ความคาดหวังที่ลูกค้าตอ้ งการจากองค์กร ผลิตภัณฑ์ หรอื บริการ จนถึงความพงึ พอใจ เม่ือลกู คา้

ไดร้ บั สินคา้ หรอื บริการแลว้
1.2 ตรวจสอบความต้องการของลกู ค้า โดยให้ความคาดหวังมคี วามสมดุลกบั ความพงึ พอใจ
1.3 ประเมนิ ความพงึ พอใจของลกู ค้า เทา่ กบั ความคาดหวงั หรือไม่ ตอ้ งปรับปรุงในเรื่องอะไร
1.4 สรา้ งระบบความสมั พันธ์ระหว่างลูกค้ากับองค์กร เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รไดร้ บั ขอ้ มูลความต้องการท่ีถูกต้อง มีการจัดระบบการบรหิ ารลูกคา้ สัมพันธ์
1.5 สร้างระบบการสอื่ สารทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ให้ท่วั ทัง้ องคก์ รเพื่อร่วมตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ (พนกั งานทุกคนมงุ่ ม่นั ตอบสนองความตอ้ งการของ

ลูกคา้ )

2. บรหิ ารอย่างเป็นผ้นู า (Leadership)

ผนู้ าขององคก์ รใช้หลกั การบรหิ ารอย่างเปน็ ผู้นาเพื่อ นาทางใหเ้ พื่อนรว่ มงานในองค์กร ไปสู่เปา้ หมายคุณภาพ ท้งั นีต้ อ้ งคงไว้ซง่ึ บรรยากาศการทางานท่มี ี
ประสทิ ธภิ าพ ดว้ ยแนวทางการบรหิ ารงานอยา่ งเป็นผนู้ า ได้แก่

ภาพประกอบท่ี 7.4 หลักสาคัญในการบรหิ ารงานคือความเปน็ ผนู้ า
2.1 กาหนดวิสัยทัศนใ์ ห้ชัดเจนตรงตามความตอ้ งการของลกู ค้า
2.2 ต้งั เปา้ หมายท่ีท้าทาย แลว้ สร้างขวญั กาลงั ให้ พนกั งานมงุ่ มัน่ สเู่ ป้าหมาย
2.3 สรา้ งคา่ นิยมส่งเสริมระบบความร่วมมอื ให้เกิดขนึ้ ภายในองค์กร
2.4 สรา้ งคณุ ค่าการทางานดว้ ยการส่งเสรมิ ระบบความรว่ มมอื ให้เกิดขนึ้ ภายในองค์กร
2.5 สร้างจรยิ ธรรมที่ดีในการทางาน ดว้ ยการเป็นแบบอยา่ งให้พนักงานเห็น
2.6 สรา้ งความเชื่อมน่ั ขจดั ความกลัวและความไม่มั่นคงขององคก์ ร ดว้ ยการสร้างความสามคั คี และมสี ่วนรว่ มในการบริหารงาน
2.7 สร้างความสาเร็จดว้ ยการจัดทรัพยากรอยา่ งพอเพยี ง
2.8 สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างพนักงานกบั ผู้บริหาร ด้วยระบบส่ือสารทีม่ ีประสิทธิภาพ

3. การมสี ่วนรว่ มของพนกั งาน (Involvement of people)
สมาชิกทุดคนขององค์กรมีความสาคัญ ทาใหอ้ งคก์ รประสบความสาเรจ็ ไดโ้ ดยเปดิ โอกาสใหพ้ นักงานรว่ มคดิ ร่วมสร้างสรรค์ หรือรว่ มปรับปรงุ แก้ไขปญั หาการ

ทางานมีแนวทางปฏิบัติ ดงั นี้

3.1 องคก์ รยอมรับความสามารถของพนกั งานและ บทบาทการมีสว่ นร่วมของพนกั งาน
3.2 พนกั งานมคี วามตระหนกั ในความเป็นเจา้ ขององคก์ ร
3.3 สรา้ งกจิ กรรมให้พนกั งานมสี ว่ นรว่ ม
3.4 สรา้ งความเขา้ ใจทีถ่ กู ต้อง ในบทบาทการมสี ่วนร่วมของพนักงาน
3.5 เปดิ โอกาสใหพ้ นักงานไดเ้ พ่มิ พูนประสบการณ์ ความรู้ และทกั ษะ ทง้ั จากภายในองคก์ รและภายนอกองคก์ ร
3.6 สง่ เสรมิ ความรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ของพนกั งาน
3.7 ประเมินผลงาน โดยรวมเอาผลงานความคิดสรา้ งสรรคไ์ วด้ ว้ ยกนั

4)กิจกรรมส่งเสรมิ คุณภาพ

การควบคุมคณุ ภาพขององค์กรใหไ้ ดผ้ ล ควรมจี ติ รสานกึ ดา้ นคุณภาพ ดงั นน้ั เพอ่ื ปลกู ฝังทศั นคติดังกลา่ ว รวมถึงชว่ ยในการพฒั นาคุณภาพผลติ ภัณฑส์ ภาพแวดล้อมการ
ทางาน และอื่น ๆ กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ภาพจงึ มคี วามสาคญั มาก ในบทความน้ีจะกลา่ วโดยย่อถึงลักษณะกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ภาพทเี่ ปน็ ท่ีร้จู กั อย่างแพรห่ ลาย 3 เรอ่ื ง คือ
กจิ กรรม 5 ส กิจกรรมกล่มุ คุณภาพและกจิ กรรมการลดลงของเสียเปน็ ศูนย์
กจิ กรรม 5 ส เปน็ กจิ กรรมพ้ืนฐานของการปรบั ปรงุ พฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นด้านคุณภาพ ในความปลอดภัย หรอื แมแ้ ต่ในเร่อื งการลดตน้ ทนุ การเพ่มิ ผลผลิต กจิ กรรม
น้ีประกอบไปดว้ ย 5 ประการ คอื สะสาง สะดวก สะอาด สุขลกั ษณะ และสรา้ งนสิ ัย

สะสาง หมายถึง การแยกของทีไ่ ม่ตอ้ งการหรือไมจ่ าเป็นออกจากส่ิงทีต่ ้องการหรือต้องใช้
สะดวก หมายถงึ การจดั วางของท่ใี ชง้ านให้เป็นระเบียบหมวดหมู่ งา่ ยต่อการใช้งาน
สะอาด หมายถงึ ทาบริเวณทท่ี างานและบรเิ วณโดยรอบให้สะอาด
สุขลักษณะ หมายถงึ การรักษามาตรฐานการปฏิบตั ิ 3 ส แรกใหด้ ี และค้นหาสาเหตุต่าง ๆ เพื่อยกระดบั มาตรฐานให้สงู ขน้ึ

สร้างนสิ ยั หมายถึง การปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์ของหนว่ ยงานอยา่ งสมา่ เสมอ จนกลายเปน็ การกระทาที่เกดิ ขน้ึ เองโดยธรรมชาติ

กิจกรรมกลุ่มคณุ ภาพ (QC Circle หรือ QCC)
ความหมายของกจิ กรรมกลุม่ คุณภาพ คือ กลมุ่ คนงานทปี่ ฏิบตั งิ าน ณ หน่วยงานเดยี วกันรวมกลมุ่ กนั โดยความสมัครใจเพ่ือทากจิ กรรมเกยี่ วกบั การปรบั ปรงุ งานดว้ ย

ตนเองอยา่ งอสิ ระ อยา่ งไรก็ตาม กิจกรรมนตี้ อ้ งไดร้ บั การสนบั สนุนจากผูบ้ รหิ ารระดบั สูงจงึ จะสาเร็จผลได้ เชน่ สนบั สนนุ ให้พนักงานได้รับการอบรมการแกป้ ญั หาโดยการ
ใช้ QC Tools การใหร้ างวัลแก่กลมุ่ คณุ ภาพท่สี ามารถตน้ ทนุ หรอื ของเสยี ลงได้ เปน็ ต้น

กิจกรรมการลดของเสียใหเ้ ป็นศนู ย์ (Zero Defect, ZD)
กจิ กรรมนีจ้ ะสาเรจ็ ได้จาเปน็ ต้องอาศัยกิจกรรมอ่ืน ๆ ชว่ ยในความเห็นของ ดร.ชนิ โกะ เช่ือว่ากจิ กรรม ZD จะสาเรจ็ ได้จะต้องอาศัยหลักการ 3 ประการ คอื การใช้

การตรวจสอบท่ีต้นเหตุ หรอที่ตาแหนง่ นนั้ ๆ (Source Inspection) การตรวจสอบแบบ 100 % โดยใช้เครอื่ งมอื หรอื อุปกรณช์ ่วย (Poka-Yoke) และการแก้ไขปรับปรุง
ทันทีทนั ใดเมื่อพบปญั หา Poka-Yoke เปน็ เคร่ืองมือท่ใี ช้ป้องกันความผิดพลาดหรือการหลงลมื ซง่ึ มลี กั ษณะสาคัญดงั ต่อไปนี้สามารถทาการตรวจเช็คช้นิ งานแต่ละชิ้น หรือ
ตรวจสอบ 100 % ได้ เครอื่ งมือ Poka-Yoke จะต้องไม่ยงุ่ ยากและสามารถใชใ้ นการตรวจสอบชิ้นงานไดท้ ุกชนิ้ และมตี ้นทุนในการติดต้ังต่า

5)เครอ่ื งมอื คณุ ภาพ 7 ชนดิ (7 QC Tools)

ในปี ค.ศ. 1946 JUSE หรอื Union of Japanese Scientists and Engineers ได้ถูกก่อตั้งขนึ้ พร้อม ๆ กบั การจดั กลมุ่ Quality Control Research Group เพือ่ ค้นคว้า
ให้การศึกษาและเผยแพร่ความร้คู วามเขา้ ใจ ในเรื่องระบบการควบคมุ คุณภาพทว่ั ทัง้ ประเทศ โดยมีจุดหมายเพือ่ ลบภาพพจน์สินค้าคณุ ภาพต่า ราคาถูกออกจากสนิ ค้า
ที่ “Made in Japan” และเพ่มิ พลังการสง่ ออกไปพร้อม ๆ กัน

หลังจากนั้นมาตรฐานอตุ สาหกรรมของประเทศญี่ป่นุ ซ่งึ ก็คอื Japanese Industrial Standards (JIS) marking system ไดม้ ีการกาหนดให้เป็นกฎหมายในปี ค.ศ.
1950 พร้อม ๆ กับการเชอ้ื เชญิ Dr. W.E. Deming มาเปดิ สมั มนาทาง QC ใหแ้ ก่ผู้บริหารระดับตา่ ง ๆ และวศิ วกรในประเทศ นับเป็นการจดุ ประกายของการตระหนักถึงการ
พัฒนาคณุ ภาพ อันตามมาดว้ ยการกอ่ ตงั้ รางวลั Deming Prize ทีม่ ีชอ่ื เสียง เพอื่ มอบใหแ้ ก่โรงงานซงึ่ มีความกา้ วหนา้ ในการพฒั นาคุณภาพดีเด่นของประเทศ

ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1954 Dr. J.M. Juran ไดถ้ ูกเชิญมายงั ประเทศญ่ปี ่นุ เพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจแก่ ผบู้ รหิ ารระดับสูงภายในองคก์ รในการนาเทคนิคเหล่านม้ี าใช้งาน โดย
ไดร้ ับความรว่ มมอื จากพนกั งานทุก ๆ คนนับเปน็ จุดเร่ิมต้นของการพฒั นาและรวบรวมเคร่อื งมือที่ใช้ในการควบคมุ คุณภาพรวม 7 ชนดิ ทีเ่ รยี กว่า QC 7 Tools มาใช้

เคร่อื งมือควบคุมคุณภาพทงั้ 7 ชนิดน้ี ตัง้ ช่ือตามนกั รบในตานานของชาวญี่ปุ่นทีช่ ่ือ “บงเค” (Ben-ke) ผ้ซู ่ึงมีอาวุธอันร้ายกาจแตกต่างกนั 7 ชนดิ พกอยู่ที่หลงั และ
สามารถเลือกดงึ มาใช้สยบคูต่ ่อสู้ท่มี ฝี ีมือร้ายกาจคนแล้วคนเล่า สาหรบั เคร่อื งมอื ท้งั 7 ชนิด สามารถแจกแจงได้ ดงั น้ี

1.ผงั แสดงเหตุและผล (Cause-and-Effect Dia-gram) หรอื ผงั กา้ งปลา (Fishbone Diagram) บางคร้งั เรียกวา่ Ishikawa Diagram ซ่งึ เรยี กตามช่อื ของ Dr.Kaoru
Ishikawa ผซู้ ง่ึ เริม่ นาผงั นม้ี าใชใ้ นปี ค.ศ. 1953 เปน็ ผังท่แี สดงความสัมพันธร์ ะหว่างคณุ ลกั ษณะทางคณุ ภาพกบั ปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2. แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram) เปน็ แผนภมู ทิ ี่ใชแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง สาเหตขุ องความบกพรอ่ งกับปรมิ าณความสูญเสียท่เี กดิ ข้ึน
3. กราฟ (Graphs) คือ ภาพลายเส้น แท่ง วงกลม หรือจดุ เพ่ือใช้แสดงคา่ ของขอ้ มูลท่แี สดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งข้อมลู หรือแสดงองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ
4. แผน่ ตรวจสอบ (Checksheet) คือ แบบฟอรม์ ทม่ี ีการออกแบบช่องว่างต่าง ๆ ไว้เพอ่ื ใช้บนั ทกึ ข้อมลู ไดง้ า่ ยและสะดวก
5. ฮิสโตแกรม (Histogram) เป็นกราฟแทง่ ที่ใช้สรปุ การอนุมาน (Inference) ข้อมูลเพอ่ื ที่จะใช้สรปุ สถานภาพของกลมุ่ ข้อมูลนนั้
6. ผงั การกระจาย (Scatter Diagram) คือ ผงั ทใี่ ช้แสดงค่าของข้อมลู ที่เกิดจากความสัมพนั ธข์ องตวั แปรสองตวั วา่ มแี นวโน้มไปในทางใด เพือ่ ที่จะใชห้ าความสัมพันธ์
7. แผนภูมคิ วบคมุ (Control Chart) คือ แผนภูมทิ มี่ กี ารเขยี นขอบเขตทยี่ อมรบั ได้ของคณุ ลกั ษณะตามขอ้ กาหนดทางเทคนิค (Specification) เพือ่ นาไปเปน็
แนวทางในการควบคุมกระบวนการผลิต โดยการตดิ ตามและตรวจจบั ขอ้ มูลท่ีออกนอกเขต (Control limit)

เคร่ืองมือคณุ ภาพใหม่ 7 อยา่ ง (The 7 New QC Tools) เปน็ เคร่ืองทีม่ ีไวส้ าหรบั วางแผน และป้องกนั ปัญหา เพื่อใหไ้ ดน้ โยบายและมาตรการเชิงรกุ ที่ชัดเจนเป็นรปู ธรรม
เครอ่ื งมือคณุ ภาพใหม่ 7 อยา่ ง ประกอบด้วย

1. แผนภมู ิการจัดกลุม่ ความคิด (Afnity Diagram)
เปน็ เครื่องมือท่ีมปี ระสทิ ธิภาพในการระดมและรวบรวมความคดิ ท่กี ระจัดกระจาย ของคนท่ีเปน็ สมาชกิ ในกลุ่มมาจัดเรยี งใหเ้ ป็นหมวดหมู่ หรือกลุ่ม ตาม

ลักษณะท่ที ี่ความเก่ยี วข้องซง่ึ กันและกนั หรือมคี วามหมายที่คล้ายคลงึ กนั เพ่อื ท่จี ะได้นากลมุ่ ความคิดเหลา่ นั้นไปใช้ประโยชนต์ ่อไป
2. แผนภมู ิแสดงความสมั พันธ์ (Relation Diagram)
เป็นเคร่ืองมอื ท่ใี ชส้ าหรับแก้ไขเรอื่ งที่ยุ่งยาก โดยการคล่ีคลายเชื่อมโยงกนั อยา่ งมีเหตผุ ล (Logical connection) ระหวา่ งสาเหตแุ ละผลทีเ่ กดิ ขน้ึ ซ่งึ เกี่ยวขอ้ งกนั

(หรือวัตถุประสงค์ และกลยุทธท์ จี่ ะบรรลุความสาเรจ็ ในเรอื่ งน้ี) รูปแผนของแผนผังความสมั พนั ธห์ ลัก ๆ มอี ยู่ 4 แบบ ไดแ้ ก่ แบบรวมศนู ย์ แบบมีทิศทาง แบบแสดง
ความสัมพันธ์ และแบบตามการประยุกต์ใช้

ภาพประกอบท่ี 7.5 วางแผนงานเพ่อื ใหไ้ ดน้ โยบายและมาตรฐานที่ชดั เจน

หนว่ ยท่ี 8 การเพ่ิมผลผลิต

1) ความหมายของการเพิ่มผลผลติ

การเพ่ิมผลผลิตมี 2 แนวความคดิ คอื แนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ และแนวคดิ ทางเศรษฐกิจสงั คม

1.1 แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์

ตามแนวคดิ น้ี ความหมายโดยสรปุ คดิ “การเพิ่มผลผลติ เปน็ สิ่งที่วดั ค่าได้ และมองเหน็ เปน็ รปู ธรรม”นน่ั คือ ตามแนวความคิดนี้ การเพมิ่ ผลผลิตสามารถวดั คา่ ได้ทง้ั
ทางกายภาพ คอื วดั เป็นจา้ นวนชน้ิ น้าหนกั ความยาว ฯลฯ และอีกทางคือ การวดั เปน็ มลู ค่า ซึ่งวัดในรปู ทแี่ ปลงเปน็ ตวั เงิน สามารถท้าใหห้ น่วยงานหรือองคก์ รมองเห็นเปน็
รปู ธรรมได้ชัดเจนวา่ การประกอบธุรกจิ น้นั ๆ มีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลหรอื ไม่

การเพม่ิ ผลผลติ ตามแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คือ

ผลผลติ (Output) ท่นี ้ามาเพอื่ ใชใ้ นการค้านวณนีต้ ้องเปน็ ผลติ ผลท่ีขายไดจ้ รงิ ไม่นับรวมผลิตผลทเี่ ปน็ ของเสียที่ตลาดไม่ตอ้ งการ และตอ้ งไม่เปน็ ผลติ ผลค้างสตออ กที่
เกบ็ ไวใ้ นโกดังสนิ ค้า เพราะไม่กอ่ ให้เกดิ รายไดต้ ่อโรงงานคา่ ทไ่ี ด้จาการค้านวณจากอัตราสว่ นขงิ ผลติ ผลและปจั จยั การผลิตนจ้ี ะไปวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบค่าการเพม่ิ ผลผลิตของ
โรงงานตามที่กา้ หนด และใช้เปรยี บเทียบกับหน่วยงานอน่ื การค้านวณหาคา่ การเพ่มิ ผลผลิตนเ่ี รยี กวา่ การวดั การเพม่ิ ผลผลิต ซึง่ แนวทางการเพม่ิ ผลผลิตมดี งั น้ี

แนวทางท่ี 1 ทา้ ให้ผลิตผลเพม่ิ ขน้ึ แตป่ ัจจัยการผลติ เท่าเดมิ คือ Output เพ่มิ ข้ึน Input เทา่ เดิม แนวทางนีน้ า้ ไปใช้ในการเพ่ิมผลผลิตในสภาวะเศรษฐกิจอย่ใู น
สภาพปกติ คือเมอ่ื พนกั งานมเี ท่าเดมิ ตอ้ งการให้ผลติ ผลมากขึ้น ก็หาวิธกี ารปรบั ปรุงงานด้วยการนา้ เทคนคิ วิธกี ารปรุงปรบั การเพม่ิ ผลผลิตเขา้ มาชว่ ย เช่น ปรับปรงุ วธิ กี าร
ทา้ งาน ฝกึ อบรมทกั ษะในเรือ่ งการทา้ งานให้มที ักษะคุณภาพ กจิ กรรม 5 ส กิจกรรม QCC ฯลฯ จะเป็นการเพมิ่ ผลผลติ ให้มีค่าสูงขึน้ โดยไม่เพมิ่ ปัจจยั การผลิต

แนวทางที่ 2 ทา้ ใหผ้ ลติ ผลเพม่ิ ข้นึ แต่ปัจจัยการผลิตลดน้อยลงคอื Output เพิ่มขนึ้ Input ลดลง แนวทางนี้สามารถน้ามาใชเ้ พื่อช่วยให้การเพม่ิ ผลผลิตมีคา่ สงู สุด
มากกวา่ วธิ อี ่นื ๆ เปน็ แนวทางที่น้าเอาแนวทางท่ี 1 และแนวทางท่ี 4 เข้าด้วยกนั ผู้ปฏิบตั ติ อ้ งใช้ความพยายามอยา่ งมากในการปรบั ปรุงกระบวนการผลติ วธิ ีการทา้ งาน
ทงั้ หมด จนไมม่ กี ารสญู เสยี ในกระบวนการผลิต เช่น โรงงานผลติ ผลไมก้ ระป๋อง ใชค้ นงานสุ่มเช็คความเรยี บรอ้ ยของสนิ คา้ กอ่ นบรรจุลงในกลอ่ ง หากพบสินคา้ มีรอยต้าหนไิ ม่
เปน็ มาตรฐานกจ็ ะแยกส่งออกไปแกไ้ ขใหม่ใชพ้ นกั งาน 6 คน ในจา้ นวนพนกั งานทั้งหมด12 คน ในสายตาการผลิต จะเห็นว่าเวลาส่วนใหญข่ องพนักงานทั้ง6 ที่ยนื สงั เกตแยก
สินคา้ ออกน้ี ถูกนา้ ไปใชง้ านท่ีไมเ่ กดิ ประโยชน์ ทา้ ให้เกิดตน้ ทุนการผลติ ที่สงู ข้ึนต้องปรบั ปรุงวธิ กี ารทา้ งานใหม่ ในการหาวธิ ีตรวจสองสินค้าท่ีมรี อยต้าหนิ โยกยา้ ยพนักงาน
ออกไปท้าหน้าทอี่ ่ืนทไ่ี ด้ประโยชน์ในการท้างานมากกว่าจะท้าให้โรงงานได้ผลติ ผลเพมิ่ ข้ึน และลดปจั จยั การผลิตนอ้ ยลง แนวทางน้จี ะเปน็ วิธี “การเพิม่ ผลผลติ หรือเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพดว้ ยต้นทนุ ต้า่ ” ใช้ทรัพยากรทมี่ อี ย่ใู นองค์กรอย่างคุม้ ค่า หรอื มีประสิทธิภาวะสูงสุด โดยเฉพาะการเพ่ิมผลผลติ จากพนกั งานใหส้ ูงข้ึนและใหล้ ดความสญู เสียที่เกิด
จาก “จุดรวั่ ไหล” ตา่ ง ๆ ใหม้ ากที่สดุ ประหยัดได้ต้องประหยัด ลดกนั ทุกจุกที่ท้าไดก้ เ็ ท่ากับลดต้นทุน

แนวทางท่ี 3 ท้าให้ผลิตผลเพ่มิ ขึ้น แต่ปจั จยั การผลติ เพิม่ สูงขึ้น (ในอตั ราที่น้อยกวา่ การเพ่มิ ของผลติ ผล) คือ Output เพมิ่ ขึน้ แต่ Input เพิ่มนอ้ ยกว่า แนวทางน้ี
นา้ ไปใชใ้ นสภาวะเศรษฐกิจก้าลงั เติบโตตอ้ งการขยายกจิ การและขยายธุรกิจให้ใหญ่ข้ึน มีทุนพอที่จะจัดซื้อเคร่ืองจักรมาเพิม่ ขึ้น จา้ งแรงงานเพมิ่ ใชเ้ ทคโนโลยีเข้าช่วยในการ
ผลิต ลงทุนในดา้ นปจั จยั การผลิตเพ่มิ ขนึ้ เมือ่ เปรียบเทยี บกับผลผลิตท่ีเพิ่มขนึ้ แลว้ อัตราส่วนของผลผลติ ทีเ่ พ่มิ จะมากกวา่ การเพิ่มของปจั จัยการผลติ

แนวทางท่ี 4 ทา้ ใหผ้ ลิตผลเท่าเดิม แต่ปัจจัยการผลติ ลดลง คือ Output คงที่ แต่ Input ลดลง แนวทางนไี้ มเ่ พม่ิ ยอดการผลิต นั่นคือ การใช้ปัจจยั การผลติ ที่มีอยู่
ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด เหมาะทจี่ ะใชก้ ับชว่ งทภ่ี าวะเศรษฐกจิ ถดถอย ความต้องการของตลาดมีไม่มากนัก เชน่ การประหยดั นา้ ประหยัดไฟ ขจัดเวลาท่ีสูญเสียต่าง ๆ การ
ประหยดั ทรพั ยากรทีม่ ีอยใู่ หใ้ ชอ้ ย่างจา้ กัดและจา้ เปน็ ลดความฟุ่มเฟอื ยตา่ ง ไหลหาจุดไหลในการผลิตและลดจุดร่วั นน้ั ๆ

แนวทางท่ี 5 ทา้ ให้ผลิตผลลดลงจากเดมิ แต่ปจั จยั การผลติ ลดลงมากกวา่ (ในอตั ราลดลงมากกว่าลดผลติ ผล) คือ Output ลดลง Input ลดลงมากกว่าแนวทางนใ้ี ช้
ในภาวะทคี่ วามตอ้ งการของสินคา้ หรือบรกิ ารในตลาดนอ้ ยลง เพอื่ ใช้เพิม่ คา่ ของการเพิ่มผลผลติ เช่นสภาวะท่ีเศรษฐกิจถดถอย คนไม่มกี า้ ลังซื้อ สินคา้ ฟุม่ เฟือยไมม่ ีความ
จ้าเปน็ ต่อการด้ารงชีวติ เช่น รถยนต์ น้าหอมฯลฯ ขายไม่ไดม้ าก บริษัทที่ผลิตต้องลดปริมาณการผลิตลง และพยายามลดปจั จยั การผลิตให้มากกว่าดว้ ย เพือ่ ให้การเพม่ิ
ผลผลติ คา่ สูงขนึ้

แนวทางการเพิม่ ผลผลิตทั้ง 5 แนวทางทกี่ ลา่ วมาจะไมส่ ามารถบอกได้อยา่ งแน่ชัดว่า แนวทางใดจะเหมาะสมกบั สภาวะเศรษฐกจิ อย่างไรไดท้ ้ังหมด
เพราะตอ้ งพจิ ารณาทง้ั ผลิตผลและปจั จัยการผลิตร่วมเพ่ือแนวทางทเี่ หมาะสมกบั องคก์ รหรอื หน่วยงานน้ัน ๆ แตโ่ ดยหลักการพื้นฐานแล้วสามารถพจิ ารณาได้ ดงั นี้

แนวทางการเพ่ิมผลผลติ
- หากตอ้ งเพ่ิมผลผลิตหรือ Output สูงนั้น เหมาะกบั สภาวะเศรษฐกจิ ที่ตลาดขยายตวั ผ้บู รโิ ภคกา้ ลังซ้อื สูงสินคา้ ก้าลงั เปน็ ท่ีต้องการของตลาด

- หากลดผลิตผลลง หรือ Output ลดลง เหมาะกับสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ซบเซา ตลาดหดตวั สินคา้ ไม่เปน็ ที่ต้องการของตลาดขณะนั้น

- หากเพม่ิ ปจั จยั การผลิต หมายถึง ตอ้ งการลงทนุ เพม่ิ ในช่วงเศรษฐกิจเติบโต ตอ้ งมั่นใจวา่ สนิ ค้าทผี่ ลิตออกมาแลว้ เป็นท่ีต้องการของตลาด

- หากลดปจั จัยการผลิต หมายถึงลดปัจจยั การผลติ ได้ในทกุ สภาวะเศรษฐกิจเพราะเป็นการแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การใช้ทรัพยากรที่มอี ยูใ่ หค้ ุม้ ค่า

จากแนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ข้างตน้ ความหมายของการเพม่ิ ผลผลิตมิได้หมายถงึ การเพ่ิมปริมาณการสภาวะหนึง่ ทตี่ อ้ งทา้ ให้อตั ราเพมิ่ ผลผลติ สงู
ตลอดเวลาซ่ึงท้าไดโ้ ดยส้ารวจสภาวะเศรษฐกิจขณะน้นั รวมท้งั วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดท่มี ีตอ่ สินค้าหรอื บรกิ ารแลว้ เลอื กแนวทางใดแนวทางหนึ่งเพอื่ การเพ่มิ ผลผลิตใหส้ งู ขึ้น

1.2 แนวทางเศรษฐกิจสังคม
การเพิ่มผลผลติ ทางเศรษฐกิจสังคมน้นั เปน็ แนวคิดทีเ่ ชอ่ื มนั่ ในความกา้ วหนา้ ของมนุษยท์ ่ีจะหาหนทางปรับปรุงและสรา้ งสรรค์ใหส้ งิ่ ต่าง ๆ ดีขน้ึ เสมอ โดยการท้าส่งิ

ตา่ ง ๆ ใหถ้ กู ต้องต้งั แต่แรก และใช้ทรพั ยากรใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด
ดังนนั้ การเพ่มิ ผลผลติ จึงเปน็ เร่อื งเกี่ยวข้องกบั คนทุกอาชพี ทกุ ระดับท่ตี อ้ งรว่ มกันเร่งรดั ปรบั ปรงุ การเพม่ิ ผลผลิต เพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพ และคณุ ภาพ

ชีวติ ท่ดี ขี ้ึน อนั จะน้าไปสู่ความเจรญิ ก้าวหน้าทางเศรษฐกจิ โดยรวมของชาติ การเพม่ิ ผลผลติ เป็นเครอ่ื งชว้ี ัดความเจริญกา้ วหน้าทางเศรษฐกิจสงั คม การเพม่ิ ผลผลติ ระดบั ชาติ
แสดงถึงความสามารถระดบั ชาติในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาตมิ ั่นคงกา้ วหน้าตอ่ ไป ด้วยการใชท้ รัพยากรที่มีอยจู่ ้ากัดอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือก่อให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด

การเพ่ิมผลผลติ ตามแนวคดิ ทางเศรษฐกิจสังคม

1. ความสา้ นกึ ในจติ ใจ เป็นความสามารถหรือการมีพลงั ดา้ นความสามารถทีม่ นุษยแ์ สวงหาทางปรบั ปรุงสิ่งต่าง ๆ ให้ดขี ึ้นเสมอ โดยเช่ือว่าสามารถท้าส่งิ ต่าง ๆ
ในวันนีใ้ หด้ ีกวา่ เม่อื วานนี้ พรุ่งนดี้ ีกวา่ วันนี้ โดยผู้มีจิตส้านึกด้านการเพิงผลผลิตจะประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ และวิธกี ารใหม่ ๆ น้ามาใช้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ให้เกิดประโยชนแ์ ก่
หน่วยงาน สงั คม และประเทศชาติ และทนั ตอ่ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมท่ีมกี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา

2. การใชท้ รพั ยากรใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด การเพิม่ ผลผลิตเปน็ ความส้านกึ ในการดา้ เนินกิจกรรมในตลอดวิถชี วี ติ ด้วยการใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยู่อย่างจา้ กดั ให้เกิด
ประโยชน์พรอ้ มท้งั พยายามลดการสูญเสียทกุ ประเภทเพือ่ ความเจริญมัน่ คงทางเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศชาติความส้านึกดังกลา่ วไดแ้ ก่ การช่วยกนั ประหยดั พลงั งาน
ต่าง ๆ และค่าใช้จา่ ย การมจี ิตส้านกึ ในการเคารพกฎระเบยี บต่าง ๆ เพือ่ ความสงบสขุ ของสงั คม การนิสัยตรงตอ่ เวลา การลดข้อผิดพลาดต่าง ๆ การใช้เวลาว่างให้เกดิ
ประโยชน์ ฯลฯ

สรปุ การเพิ่มผลผลิตตามแนวคดิ ทางเศรษฐกิจสังคม หมายถงึ “การสร้างทศั นคตแิ หง่ จติ ใจ ทีจ่ ะแสวงหาทางปรับปรงุ สง่ิ ต่าง ๆ ให้ดขี ึ้นอยู่เสมอ โดยใช้ทรพั ยากรท่มี ี
อยู่จ้ากดั ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด”จะเห็นวา่ ความหมายของการเพิม่ ผลผลติ ทงั้ แนวคิดทางวิทยาศาสตรแ์ ละแนวคิดทางเศรษฐกจิ สงั คมนัน้ มีหลายแนวคดิ และกิจกรรม
หลากหลาย จงึ ตอ้ งช่วยกันเรง่ รัดผลักดนั ปรับปรงุ การเพ่ิมในทกุ ระดับเพ่ือความเจริญกา้ วหน้าทางเศรษฐกจิ ของชาติสืบไป

2) ประเภทของการเพ่ิมผลผลติ

ปจั จบุ ันเคร่ืองมอื และเทคนิคการปรับปรงุ การเพมิ่ ผลผลติ มีหลากหลาย ซ่ึงลว้ นแต่เปน็ รูปแบบผสมผสานกนั ทั้งแบบของญีป่ ุน่ และแบบตะวนั ตก เพราะหลักในการเพิ่ม
ผลผลติ ก็คอื การขจัดความสูญเสียตา่ ง ๆ ที่เกดิ ข้นึ และสร้างทศั นคติที่ดีใหแ้ ก่พนกั งานในการปรับปรงุ สงิ่ ตา่ ง ๆ

2.1 เทคนคิ การเพ่ิมผลผลิตแบบเนน้ งาน

เป็นกระบวนการท่เี ป็นระบบในการพัฒนาปรบั ปรุงวธิ ีทา้ งานให้มีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น การศกึ ษาการท้างานประกอบดว้ ยเทคนคิ หลัก 2 ประการ คอื

ภาพประกอบท่ี 8.1 ศึกษากระบวนการทา้ งานทีเ่ ปน็ ระบบเพือ่ พฒั นาปรบั ปรงุ การท้างานในประสิทธภิ าพ

1. การศึกษาการท้างาน

หรือวิศวกรรมวิธีการหรอื การท้างานง่ายขึน้ หรือการทา้ ใหง้ านงา่ ยข้ึน หรือการปรับปรุงงานหรือการออกแบบงาน เป็นการบันทึกและวิเคราะหว์ ิธีทา้ งานโดย
มุ่งที่จะกา้ จดั ซึ่งอาจจะเรียกได้วา่ เปน็ บันได 8 ขั้น ในการศึกษาวธิ กี ารทา้ งานได้แก่

ขั้นท่ี 1 เลอื กงานส้าคญั ท่เี หมาะแก่การศกึ ษา โดยพิจารณางานทจี่ า้ เป็น เป็นปนั หาคอคอดในสายการท้างาน มขี องเสยี สน้ิ เปลืองสงู คุณภาพงานไม่สม่้าเสมอ
ซา้ ซาก จา้ เจ ท้าให้เหนื่อยล้ามาก หรอื มกี ารท้างานล่วงเวลาบ่อยเปน็ ตน้

ขั้นท่ี 2 บนั ทึกโดยตรง หมายถงึ การใช้แผนภูมิหรือแผนภาพมาตรฐานทเี่ หมาะสมเพอื่ รวบรวมข้อเท็จจริงเก่ียวกับวธิ ที ้างาน

ขน้ั ท่ี 3 ลงมอื ตรวจตรา วิเคราะห์วิธที ้างานท่ีเปน็ อยู่ โดยใชเ้ ทคนิคการตง้ั คา้ ถาม 6W 1H กลา่ วคอื วิเคราะหแ์ ต่ละข้ันตอนวา่ ท้าอะไร ท้าที่ไหน ท้าเม่ือไร ใคร
เปน็ คนท้า ท้าอย่างไร ทา้ ไมต้องท้า มอี ะไรอยา่ งอน่ื ท่ที า้ ได้ เป้าหมายในการวเิ คราะหต์ รวจตราก็เพอื่ กา้ จัด รวม หรอื สลบั ล้าดบั งานในขน้ั ตอนต่าง ๆ ที่พจิ ารณาจนกระทงั่
เหลือแตง่ านท่จี ้าเป็นจรงิ ๆ เท่าน้ัน

ขั้นท่ี 4 พฒั นาวธิ ใี หม่ เปน็ ขัน้ ตอนทใี่ ช้ความคดิ สรา้ งสรรค์ คน้ หาวิธกี ารใหม่ทด่ี ีท่ีสดุ เท่าทีจ่ ะท้าได้ในสภาวการณ์ที่เปน็ อยู่ จะตอ้ งมีการบันทกึ และตรวจตรา
วธิ กี ารที่เสนอแนะใหมเ่ ชน่

ข้นั ที่ 5 วดั ให้ร้จู ริง หาตัวเลขขอ้ มูลการประหยดั การเคลื่อนไหวและเวลาทีไ่ ด้ เพอื่ ค้านวณความเปน็ ไปได้ทางเศรษฐกิจของโครงการปรบั ปรงุ ท่ีเสนอแนะเสนอ
ให้ฝา่ ยบริหารพิจารณา

ขัน้ ท่ี 6 ทกุ สิง่ นิยามไว้ กา้ หนดวธิ กี ารท้างานทเี่ สนอแนะเพ่ือใช้อา้ งอิงในทางปฏิบตั ิ รวมถึงการกา้ หนดอปุ กรณ์ วสั ดุ เงอื่ นไขและผงั สถานที่ทา้ งานใหช้ ัดเจน
ขน้ั ท่ี 7 ใชง้ านเปน็ ประจ้า น้าวิธกี ารท้างานแบบใหมไ่ ปปฏบิ ัติ โดยต้องได้รบั การเหน็ ชอบจากฝ่ายบริหารและการยอมรบั จากคนงานและหวั หน้างานท่เี กี่ยวขอ้ ง
ต่อการเปลี่ยนแปลงทจ่ี ะมขี ึ้น ขน้ั ตอนน้คี รอบคลุมถงึ การฝึกหัดพนกั งานตามวิธใี หมแ่ ละการติดตามดูความก้าวหน้าในการท้างานจนไดร้ ะดบั ทีน่ า่ พอใจ
ข้ันท่ี 8 ดา้ รงไวซ้ งึ่ วิธี คอยตรวจสอบการท้างานใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานท่ปี รับปรงุ อาจก้าหนดสิ่งจูงใจในการท้างานด้วยวธิ ีใหม่ ไมม่ ีเพียงเทา่ นน้ั หากเลง็ เห็น
วธิ กี ารปรับปรุงอกี กอ็ าจพจิ ารณาปรบั ปรุงต่อไป

ภาพประกอบท่ี 8.2 ฝกึ อบรมใหแ้ ก่พนักงานเพื่อเพิม่ ทกั ษะในการทา้ งาน

3)ปัจจยั แหง่ ความส้าเร็จในการปรับปรงุ การเพม่ิ ผลผลติ

ความส้าเร็จในการปรับปรุงการเพม่ิ ผลผลิตของหน่วยงานหรือองคก์ รมีปัจจัย ดังน้คี ือ
1. บทบาทของผู้บรหิ ารระดับสงู ในองค์กร ตอ้ งใหค้ วามรว่ มมือและสนับสนุนในการปรับปรงุ การเพ่ิมผลผลิตอย่างจรงิ จงั และจรงิ ใจ ให้การสนับสนุนในทุก ๆ

ดา้ น ทง้ั ดา้ นงบประมาณ การสรา้ งขวญั และก้าลังใจให้กับพนักงาน มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมเพิม่ ผลผลิตในทุก ๆ รูปแบบ

ภาพประกอบที่ 8.3 ยอมรบั การแสดงความคดิ เห็นของพนกั งานทุกคนเพือ่ ปรับปรงุ การเพ่มิ ผลผลิตให้มปี ระสิทธิภาพ
2. องค์กรต้องจดั ตงั้ ทีมดา้ เนินงาน รับผดิ ชอบในการปรับปรงุ การเพม่ิ ผลผลติ เพ่อื ให้การปรับปรงุ ดา้ เนนิ โครงการเป็นไปอย่างต่อเน่ืองระยะยาว แบ่งหนา้ ท่ี
รับผิดชอบอย่างชัดเจน
3. ตอ้ งประกาศเป็นนโยบายขององคก์ ร เพอ่ื ใหพ้ นกั งานทุกคนรบั ทราบ และตอ้ งนบั ถือเป็นขอ้ ตกลงร่วมกัน มสี ว่ นช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ในเร่ืองของการ
ปรบั ปรงุ การทา้ งานเพือ่ เพ่ิมผลผลิต

4. เปิดโอกาสให้พนกั งานไดเ้ รียนรู้ พฒั นาความรคู้ วามสามารถและทกั ษะตา่ ง ๆ ท่ีจ้าเปน็ ในการทา้ งานจดั ใหม้ ีกิจกรรมการเพ่ิมผลผลิตต่าง ๆ เช่น
กิจกรรม 5 ส กจิ กรรมกลุม่ คุณภาพ กจิ กรรมข้อเสนอแนะ ฯลฯ

5. สร้างบรรยากาศหรือสภาพแวดลอ้ มในการท้างานท่ดี ใี นองคก์ ร เพอ่ื กระตุน้ ใหพ้ นักงานเกิดทศั นคติท่ีดตี ่อการทา้ งานมีความพยายามตระหนกั ถงึ ความ
จ้าเปน็

6. องคก์ รต้องสรา้ งความสัมพนั ธ์ท่ีดรี ะหวา่ งพนักงานและฝ่ายบริหาร เพราะจะท้าให้เกิดความรว่ มมือระหว่างกันในการปรบั ปรงุ การเพ่มิ ผลผลิต

7. ต้องมกี ารแบง่ ปนั ผลปะโยชน์ ซึง่ เกดิ จากการเพม่ิ ผลผลิตใหก้ บั ทุกฝ่ายที่เกย่ี วขอ้ งอยา่ งเหมาะสมเพราะจะให้เกดิ ความร่วมมือกบั ทุก ๆ ฝา่ ย ในการปรับปรุง
การเพิ่มผลผลติ ในระยะยาว


Click to View FlipBook Version