The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ขการเป็นผู้ประกอบการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sawairad1976, 2021-03-20 23:58:52

หน่วยการเรียนรู้ขการเป็นผู้ประกอบการ

หน่วยการเรียนรู้ขการเป็นผู้ประกอบการ

หน่วยท่ี 1 หลกั การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ

ภาพประกอบท่ี 1.1 การวางแผนเปา้ หมายในชวี ติ

1) ความสาคญั ของการวางแผนเป้าหมายชีวิต

มนุษย์ทกุ คนจาเปน็ ต้องให้ความสาคัญในการกาหนดเป้าหมายของชีวิตตนเองอยา่ งขั้นตอนและวิธีการดาเนนิ ชวี ิตที่เหมาะสม สอดคล้องกบั สถานะของตน แลว้ มงุ่ มัน่
พยายามปฏบิ ตั ทิ ุกวิถีทางทีจะทาให้ประสบความสาเร็จในชีวติ ตามทตี่ นไดว้ างแผนไว้ แตห่ ากเม่อื ดาเนินชวี ติ ตามกรอบท่ีมีวางแผนแล้วเกิดปญั หาและอุปสรรคบุคคลน้นั
สามารถหาจุดบกพรอ่ งทเ่ี กิดขึ้นมาพจิ ารณาและทบทวนขัน้ ตอน เพือ่ แก้ไข พัฒนา ปรบั ปรงุ ใหช้ วี ติ ของบคุ คลมีคุณภาพ และเกิดประสทิ ธิภาพในการดาเนนิ ชีวิตให้มคี วามสุข
ทง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ และด้านสังคมโดยรวม หากทุกชวี ิตมีการวางแผนเพอ่ื เป้าหมายของชวี ติ ยอ่ มจะส่งผลให้ประสบกบั ผลในสาเร็จในชีวติ ได้อย่างแน่นอน ในทางตรง
ขา้ ม หากบุคคลใดไม่มีการวางแผนเป้าหมายชวี ิตในเร่ืองใด ๆ เชน่ การศกึ ษาเล่าเรียน การใชจ้ ่ายเงนิ ทองในชวี ิตประจาวัน การเลอื กประกอบอาชีพเปน็ ต้น ย่อมส่งผลกระทบ
ตอ่ ชีวิตทาใหไ้ มป่ ระสบผลสาเร็จในการศึกษาและปญั หาทางดา้ นเศรษฐกิจ

ระดบั ของการวางแผนเป้าหมายชวี ิตของบคุ คล

(1) การวางแผนเปา้ หมายชีวติ
ขั้นต้น เป็นการวางแผน
ตั้งเป้าหมายของชวี ิตโดยม่งุ มนั่ ฝกึ ฝนตนเอง ให้บรรลเุ ปา้ หมายของชีวติ โดยมุง่ มนั่ ฝึกฝนตนเอง ให้บรรลุเปา้ หมายของชีวิตว่าจะต้องเรยี นใหจ้ บ มีอาชีพ มีฐานะท่ีดใี หไ้ ด้ ดว้ ย
องคป์ ระกอบต่าง ๆ เชน่ การประพฤติตนเป็นคนดี ไม่ทาตวั เป็นปัญหา ไม่ทาผิดกฎหมาย และตง้ั เปา้ หมายวา่ จะประกอบอาชีพอะไร เชน่ ครู พยาบาล ตารวจ ทหาร ชาวนา
หรืออื่น ๆ ทีเ่ ป็นอาชีพท่ีสุจรติ

(2) การวางแผนเป้าหมายชวี ติ ขนั้
กลาง เป็นการต้ังเป้าหมาย
ของชีวิตวา่ ตอ้ งพยายามตั้งตัวและสรา้ งฐานะของตนเองมชี ีวติ คู่ มชี ีวิตครอบครวั มลี ูกที่ดีในชีวติ นี้ จะไมย่ อ่ ท้อ รู้จกั การสรา้ งคุณคา่ ใหช้ วี ติ ด้วยความขยนั ตงั้ ใจทาความดี เอื้อ
อาทร มีเมตตาตอ่ ผู้อ่นื ซึง่ เป็นเป้าหมายชีวติ สงู สุด

(3) การวางแผนเป้าหมายชวี ิตข้ัน
สูงสุด เป็นการตงั้ เป้าหมาย
ของชีวิตที่เปน็ ประโยชน์อย่างย่งิ ทั้งต่อตนเอง และบคุ คลอ่นื คือ การตง้ั ใจดาเนนิ ชวี ติ ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในการศึกษาเล่าเรียน หนา้ ที่การงาน ชีวติ ครอบครวั และต้งั ใจ
ปฏิบตั ธิ รรมทุกรปู แบบ โดยการต้งั ใจทาความดี หม่ันใหท้ าน รักษาศีล ฝกึ สมาธเิ พื่อให้จิตใจผ่องใส เกดิ ปัญหา เพอื่ รักษาเปา้ หมายของชีวติ ให้มนั่ คงในทุก ๆ ด้าน

2) การเลือก
ค่คู รอง การ

มีชีวิตคู่ ชวี ติ ครอบครวั ที่มีความสุข เป็นส่งิ คู่รกั ทุกคนพงึ ปารถนาอยากให้เกิดขน้ึ และมคี ่รู กั จานวนไมน่ อ้ ยเชื่อวา่ “ความรกั ” จะสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคในชวี ิตได้
ทุกอย่าง แตใ่ นคามเปน็ จรงิ ไม่ไดเ้ ปน็ เช่นน้นั เสมอไป ฉะน้ันการเลอื กคู่ครองควรพิจารณา ดงั นี้

ภาพประกอบที่ 1.2 การเลือกคู่ครองท่ดี ีนามาสคู่ รอบครวั ทมี่ ี

ความสุข

1) ไมค่ วรเลอื กคู่ครองที่แตกตา่ งกนั มาก จะเกิดความขดั แย้งกนั ได้มาก เพราะชอ่ งว่างทเ่ี กิดข้นึ อาจทาให้ไมเ่ ขา้ ใจกนั และกลายเป็นจดุ ขดั แยง้ ตอ่ ไป

2) ไม่ควรเลอื กเพยี งเพราะหนา้ ตา รูปรา่ งทีป่ ระทับใจแต่ควรมองลึกเข้าไปในบคุ ลิกภาพและจติ ใจ ว่าเหมาะสมกันดีเพียงใด

3) ไม่ควรเลือกคคู่ รองเพราะหวงั สมบตั ิ โดยไมค่ านกึ ถึงคณุ สมบตั ิดา้ นอ่นื ๆ อาจทาให้ผิดหวังไดภ้ ายหลงั ถา้ แต่งงานมีลกู ตอ่ ไป ลูกไมไ่ ด้เกิดจากความรักของพอ่ แม่ทาให้เดก็
ตอ้ งเติบโตขนึ้ มาในสง่ิ แวดลอ้ มของครอบครวั ทไี่ ม่ไดม้ คี วามรักตอ่ กัน เดก็ จะเตบิ โตเป็นคนทีไ่ มม่ คี วามสุขและอาจเป็นปัญหาสังคมต่อไปได้

4) ไมค่ วรเลือกคนท่ีติดการพนนั อาจทาให้ครอบครัวไมม่ นั่ คงทางการเงนิ และมีปญั หาหนี้สิน

5) ไมค่ วรเลอื กคนที่มปี ญั หาบุคลิกภาพแปรปรวน จะทาให้การดาเนนิ ชวี ิตครอบครัวเปน็ ไปดว้ ยความยากเย็นและจบลงด้วยปญั หาการหยา่ รา้ ง ไมค่ วรเลือกบคุ คลทม่ี ีความ
เสย่ี งตอ่ พฤตกิ รรมรุนแรง เช่น ดืม่ สรุ าแลว้ ชอบทารา้ ยร่างกาย

3) การแตง่ งาน

ภาพประกอบท่ี 1.3 ความเข้าใจและรจู้ ักข้อดีข้อเสยี ของกันและกนั เปน็ พนื้ ฐานของการแตง่ งาน

คอื การทช่ี ายหญงิ สมคั รใจมาอยู่กนิ และใช้ชีวติ รว่ มกันฉนั สามภี รรยา โดยไมเ่ กี่ยวข้องทางชู้สาวกับบคุ คลอนื่ ใด มีความผกู พนั ซึง่ กันและกนั ทัง้ ทางกฎหมายและวัฒนธรรม
ช่วยกนั เสริมสรา้ งรากฐานของครอบครัวให้มนั่ คง มีบุตรธิดาสบื วงศ์ตระกลู ต่อไป การท่ีชายหญงิ จะประสบความสาเร็จในชวี ติ การแตง่ งานมิใช่เรอื่ งงา่ ยแม้ว่าจะมีความรกั เป็น
พน้ื ฐานทีส่ าคัญกช็ ่วยไดไ้ ม่มากนัก ค่สู มรสตอ้ งทาความเข้าใจ ศกึ ษาซึ่งกนั และกันรบั รทู้ ั้งข้อดีและขอ้ เสียซึ่งกนั และกัน ร้จู กั สภาวะอารมณ์ความตอ้ งการ ความสนใจ อปุ นิสัย
ใจคอ เจตคตติ ่าง ๆ ของคคู่ รอง ตลอดจนรจู้ ักการผ่อนปรนและให้อภยั ซ่งึ กนั และกนั นอกจากความเขา้ ใจซง่ึ กันและกันแล้วคสู่ มรสจะตอ้ งวางแผนในการดาเนินชวี ิตร่วมกันทง้ั
ดา้ นการปรับตัวนสิ ยั ใจคอ การใช้เงิน การงาน การพกั ผ่อน และการสงั คม ตลอดจนการมีบตุ รซึง่ จะต้องคานงึ ถึงอนาคตเป็นสง่ิ สาคญั

1.3.1 การวางแผนตรวจสขุ ภาพก่อนมี
บุตร

1) การตรวจสุขภาพเบอ้ื งต้นและตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เชน่ การวดั ความดันโลหิต ช่ังน้าหนัก วดั สว่ นสงู ตรวจร่างกายท่ัวไปทุกระบบ เพอ่ื ให้ทราบถงึ ความสมบรู ณ์
และความพร้อมของรา่ งกายท้ังชายและหญงิ ที่จะเป็นผู้กา้ เนดิ ทารกน้อยซง่ึ จะตอ้ งมีสขุ ภาพสมบรู ณ์แข็งแรงและสามารถวนิ จิ ฉยั โรคบางอยา่ งทไี่ ม่แสดงอาการได้

2) ตรวจปัสสาวะ เพอ่ื ค้นหาโรคเบาหวาน โรคไต และโรคอ่นื ๆ ซ่ึงเป็นโรคทม่ี ีผลตอ่ การตั้งครรภไ์ ด้

3) การตรวจเอกซเรยป์ อด เพ่ือตรวจดคู วามแข็งแรงของปอด หากพบวา่ ฝา่ ย หนึ่งฝ่ายใดเป็นวัณโรคกจ็ ะไดร้ ักษาให้หายกอ่ นแตง่ งาน เพราะเชือ้ จะแพร่ไปสู่
อกี ฝ่ายไดท้ างการหายใจ

4) การตรวจเลือด เพอื่ ให้ทราบถึงกลุ่มเลอื ด (หมเู่ ลือด) ความเขม้ ขน้ ของเมด็ เลอื ด

5) ตรวจหาภมู ิคุม้ กนั ไวรัวตบั อกั เสบบี เพราะไวรัสตบั อกั เสบบีมกั เป็นสาเหตโุ รคตบั แขง็ และมะเรง็ ตับ การตรวจหาเชื้อจึงเป็นวธิ ีการเพ่อื ป้องกนั ก่อนทจี่ ะถ่ายทอด
ไปสู่อกี ฝา่ ย หากตรวจแล้วพบว่า ไมม่ ภี มู คิ ้มุ กัน ควรฉดี วัคซีนปอ้ งกันท้งั ชายและหญิง

6) ตรวจสอบภูมคิ ุม้ กนั บกพร่อง HIV หรอื เอดส์ หากพบว่าฝา่ ยหน่งึ ฝ่ายใดมีการติดเชื้อ HIV ก็จะไดห้ าวธิ ีการปอ้ งกนั ไม่ให้อีกฝ่ายหนงึ่ ได้รบั เชื้อไปด้วย แต่ถ้าทงั้
สองฝ่ายมเี ชือ้ HIV และไมต่ อ้ งการมีลูก ควรป้องกันด้วยการใสถ่ ุงยางทกุ ครั้งทม่ี เี พศสมั พนั ธ์

ภาพประกอบที่ 1.4 การวางแผนตรวจสุขภาพกอ่ นมีบตุ ร

7) ตรวจหาเชอ้ื ซฟิ ลิ ิส เพราะหากมีเช้ือของอีกฝ่ายควรรีบรกั ษาเสยี กอ่ น เพราะโรคนีส้ ามารถรกั ษาใหห้ ายขาดได้
8) ตรวจหาโรคธารัสซีเมยี โรคธารัสซีเมยี เปน็ โรคโลหิตจางทม่ี ีการถา่ ยทอดทางพรรมพันธุ์ ฉะนัน้ การตรวจเลอื ดเพอ่ื คน้ หาโรคธารัสซีเมียจึงเปน็ เรื่องส้าคัญทีค่ ู่
แต่งงานไม่ควรมองขา้ ม การฉีดวคั ซีนปอ้ งกนั โรคหดั เยอร ฝา่ ยหญงิ ควรรบั การฉีดวคั ซนี ปอ้ งกันโรคหัสเยอรมันกอ่ นตั้งครรภ์อยา่ งนอ้ ย 3 เดอื น เพ่อื ป้องกนั การตดิ เชอื้ ในทารก
การติดเชือ้ อาจทา้ ให้ทารกพิการและเสียชีวิต

4. เทคนิคการวางแผนเป้าหมายสู่ความส้าเร็จใน
ชวี ิต

มีคนจา้ นวนมากในสังคมท่ไี มเ่ ข้าใจและละเลยการวางแผนเป้าหมายชวี ติ ในอนาคตวา่ อีก 5 ปี 10 ปีข้างหน้าอยากจะได้อะไร อยากจะเป็นอะไร หรอื อยากจะมี
อะไรบ้าง บางคนมกี ารก้าหนดเป้าหมายไวช้ ัดเจน แตก่ ไ็ ม่ประสบความส้าเร็จ เพราะว่ากา้ หนดเปา้ หมายใหต้ ัวเองอยากเกินไป ทา้ อยา่ งไรกไ็ ม่สา้ เรจ็ เชน่ บางคนตง้ั เป้าหมาย
วา่ จะเกบ็ ออมเงินใหไ้ ดป้ ีละหน่ึงแสนบาท แต่ในความเป็นจรงิ มีรายไดเ้ พยี งปีละสองแสนบาท ถา้ คดิ เป็นเปอรเ์ ซน็ ตเ์ งินเกบ็ ออมตอ่ รายไดแ้ ล้วต้องออม ประมาณ 50% ซ่ึงไม่
นา่ จะเปน็ ไปได้ ถา้ เขาไมม่ รี ายได้จากแหล่งอ่นื ดว้ ยเหตุนีจ้ ึงทา้ ให้เปา้ หมายของหลายคนไมป่ ระสบความสา้ เร็จ
มคี นอกี จ้านวนไมน่ อ้ ยท่กี ้าหนดเป้าหมายชวี ิต แต่มีการเปลีย่ นเปา้ หมายบอ่ ยเกนิ ไป จงึ กลายเป็นเป้าบนิ ท้าใหพ้ ลาดเป้า เพราะมเี ปา้ หมายมากเกนิ ไป เชน่ วันนี้มคี นเลา่ ใหฟ้ ัง
เร่อื งธุรกจิ ส่วนตัวกต็ ้ังเป้าเร่อื งธุรกจิ สว่ นตวั พรงุ่ นมี้ ีคนพูดเรื่องงานใหมเ่ งนิ เดือนดกี วา่ เดมิ เปา้ หมายในการเปลี่ยนงานเพอื่ ก้าวสู่การเปน็ ผูบ้ ริหารระดับสงู ก็เกิดขน้ึ มาอีก จงึ มี
เปา้ หมายไมแ่ นน่ อน เพอ่ื ให้ทา่ นท่ีต้องการกา้ หนดเปา้ หมายในชวี ิตได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ และ สามารถกา้ วไปสคู่ วามสา้ เรจ็ ในชีวิตได้ดกี วา่ และเร็วกวา่ ทค่ี าดหวังไว้
พอจะสรปุ แนวทางในการวางแผนเป้าหมายชีวิตไว้ ดังน้ี

ภาพประกอบท่ี 1.5 จุดเร่ิมตน้ ของเปา้ หมายในชวี ิตคอื การหาความฝนั ของตวั เองให้พบ

2.1 หาความฝันของตัวเองให้
พบ จดุ เร่ิมต้นของการ
กา้ หนดเป้าหมายในชีวติ คอื การถามตวั เองวา่ ในอนาคตเราอยากจะเปน็ อะไร อยากจะมีอะไร อยากจะไดอ้ ะไร อยากจะเปน็ เหมอื นใคร แคไ่ หน เม่อื ไหร่ เพราะถา้ เราไม่
สามารถตอบคา้ ถามน้ีได้ เราจะกา้ หนดเป้าหมายท่ีดีไม่ได้เช่นกัน เหมอื นกบั การท่ีเราออกไปตลาดเพ่ือซอื้ ของมาท้าอาหาร ถ้าเราไม่มรี ายการอาหารอยูใ่ นใจ คิดเพียงวา่ ไป
ดูก่อนแลว้ กันค่อยคิดว่าจะท้าอะไรรบั ประทาน ซึง่ ต้องใช้เวลาเดนิ ตลาดนานมาก และอาจไมม่ อี ะไรถูกใจเลยสักอย่างเดียว ผิดกับคนทคี่ ดิ รายการอาหารไปจากบา้ น พอไปถงึ
ตลาดก็สามารถเดนิ ไปเฉพาะจดุ ทต่ี อ้ งการจะซื้อไดท้ นั ที ไม่ตอ้ งเสียเวลาเดินวนไปวนมาถงึ แม้รายการอาหารที่เราตอ้ งการไมม่ ี แต่ถา้ เรามีรายการอาหารสา้ รองอยู่ เราก็
สามารถเปลย่ี นรายการซอื้ ของไดท้ ันท่วงที ดงั นน้ั ใครทยี่ ังคน้ หาตวั เองใหพ้ บกไ็ มต่ ่างอะไรไปจากคนทไี่ ปตลาด แลว้ ค่อยคดิ วา่ จะซอ้ื อะไรมาท้าอาหาร

2.2 วิเคราะห์หาความชอบของตวั เอง

บคุ คลท่ีกา้ ลงั ท้างานเป็นลกู จา้ งอยู่และคิดจะออกมาทา้ ธรุ กิจสว่ นตัว กก็ ค็ วรเลือกท้าในสิ่งท่ีตวั เองถนัด ตัวเองชอบเปน็ อนั ดับแรก เพราะธรุ กิจทเ่ี ราท้าเราจะต้องอย่กู ับ
มนั นาน และถ้าใครเลือกทา้ ธุรกจิ ทีต่ วั เองไมม่ คี วามรักความชอบเป็นพื้นฐานแลว้ จะทา้ ได้ไม่ดี เชน่ ไมช่ อบเล่นเกม แตอ่ ยากท้าธรุ กิจรา้ นวีดโี อเกม เป็นต้น

2.3 ตกี รอบให้แคบลง
การเลือกเปา้ หมายท่ีเราตอ้ งการ ถา้ เรารู้วา่ เราชอบอะไร เมอ่ื มองออกไปภายนอกจะคอ่ นข้างง่าย เชน่ ตอ้ งการทา้ ธุรกจิ เกย่ี วกับเส้อื ผ้าสตรนี า้ สมยั กล่มุ เปา้ หมายคอื

คนท้างาน และธรุ กิจเสื้อผ้าท่ีลงทนุ ไมเ่ กนิ 2 ลา้ นบาท อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ฯลฯ ถ้าเราสามารถก้าหนดกรอบของเปา้ หมายได้ชัดเจนและคอ่ ย ๆ ตีกรอบนัน้ ใหแ้ คบลง ๆ เราจะ
คน้ พบว่า เป้าหมายนนั้ เหมาะสมกบั เราหรือไม่

2.4 ศกึ ษาขอ้ มูลเพ่ือใหไ้ ปสู่เปา้ หมาย
เม่ือเราไดเ้ ปา้ หมายที่ชัดเจนและอยใู่ นกรอบที่เราสามารถท้าได้ ข้นั ต่อมาคือ การศกึ ษาขอ้ มูลเกี่ยวกับเป้าหมายท่เี ราก้าหนดไว้วา่ แนวทางในการไปสู่เปา้ หมายน้นั เป็น

อย่างไรบา้ ง ถ้าต้องการท้าธุรกิจสว่ นตวั เรือ่ งเสือ้ ผ้ากค็ วรจะไปศึกษาจากผู้ทเ่ี คยประสบความล้มเหลวและผทู้ ี่ก้าลังประสบความส้าเรจ็ ในปัจจบุ นั เพื่อวิเคราะหด์ วู ่าเราจัดอยใู่ น
กลมุ่ ไหน หรือควรหาทางปอ้ งกนั ไม่ให้เราผดิ พลาดเหมอื นกลมุ่ ทีเ่ คยลม้ เหลวมาแลว้

2.5 ตัง้ เปา้ หมายให้ท้าทาย
การตัง้ เป้าหมายในชวี ิตควรจะเป็นเป้าหมายท่ที า้ ทายซงึ่ หมายถึงเป้าหมายท่ไี มง่ า่ ยจนเกนิ ไป เชน่ ก่อนเกษยี ณอายจุ ากลูกจ้าง ควรจะดา้ รงตา้ แหน่งเจา้ หนา้ ที่อาวโุ ส (ไม่ใช่
ไม่ท้าอะไร อยูไ่ ปนาน ๆ อายงุ านมากกว่าคนอน่ื ) และไมค่ วรตง้ั เปา้ หมายทอ่ี ยากเกนิ ไป เช่น ต้องการเกบ็ เงินเดอื นละหา้ พนั บาททงั้ ๆ ท่ีได้เดอื น ๆ ละ หม่ืนบาท

2.6 ควรจะมเี ป้าหมายหลกั และเปา้ รอง

การตงั้ เป้าหมายในชวี ิตทดี่ ี ควรจะมเี ปา้ หมายหลกั และเป้าหมายรองทีส่ อดคล้องกัน เพราะถ้าเปา้ หมายหลกั มปี ัญหาอุปสรรคหรอื เปน็ ไปไม่ได้ จะไดน้ ้าสิ่งท่ีลงทุนไปกบั
เป้าหมายหลกั มาใช้ประโยชนก์ ับเปา้ หมายรองได้ การกา้ หนดเปา้ หมายในชวี ติ ไมจ่ า้ เป็นวา่ จะก้าหนดคร้ังเดยี วแลว้ ใช้ไดต้ ลอดไป เราควรจะทบทวนความส้าเร็จของเป้าหมายท่ี
กา้ หนดไว้เป็นระยะ ๆ วา่ ควรจะมีการปรบั เปลี่ยนเป้าหมายหรือไม่ อยา่ งไร

2.7 การบรหิ ารธรุ กิจชวี ิตสู่

ความสา้ เรจ็ อาจกลา่ วได้วา่

การด้าเนนิ ชวี ติ ของคนเราคือการบริหารธรุ กิจประเภทหนึ่งทเี่ ปา้ หมายสุดท้ายคอื กา้ ไร กา้ ไรในทน่ี ี้มไิ ดห้ มายถึงสิง่ ทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ แต่หมายถงึ “ความสา้ เร็จ” ดังนั้น ถ้า

เปา้ หมายของธรุ กจิ ชีวิตเราคือความสา้ เร็จ เราคงต้องเริ่มบริหารชวี ิตอยา่ งมีกลยทุ ธ์มากขึน้ หลายคนสูญเสยี เวลาแหง่ ชวี ติ ไปกับเรอื่ งที่ไรส้ าระ ปลอ่ ยเวลาให้ล่วงเลยไปกบั เข็ม

นาฬกิ า ปล่อยให้โอกาสลอ่ งลอยไปกับสายลมและแสงแดด คนหลายคนมีคา้ วา่ “เสยี ดาย” อยู่เต็มหัว เพราะมารู้สกึ ตัวในเร่ืองต่าง ๆ หรอื คิดได้กส็ ายไปเสยี แลว้ กว่าจะรกู้ าร

ออกก้าลังกายเปน็ ส่ิงจ้าเป็นและส้าคัญ กเ็ จ็บป่วยไปเรยี บรอ้ ยแล้ว กวา่ จะรวู้ า่ ครอบครัวสา้ คัญก็เกิดปญั หาครอบครวั แตกแยกไปแลว้ กวา่ จะรวู้ า่ ความสามารถยังไม่ถึงกต็ อ่ เม่อื

โอกาสดผี ่านไปแลว้ เพอื่ ให้ชีวติ มงุ่ ไปส่วู ตั ถุประสงค์ทแ่ี ท้จริงของชวี ติ คือความสา้ เรจ็ เราจึงตอ้ งมีการบรหิ ารชวี ติ ตามแนวทางการบรหิ ารธรุ กจิ ชีวิตอย่างจรงิ จัง เพอื่ ให้ม่นั ใจได้

วา่ เราไม่ได้ละเลย หลงลืมหรอื แกล้งลืมท้าบางสิ่งบางอย่างในชีวิตในเวลาท่ีควรจะทา้ น่ันคือ ป้องกนั วา่ “เสียดาย” อยา่ ใหเ้ กิดขึ้นกบั ชีวติ ของเรา จงึ ขอแนะนา้ ทางในการ

บริหารธรุ กจิ ชีวติ

2.8 ก้าหนดทางเลอื ก (Strategic Option)

ในแตล่ ะเปา้ หมายเชงิ กลยุทธย์ ่อยๆ ในด้านตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ เป้าหมายดา้ นเงินทุน เปา้ หมาดา้ นความรแู้ ละประสบการณ์ เราจะต้องก้าหนดทางเลือกขึน้ มาเพื่อให้มี

ความเหมาะสมกับตวั เองมากที่สุด เช่น เป้าหมายยอ่ ยทางดา้ นเงนิ ทุน เราอาจจะก้าหนดทางเลือกในการหาเงินทนุ

ดงั น้ี 1) กู้เงนิ จากสถาบันการเงิน เง่ือนไขคือ เราตอ้ งมีหลักทรัพย์หรือการค้าประกัน

2) กยู้ มื เงนิ จากญาติพน่ี ้อง เงอ่ื นไขคอื ญาตพิ ่นี ้องเรามเี งนิ หรือไม่ เขาไว้ใจเราหรือไม่

3) เกบ็ สะสมเงินด้วยตนเอง เงือ่ นไขคือ ตอ้ งใชเ้ วลานาน

4) ระดุมทนุ จากหนุ้ ส่วน เงื่อนไขคอื กิจการนัน้ ตอ้ งมีผูถ้ อื หนุ้ หลายคน

คนหลายคนทีม่ กั จะตายน้าตน้ื เช่น มีวิสยั ทศั น์ที่ชัดเจนวเิ คราะห์ตวั เองดี มีการกา้ หนดเปา้ หมายเชงิ กลยุทธ์ไว้อยา่ งดี แตพ่ อมาถงึ การหาทางเลอื กกลับคิดไม่ออกไม่
สามารถหาทางเลือกให้กับตวั เองได้ เพราะคนส่วนมากมกั จะคดิ ในเชิงลบ เชน่ คงเป็นไปไม่ได้หรอกเพราะต้องลงทุนเป็นล้าน คงจะยากท่จี ะไปขอกู้เงินเพราะเราไม่มี
หลกั ทรัพย์ คนประเภทนม้ี กั จะตดั สนิ ความคิดของตัวเองด้วยตัวเอง ทัง้ ๆ ที่บางความคิดอาจจะเปน็ จริงขึ้นมาได้ ถา้ เราลองลงมอื ทา้ จริงๆ เราตอ้ งทดลองท้ากอ่ นแล้วค่อย
ตดั สนิ วา่ ใช่หรือไมใ่ ช่

เราคงเคยไดร้ ับทราบประวัติของเจา้ ของธุรกิจบางคนทีเ่ รมิ่ ต้นจากศูนย์ ไมม่ ีเงนิ แตม่ ีความพยายาม มคี วามขยนั มีความสุจริต มีนา้ ใจ วันหนง่ึ สง่ิ ดๆี ท่ีเขาเคยท้าในอดตี
อาจจะสง่ ผลต่อการแสวงหาทางเลอื กของเขาได้ เชน่ มีชายคนหน่ึงอยากมีธุรกจิ เป็นของตัวเอง ไปขอกเู้ งนิ ทใี ดก็ไมม่ ใี ครให้ เพราะไมม่ ีหลักทรัพย์อะไรเลย จนมาวนั หนึ่งเขาไป
ขอก้เู งนิ ทธี่ นาคารแหง่ หนึง่ พอเขา้ ไปคุยกับผูจ้ ัดการแลว้ ผู้จัดการทา่ นนัน้ ไม่ไดใ้ หเ้ ขากูเ้ งนิ ธนาคาร แต่เขาให้ก้เู งนิ สว่ นตวั ของเขาเอง เพราะเม่อื หลายปกี ่อนผูจ้ ดั การธนาคารผู้
นี้เคยประสบอบุ ัติเหตเุ กือบเอาชีวิตไมร่ อด แต่ได้ชายผ้นู ้ชี ว่ ยเหลอื ไว

จากเรอื่ งน้ขี อใหท้ ุกคนคดิ อยูเ่ สมอวา่ ทกุ เส้นทางท่ีเราต้องการจะไปถงึ นน้ั มีทางออกอยูเ่ สมอ เพยี งแตท่ างออกสา้ หรบั ชีวิตของเราอาจจะแตกต่างจากคนทัว่ ไป อาจจะ
แตกต่างจากคนอนื่ ๆ ทั้งนข้ี ึ้นอยู่กบั เบือ้ งหน้าและเบื้องหลังชวี ิตของแตล่ ะคน จากตัวอยา่ งนจี้ ะเหน็ วา่ ไมใ่ ชค่ นทกุ คนจะไดร้ ับเงินกู้จากผจู้ ัดการธนาคารคนนี้ บางคนอาจจะ
ได้รับเงินก้จู ากภรรยาผู้จดั การ บางคนอาจจะได้รับเงนิ ใหเ้ ปล่าจากคนบางคน บางคนอาจจะได้คนมาร่วมลงทนุ ก็เปน็ ไปได้ ดงั นน้ั จึงขอใหท้ ุกคนเช่อื วา่ “ทกุ ปัญหามที างออก
เสมอ” แต่จะต่างกนั ตรงที่ความยากงา่ ย เร็วหรอื ชา้ เท่านน้ั

2.9 กา้ หนดแผนกลยุทธ์
เมอ่ื เราได้เลือกทางเลือกเชงิ กลยทุ ธใ์ นดา้ นตา่ งๆไปแลว้ เชน่ เราจะหาเงินโดยการเก็บออมด้วยตวั เอง เราจะแสดงหาความรู้เพ่มิ เติมโดยการศึกษาต่อปริญญาโทการ

บริหารธรุ กิจ เราจะหาประสบการณโ์ ดยเข้าไปท้างานกับธุรกจิ ครอบครัวทเ่ี ป็นมอื อาชีพ เราจะอา่ นหนงั สือด้านการท้าธรุ กจิ แบบมอื อาชีพใหม้ ากข้นึ เราต้องน้าเอากลยทุ ธ์ใน
แต่ละด้านมาจัดทา้ เป็นแผนเชิงกลยุทธ์วา่ ในแต่ละชว่ งเวลาของชีวติ เราจะท้าอะไรก่อนหลัง อะไรทที่ ้าควบคกู่ นั ไปได้ พดู งา่ ยๆก็คือ เอาสงิ่ ตา่ งๆ มาจัดท้าตารางการด้าเนินชวี ติ
ให้ชดั เจนมากขนึ้ วา่ เราจะทา้ อะไร เม่ือไหร่ อย่างไรน่ันเอง สงิ่ สา้ คญั อย่างหนึง่ ทไ่ี ม่ควรมองขา้ มในเร่อื งของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของชวี ติ คอื ต้องมีแผนสา้ รอง

(Contingency Plan) กรณีแผนท่ีวางไว้ไม่เปน็ ตามท่เี รา
ต้องการ

2.10 นา้ ไปปฏิบัติตามวงจร PDCA
เมื่อเราก้าหนดแผนงานชีวติ ไวเ้ รยี บร้อยแล้ว (Plan) จึงจะลงมอื นา้ ไปปฏบิ ตั จิ ริง (Do) จะตอ้ งมีการตรวจสอบเปน็ ระยะๆวา่ สิ่งที่ไดล้ งมือทา้ ไปน้นั เป็นไปตามแผน

และเปา้ หมายหรอื ไม่ (Check) หลังจากน้นั ถ้าไม่เป็นไปตามเปา้ หมาย จะตอ้ งมกี ารแกไ้ ขปรบั ปรุงให้สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย (Action) ซ่ึงเราจะต้องค้านงึ ถงึ วงจรนอ้ี ยู่
ตลอดเวลา วงจร PDCA นีใ้ ชไ้ ด้ทั้งวงจรของแผนใหญ่ของชวี ิตและแผนสนบั สนุนยอ่ ยๆ เชน่ แผนด้านการเงินกต็ อ้ งใช้ PDCA แผนดา้ นการหาความรู้เพิ่มเติมกต็ อ้ งใช้
วงจร PDCA เช่นเดยี วกนั

หนว่ ยที่ 2 ความรู้เกยี่ วกับธุรกิจ

1)ความหมายและความสาคญั ของธุรกิจ

ภาพประกอบท่ี 2.1 ธุรกิจมีความสาคัญ ทาให้ประชาชนดารงชวี ิตได้ดีข้ึน
ธุรกจิ (Business) หมายถึง กระบวนการของกจิ การทางเศรษฐกิจที่สัมพันธ์เป็นระบบและอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในดา้ นการผลติ การซอ้ื ขาย แลกเปลี่ยนเก่ยี วกับสนิ ค้าและบรกิ าร
โดยมจี ดุ มุ่งหมายที่จะไดก้ าไรหรอื ผลตอบแทนจากกจิ การนัน้

ดงั นั้น อาจกลา่ วได้ว่า กิจกรรมใดทีม่ ีจดุ มุง่ หมายเพ่อื ให้ไดก้ าไร (Profit) ถอื วา่ เปน็ ธรุ กิจ เชน่ บรษิ ัท ห้างร้าน ตลอดจนรฐั เชน่ การป้องกนั ประเทศ การสรา้ งถนนหนทาง
โรงเรยี น โรงพยาบาล และอืน่ ๆ ไม่ถอื ว่าเป็นธรุ กจิ เพราะมไิ ดม้ จี ุดม่งุ หมายดา้ นกาไร แต่เปน็ การให้บริการแกป่ ระชาชนโดยมีจดุ มงุ่ หมายให้ประชาชนมคี วามเป็นอย่ทู ด่ี ี
ขึ้น ความสาคัญของธุรกจิ พอสรปุ ได้ ดังน้ี

1. ธรุ กจิ ช่วยใหเ้ ศรษฐกิจของชาตมิ ีความเจริญก้าวหน้า

2. ธุรกจิ ทาใหป้ ระชาชนมมี าตรฐานการดารงชวี ิตทดี่ ีข้ึน

3. ธรุ กจิ ทาให้รัฐมรี ายไดเ้ พ่ิมข้นึ

4. ธุรกิจช่วยแก้ปญั หาทางสังคม

5. ธรุ กจิ ทาใหเ้ กิดความเจริญก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี

2)บทบาทหนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ

ภาพประกอบท่ี 2.2 หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบของ
ผู้ประกอบการ

ผปู้ ระกอบการทกุ คนต้องการกาไร แต่การทาผลกาไร แตก่ ารทาผลกาไรอยา่ งเดียวโดยสร้างมูลค่าเพิ่มใหก้ บั ผู้ถอื ห่นุ ยังไมเ่ พียงพอ เพราะการทธ่ี ุรกจิ เจรญิ เตบิ โตอยา่ งยง่ั ยืน
จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมดว้ ย ในปัจจุบันนี้ เปน็ ท่ปี ระจกั ษ์แลว้ ว่าธุรกจิ ใดท่มี ุง่ แตส่ รา้ งกาไรโดยไมค่ านงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สงั คมสว่ นใหญธ่ ุรกจิ น้ัน ๆ กค็ งอย่ไู ม่ได้ นอกจาก
ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมแล้ว ธรุ กิจต้องอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อมให้คงอย่สู ภาพเดมิ จนร่นุ หลาน ธรุ กจิ ตอ้ งบรหิ ารจดั การผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มใหอ้ ยู่ในเกณฑห์ รือระดบั ต่า และ
ไมเ่ ป็นอนั ตราย ซ่ึงมีผู้ประกอบการจานวนมากทพ่ี ยายามบีบต้นทุนหรอื ลดต้นทนุ โดยไมม่ ีการลงทุนในการติดตงั้ ระบบ หรอื เครอ่ื งจักรท่ไี ม่เปน็ พษิ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม
เพราะฉะน้นั ส่งิ เหลา่ นีข้ น้ึ อยกู่ บั จิตสานกึ จรยิ ธรรม ของผปู้ ระกอบการวา่ มมี าก หรอื เอาใจใส่ชว่ ยกนั อนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มหรอื ไม่ บริษัทต้องคานงึ ถงึ การรักษาขนบธรรมเนยี ม
จารตี ประเพณีอันดงี าม ไมใ่ ห้การดาเนินธุรกจิ ของตัวเองไปกระทบกับสง่ิ เหลา่ น้ี เพราะถา้ เป็นอยา่ งนกี้ จ็ ะเกิดผลเสีย ทาใหบ้ กพรอ่ งต่อหน้าทใ่ี นฐานะนิติบคุ คลที่ดีของประเทศ
วัฒนธรรม ความเชอ่ื และศาสนา กจ็ ะเปน็ สง่ิ หนึง่ ทผ่ี ูป้ ระกอบการต้องระมดั ระวงั เป็นอยา่ งมาก

ผปู้ ระกอบการต้องระมดั ระวงั ไมใ่ ช้ส่งิ แปลกปลอมแบบใหม่ทีเ่ ป็นพิษต่อเยาวชน ต้องสรา้ งคา่ นยิ มที่ถกู ตอ้ งต้งั แต่ด้งั เดิม ตอ้ งไมใ่ หธ้ ุรกิจมากระทบ หรือแปรเปล่ยี นวิถชี ีวิต
ของคนในประเทศ ซึง่ เป็นวถิ ีชีวติ ดี สงบสุขอยูแ่ ลว้ โดยมงุ่ แตธ่ ุรกิจของตวั เอง ซ่ึงไม่ถกู ตอ้ ง ขัดตอ่ หลกั จรยิ ธรรม ในแง่ของบริษทั จาเป็นตอ้ งดารงตนเป็นพลเมอื งดี ซ่ึง
หมายถงึ ว่าแม้บรษิ ัทจะเปน็ นิตบิ ุคคลที่ไม่มีชวี ติ จิตใจ แต่ทางคณะกรรมการผบู้ ริหารเปน็ มนุษย์ มีความรูส้ กึ มีจติ ใจ เพราะฉะนั้นถึงแมบ้ รษิ ัทจะเปน็ นติ บิ ุคคล แต่ในทาง
ปฏิบัตถิ า้ บริษทั ทาอะไรออกมา ซึง่ ตอ้ งทาใหถ้ กู กฎหมาย ไม่มีการลกั ขโมย หรอื ติดสินบนหรอื ไปสมยอมการประมลู ทข่ี ดั ตอ่ ศีลธรรมเพราะถ้าทาไปกอ่ ให้เกิดการทุจริต
คอร์รปั ชัน่ การฉอ้ ราษฎร์บังหลวง การตบมอื ขา้ งเดียวไมด่ งั ในขณะเดียว ส่ิงทส่ี าคัญที่สุดคือ ผู้ประกอบการทกุ คนต้องตระหนกั ถึงหน้าท่ี ความรับผดิ ชอบ ในการท่ีจะต้องเสีย
ภาษีให้ถูกตอ้ ง การจงใจหลีกเลี่ยงภาษีถอื เปน็ ผลกระทบต่อสงั คมอยา่ งร้ายแรง ถือว่าเปน็ ความบกพร่องท่สี ง่ ผลเสยี ต่อการเปน็ พลเมืองทดี่ ีของประเทศ นอกจากนีโ้ ทษที่
ตามมาคือ การเสยี คา่ ปรับ ทาใหช้ ่อื เสยี งและจิตภาพของบริษัทเสยี ไปดว้ ย

หน้าท่ีของธรุ กจิ การประกอบธุรกิจนนั้ ผู้ประกอบการจะต้องทาหนา้ ที่ต่าง ๆ เพอ่ื ให้ธุรกจิ ดาเนนิ ไปได้ดว้ ยดีหน้าทีต่ ่าง ๆ ของธรุ กิจ มีดังนี้

1.การผลิตสินค้า ธุรกจิ อาจเลอื กผลิตสนิ คา้ หลายชนดิ เชน่ ผู้ผลิตสนิ คา้ สาเรจ็ รปู

2.การให้บรกิ าร เป็นธรุ กจิ ท่ีอานวยความสะดวกใหแ้ ก่ธุรกิจและผู้บรโิ ภค

3. การจาแนกแจกจ่ายสนิ คา้ ธุรกิจดาเนินการเกย่ี วกบั ซอื้ ขาย

4. การจดั ซ้ือ ธรุ กิจจาเปน็ ตอ้ งมกี ารจัดซอื้ วัตถุดบิ เพอ่ื การดาเนินการ

5. การเกบ็ รกั ษาสนิ ค้า ธุรกจิ จะต้องเกบ็ รกั ษาวตั ถดุ บิ และสนิ คา้ สาเรจ็ รูปเพ่อื บรกิ ารให้แก่ลกู ค้า

6. การจัดจาหนา่ ย ธุรกจิ มีหน้าที่จดั แสดงสนิ คา้ เพื่องา่ ยตอ่ การซื้อ

7. การจัดการทางการเงนิ ธรุ กจิ มีหน้าที่จดั หาเงนิ ทุนท่มี จี านวนจากดั ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด

8. การจัดทาบญั ชี ธรุ กจิ มีหน้าที่จดั ทาบัญชีเพื่อเสียภาษี

9. การทาการโฆษณาสนิ คา้ ธรุ กิจมหี น้าท่ีโฆษณาและประชาสมั พนั ธ์ให้ผู้บรโิ ภคไดร้ ูจ้ ักสนิ คา้ และเกดิ การตัดสินใจซ้อื ในท่ีสุด

ความรับผิดชอบของผปู้ ระกอบการ
หลักยดึ เหนี่ยวที่ผู้ประกอบการตอ้ งทาในสิง่ ทถ่ี กู ต้อง ตรงไปตรงมา มคี วามซ่ือสตั ย์ ทกุ อยา่ งต้องมีความโปร่งใสและทาถกู ต้องตามกฎหมาย สามารถตรวจสอบได้ มี
แหล่งอา้ งอิง เพราะฉะนนั้ การที่แสดงวา่ เรามคี ุณธรรมผู้ประกอบต้องมหี ลกั การ 2 ขอ้ ด้วยกนั คอื
1. ด้านบริหารจัดการทุกรูปแบบ เชน่ บัญชี การผลิต การขาย ตอ้ งอยู่บนความถูกต้อง มีความโปร่งใสและมีคณุ ธรรม อกี อย่างหน่ึง คือ ระบบการเงนิ ถา้ บริษทั มีการ
ลงทะเบียนในตลาดหลักทรพั ย์ ซึ่งจาเปน็ ต้องเสนอรายงานการเงนิ ท่ปี ัจจุบนั มีรปู แบบท่สี มบรู ณ์ ถกู ตอ้ งเพ่ือประโยชน์กับนักลงทนุ หรอื ไม่ ถ้าหากตวั เลขท่บี อกไปไม่ถูกตอ้ งก็
จะเกิดปญั หาผปู้ ระกอบการจงึ ควรตระหนกั ให้ดี

ภาพประกอบที่ 2.3 การบรหิ ารจัดการอย่างเสมอภาคและเปน็ ธรรมของผู้ประกอบการ

2. ผู้ประกอบการและพนกั งานทด่ี จี าเปน็ ตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งเสมอภาคและเปน็ ธรรมทุกกรณี ถ้ากล่าวถงึ ผู้ถอื หนุ้ ทง้ั รายใหญ่ รายย่อย อยา่ งเทา่ เทียมและเสมอภาค
เหมอื นกนั โดเฉพาะกบั ผ้ถู ือหุ้นรายยอ่ ยทมี่ ักไมม่ สี ิทธิ มเี สียง หรือไมม่ ีตัวแทนเขา้ ไปปกป้องสิทธิของตัวเอง ในฐานะผ้บู ริหาร ตอ้ งมคี วามยตุ ธิ รรมธุรกิจมีฐานะเปน็ หน่วยหนงึ่
ของสงั คม จาเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อบุคคลหรอื หนว่ ยที่เกี่ยวขอ้ ง
ดังตอ่ ไปน้ี

1. ความรับผิดชอบตอ่ เจ้าของกิจการ ดาเนินธุรกจิ ใหเ้ กดิ กาไรสงู สุด

2. ความรบั ผิดชอบตอ่ ลกู ค้า ให้บรกิ ารลูกคา้ ให้ดีที่สุด

3. ความรบั ผิดชอบท่ตี อ้ งปฏบิ ัติตามระเบียบของรัฐ

4. ความรับผิดชอบตอ่ ลกู จ้างในดา้ นสวัสดิการของลกู จา้ ง

5. ความรับผิดชอบต่อสงั คม โดยให้สังคมได้รบั ประโยชนต์ ามสมควร

3)ประเภทของการประกอบธรุ กจิ

การแบง่ ประเภทของธุรกิจแบง่ ได้หลายลักษณะตามความคดิ เห็นของนกั ธรุ กจิ แต่ละคน เช่น แบ่งตามลกั ษณะการดาเนนิ งาน แบ่งตามลกั ษณะความเป็นเจา้ ของ แบง่ ตาม
ลักษณะของการประกอบการ หรอื แบ่งตามลกั ษณะการจัดจาหน่าย ฯลฯ ซึ่งแตล่ ะประเภทต่างกม็ ีแนวความคิดที่แตกตา่ งกนั ออกไป ดังน้ี

การแบ่งประเภทของธรุ กิจตามลกั ษณะการดาเนินงาน

1. การพาณชิ ย์ (Commerce) คือ การซื้อขายแลกเปลีย่ น ได้แก่ ค้าปลกี ค้าสง่ ตัวแทนจาหน่าย

2. การอตุ สาหกรรม (Industry) หมายถงึ การดาเนนิ การดา้ นการผลติ สนิ ค้าออกจาหนา่ ย

การผลิต (Production) หมายถึง การนาเอาส่ิงตา่ ง ๆ มาประกอบกันข้ึนมาใหม่ ซ่ึงรวมถึงการแกไ้ ข ดดั แปลงและแปรสภาพของวตั ถดุ บิ มาเปน็ สินค้าสาเรจ็ รปู สินค้าท่ี
ผลิตออกมาสามารถแบ่งตามตามลกั ษณะการใช้สินค้าของผู้บริโภคได้ 2 ประเภทคือ

1. สนิ ค้าขน้ั สุดทา้ ย (Consumer’ Goods) เปน็ สินคา้ ทใ่ี ชส้ าหรับผู้บรโิ ภคคนสดุ ท้าย ใชส้ ินค้าเพอ่ื ตอบสนองความพอใจของตนเองเป็นคนสดุ ทา้ ย เช่น การซ้ือเตาแกส๊
มามาใช้ตม้ อาหารรบั ประทาน
เอง 2. สนิ ค้า
อุตสาหกรรม (Industrial Goods)เปน็ สนิ ค้าท่ีตอ้ งนาไปเป็นวตั ถุดบิ ในการผลติ สนิ คา้ สาเรจ็ รูปอีกต่อหนงึ่ เชน่ การนาออ้ ยเขา้ โรงงานน้าตาล

อุตสาหกรรม (Industry) สามารถแบ่งไดต้ ามลักษณะของสินค้าและวัตถดุ ิบ ดังนี้

ภาพประกอบที่ 2.4 การประกอบชน้ิ ส่วนรถยนต์เปน็ ข้นั ตอนหน่งึ ในการทาอุตสาหกรรม
1) Genetic Industry คือ การประกอบธุรกิจทางดา้ นเกษตรกรรมและการกสิกรรม เชน่ เล้ียงววั พนั ธุ์ ทาสวนผลไม้ ฯลฯ
2) Extractive Industry หมายถงึ ธุรกจิ ท่ีนาทรพั ยากรธรรมชาติมาใช้เป็นวตั ถดุ ิบในการผลิตสินคา้ เช่น การขุดเจาะนา้ มัน การทาเหมอื งแร่ การประมง ฯลฯ
3) Manufacturing Industryหมายถงึ ธุรกิจทีจ่ ะนาเอาวัตถุดิบ (Raw Material) ตา่ ง ๆ มาประกอบกนั ขึ้นเปน็ สินคา้ สาเรจ็ รูป

ภาพประกอบท่ี 2.5 ธุรกิจด้านการก่อสรา้ งอาคาร บา้ นเรอื น
4) Construction Industry หมายถึง ธุรกจิ ดาเนินการดา้ นการกอ่ สร้าง อาคาร บ้านเรือน ถนน ฯลฯ

นอกจากน้ีสามารถแบง่ ตามระบบการผลิตทัง้ อตุ สาหกรรมไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
1) Analytical Industry หมายถงึ อุตสาหกรรมกลน่ั นา้ มันเปน็ ต้น

2) Synthetic Industry หมายถึง อุตสาหกรรมทน่ี าเอาวัตถุดิบหลาย ๆ ชนดิ มาผลิตสินคา้ หลาย ๆ ประเภท เชน่ อุตสาหกรรมการตัดเย็บเสอื้ ผ้า เป็นตน้
3) การบริการ (Services) หมายถงึ การดาเนินการใหบ้ ริการแกผ่ ซู้ ้อื เป็นสินคา้ ท่ีมมี ลู ค่าทางเศรษฐกจิ ไมม่ ีตวั ตนและไม่สามารถคนื ได้ ไดแ้ ก่ โรงภาพยนตร์ การ
ทอ่ งเท่ียว โรงแรม ฯลฯ

ภาพประกอบท่ี 2.6 การโรงแรม ธุรกจิ ทจ่ี ัดอยภู่ ายใต้การบรกิ าร

4. คุณสมบตั ิของผ้ปู ระกอบการทีด่ ี

หากคดิ มธี ุรกจิ เปน็ ของตนเอง หัวใจสาคญั ท่ีควรพจิ ารณากอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก คือ คณุ สมบตั ิส่วนตัว เพราะจะชว่ ยใหก้ ารเรม่ิ ตน้ ไม่ไดแ้ ค่เพียงหลักการ แตเ่ จริญเติบโตได้อย่าง

แทจ้ ริง พิจารณาว่าเราเป็นคนแบบใด การมธี ุรกจิ เป็นของตนเองสกั หนึง่ อย่าง เปน็ ความใฝฝ่ นั ของหลาย ๆ คนท่ีต้องการเปน็ เจา้ นายตนเอง แต่มักจะมคี นจานวนไม่นอ้ ยท่กี า้ ว

พลาดอยา่ งน่าเสียดายเพราะมวั แตม่ ององค์ประกอบภายนอกมากกวา่ ทีจ่ ะใส่ใจองค์ประกอบภายในที่อยู่ใกล้ตวั มากที่สุด สงิ่ น้นั กค็ ือ”คุณสมบตั สิ ่วนตัว”ต้องเข้าใจวา่

คณุ สมบตั สิ ว่ นผู้ทตี่ อ้ งการจะเรม่ิ ทาธุรกจิ นั้นเปน็ สง่ิ สาคญั ทจ่ี ะสามารถนาไปปรับใช้ตอ่ ยอดในการทาธุรกิจได้ อีกท้งั ยังเป็นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จในการทาธุรกิจของบุคคล

น้นั ไดใ้ นระดบั ทค่ี อ่ นข้างสงู อีกด้วย ซง่ึ คุณสมบัตเิ บอ้ื งต้นทจ่ี าเปน็ ต้องมีของผทู้ ่ีตอ้ งการจะมธี ุรกิจเป็นของตนเองมีดังตอ่ ไปน้ี

1. รจู้ กั ตนเอง ผทู้ ่ตี อ้ งการจะมีธรุ กจิ ท่ปี ระสบความสาเร็จเป็นของตนเองในอนาคตคุณสมบัติสิง่ แรกทีต่ ้องมีคือการ การร้จู ักตนเอง โดยรวู้ า่ ส่งิ ใดคือส่งิ ท่ตี นเองต้องการ
ส่งิ ใดใช่ สิ่งใดไม่ใช่ สารวจไปในความต้องการในจิตใจของตนเองว่าลึก ๆ แล้วอะไรคอื ความต้องการพ้นื ฐานทีก่ าลังมองหาอยอู่ ยา่ งแท้จริง นอกจากนี้แลว้ การร้จู ักตนเองยงั

หมายถงึ การเข้าใจในลกั ษณะบคุ ลิกภาพของตนเองวา่ มีบุคลิกภาพนสิ ัยเปน็ อยา่ งไร เชน่ ผูป้ ระกอบการบางคนต้องการทาธุรกิจของตนเองเกย่ี วกบั บรษิ ทั โฆษณา แต่ต้อง
ประสบความลม้ เหลวเพราะอปุ นสิ ัยใจคอท่ีเปน็ คนอารมณ์ร้อนโกรธงา่ ยทไี่ ม่เหมาะสมกบั การทาธุรกิจโฆษณาทตี่ ้องค่อยเอาใจลกู ค้านนั่ เอง

2. ความรู้ คือคุณสมบัติพนื้ ฐานท่ีสาคัญท่ีสดุ อันเป็นสิ่งทผ่ี ู้คดิ จะสรา้ งธุรกจิ เป็นของคนเองจาเปน็ ตอ้ งมี เพราะความรเู้ ปรียบเสมอื นใบเบกิ ทางในการริเร่ิมสรา้ งธุรกิจให้
ประสบความสาเร็จ โดยความรู้ท่ีสาคัญ มีอยู่ดว้ ยกนั 2 ส่วนคอื ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับการทาธุรกจิ และความร้เู ฉพาะทางเกย่ี วกบั ธุรกจิ ท่จี ะทา ซึง่ ความรู้ที่ดคี ือสิ่งที่สามารถ
นามาปรับใช้ในการทาธรุ กิจไดอ้ ย่างเหมาะสมและมีประโยชน์ นอกจากนยี้ งั เป็นสิ่งท่ีสามารถแสวงหาได้ตลอดเวลา จึงไม่เปน็ ปญั หาสาหรับผทู้ ่ีต้องการจะเร่ิมประกอบธรุ กิจ
โดยทไี่ ม่ได้มีความรแู้ ละประสบการณใ์ นบางเร่ืองมากอ่ น

ภาพประกอบที่ 2.7 คณุ สมบตั ิของผูป้ ระกอบการ
3. ความคดิ สรา้ งสรรค์ ส่งิ ต่าง ๆ บนโลกนสี้ ่วนใหญ่ลว้ นมผี ู้ทดลองทามาหมดแล้ว ดงั นั้น ผทู้ ี่มีความคิดสร้างสรรคจ์ ึงคอ่ นข้างจะเปน็ ผไู้ ดเ้ ปรียบในการเรม่ิ สรา้ งธรุ กจิ ขน้ึ
ใหม่ เพราะความคิดสร้างสรรค์สามารถทจ่ี ะนามาใชเ้ ป็นแนวทางในการทาธุรกิจให้มีความนา่ สนใจอีกทงั้ ยังชว่ ยสรา้ งกระแสดึงดูดกล่มุ ลกู คา้ ใหเ้ ขา้ มาทดลองซ้อื ผลิตภณั ฑ์ท้งั
สินคา้ และบรกิ ารของผู้ประกอบมากขน้ึ โดยทอี่ าจจะไม่ต้องเสียเงนิ ลงทนุ มากเทา่ กบั ออกสนิ ค้าหรอื บรกิ ารแบบเดมิ ๆ ที่มอี ย่ใู นทอ้ งตลาดปัจจบุ นั อยู่แล้วน่ันเอง ดงั นน้ั ใครก็
ตามทม่ี ีจะนามาพฒั นาต่อยอดในเชิงธรุ กิจและนี่คือคณุ สมบตั เิ บือ้ งต้นอีกหน่ึงขอ้ ที่พึงมีก่อนจะริเรมิ่ เป็นผปู้ ระกอบการ
4. ความกลา้ และความเปน็ ผ้นู า ความกล้าทาอะไรแปลกใหมก่ ็อาจนามาซ่ึงโอกาสใหม่ ๆ เชน่ เดียวกันความกล้าในที่นห้ี มายถึง ความกล้าทาอะไรแปลกใหม่ก็อาจนามา
ซง่ึ ใหม่ ๆ เชน่ เดยี วกนั ความกล้าหมายถึง ความกลา้ ในเรือ่ งของการตัดสินใจลงมอื ทาในเร่อื งตา่ ง ๆ เพราะในโลกของธุรกิจที่มกี ารแขง่ ขนั กันสูงและไมม่ ีใครยอมใคร ผ้ทู ่มี ี
ความกล้าเทา่ น้นั จึงจะเปน็ ผู้ที่สามารถอยรู่ อดได้ ท้ังเรือ่ งของความกล้าในการตัดสนิ ใจทาธุรกจิ ที่ไม่เคยมใี ครทามากอ่ น อาทิ ความกล้าในการแจกซิมการ์ดโทรศัพทม์ อื ถือฟรี

ของบรษิ ทั ผูใ้ ห้บรกิ ารรายหนึง่ จนเป็นทม่ี าปรากฏการณ์และสร้างลูกค้าไดเ้ ปน็ จานวนมาก เปน็ ต้น นอกจากน้คี วามเปน็ ผู้นาก็มีส่วนสาคัญเชน่ กนั เพราะจะชว่ ยสรา้ งความ
ศรัทธาให้เกิดขึ้นตอ่ ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชา ซึ่งจะมีผลต่อการปกครองภายในบรษิ ทั ให้มีความน่าเชอื่ ถอื และจะพฒั นาไปเป็นประโยชนโ์ ดยรวมต่อการทาธรุ กจิ ในทส่ี ุด

5. รกั ในส่งิ ท่ีทา ธุรกจิ ใด ๆ ก็ตามจะสามารถประสบความสาเรจ็ ได้ ส่วนหนง่ึ ตอ้ งจากผูป้ ระกอบการมีใจรกั ท่ีจะทาในสิง่ ดังกลา่ วเสียก่อน ซ่ึงความรักในสงิ่ ทจี่ ะทานจี้ ะ
ช่วยให้ผปู้ ระกอบการมีความพยายามในการศึกษาหาความรู้ และนามาใช้พัฒนาสร้างสรรคธ์ รุ กิจของตนเองอย่างประณีตให้ออกมาดีท่ีสดุ โดยปราศจากความเหน็ดเหนอ่ื ย
และเบ่อื หน่ายซ่งึ เป็นอุปสรรคสาคญั ท่ที าใหธ้ รุ กิจไมเ่ จริญก้าวหนา้ นน่ั เอง

6. ความพยายาม อดทน ธรุ กิจจานวนมากทปี่ ระสบความลม้ เหลวส่วนใหญก่ ม็ สี าเหตมุ าจากการขาดซึ่งความพยายามและอดทนของผูป้ ระกอบการนนั่ เอง ซึ่งถือเปน็ ส่ิง
ทจ่ี าเปน็ มากเพราะในหลายครั้งหลากโอกาสทีก่ ารทาธุรกจิ จะต้องอาศัยความพยายามอดทนเปน็ กรณีพเิ ศษ อาทิเช่น การขายงานใหก้ บั ลกู ค้า การขายสินคา้ และบรกิ ารให้กับ
ผู้บรโิ ภค สง่ิ ต่าง ๆ เหลา่ น้ีถา้ ปราศจากซึ่งความอดทนแลว้ ก็คงเปน็ เรื่องยากท่จี ะประสบความสาเรจ็

7. ความประหยดั และมัธยสั ถ์ เน่อื งจากการทาธุรกิจเปน็ เร่ืองท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการใช้เงนิ เปน็ สาระสาคัญ ดงั น้นั ผปู้ ระกอบการทีค่ ดิ จะรเิ ร่ิมทาธุรกจิ จะตอ้ งมีคุณสมบัติเปน็
ผ้ทู ่ีมีความประหยัดและมัธยสั ถอ์ ยูบ่ ้างไมม่ ากก็น้อยหรือทเี่ รียกกนั ง่าย ๆ ว่าใชเ้ งนิ เป็นนน่ั เองเพราะสิ่งนีจ้ ะชว่ ยใหส้ ามารถควบคุมและจัดการใช้จา่ ยจัดการการใชจ้ ่ายเงนิ
เฉพาะในสิ่งท่ีจาเป็นเท่านัน้ ซึ่งจะเป็นการสร้างรูปแบบในการบริหารเงนิ ในบรษิ ทั และยังเป็นตัวอยา่ งท่ดี ใี ห้กับลกุ นอ้ งผู้ใต้บังคับบัญชาในการเบิกใชเ้ งินกองกลางของทาง
บรษิ ทั ด้วย

8. ไหวพริบ เพราะธุรกจิ คือสิง่ ท่ีมกี ารแขง่ ขันกับอยูต่ ลอดเวลา คุณสมบัติในเรือ่ งของไหวพริบและปฏภิ าณจงึ เปน็ ส่งิ ทส่ี าคญั อยา่ งหน่ึงท่ผี ปู้ ระกอบการจาเป็นที่จะตอ้ งมี
หากคิดจะทาธุรกจิ ผู้ทีม่ ไี หวพรบิ เปน็ เลศิ จะเป็นผู้ท่ีช่างสังเกต รวู้ ่าเวลาใดคอื โอกาสท่จี ะเพลี่ยงพลา้ ต่อค่ตู ่อสู้และควรถอยหรอื หาทางออกให้กบั บรษิ ัทของตนเองได้ ซง่ึ
ผูป้ ระกอบการที่ดีไหวพริบทีจ่ ะช่วยใหธ้ ุรกิจสามารถอยูร่ อดปลอดภัยต่อไปได้อย่างตลอดรอดฝัง่

9. เงินทนุ เร่อื งของเงนิ ทนุ กเ็ ปน็ ส่ิงทส่ี าคัญมากที่ผ้ปู ระกอบการพึงจะต้องมี ซึง่ ถือเป็น 1 ใน 10 ของคณุ สมบัติท่ีสาคญั เพราะธรุ กิจใดหากไรซ้ ง่ึ เงินทนุ แล้วธุรกิจนน้ั ก็
ยากท่ีจะเกดิ ข้นึ ได้ ซึง่ ความจริงแล้วผปู้ ระกอบการธุรกจิ ไมจ่ าเป็นทีจ่ ะต้องมีเงนิ ทุนครบตามจานวนมลู คา่ ธุรกจิ ที่ตอ้ งการที่จะสรา้ งก็ได้ ขอเพียงแตใ่ ห้มีเงนิ ทนุ อย่บู ้างเท่า
น้ันเอง ซง่ึ จานวนเงนิ ทข่ี าดอยู่สามารถไปขอก้ยู ืมจากแหล่งเงินกู้ตามธนาคารต่าง ๆ ก็ได้ในภายหลงั ผปู้ ระกอบการท่ีมีเงนิ ทุนจะมคี วามไดเ้ ปรียบในบางเร่อื งมากกว่าผูท้ ไี่ ม่มี

เงนิ ทุน อยา่ งนอ้ ยก็ในเรื่องของความคิดและปัจจยั ความเสี่ยงในการกู้ยมื เงินท่ธี นาคารจะใชด้ ูประกอบการพิจารณาระหวา่ งผทู้ ่มี ีเงนิ ทุนอย่บู า้ งกบั ผู้ที่ไมม่ ีเงินท่นุ เลยซ่งึ แน่นอน
ว่าธนาคารยอ่ มต้องพิจารณาปลอ่ ยก้ใู ห้กบั ฝ่ายแรกมากกว่าฝ่ายหลังเพราะมคี วามเสีย่ งต่างกันค่อนข้างมากน่ันเอง

10. การสนบั สนุนจากบคุ คลรอบขา้ ง สิ่งน้คี อื ส่งิ สดุ ท้ายของคุณสมบัติเบื้องต้นที่ผู้ประกอบการพึงตอ้ งมีสาหรับการเร่ิมต้นทาธรุ กิจ เพราะการมีผสู้ นับสนนุ โดยเฉพาะ
จากบคุ คลรอบข้างอย่างน้อยจะเป็นการสรา้ งกงั ใจในการทางานใหเ้ กิดข้นึ นอกจากน้ียงั อาจได้ความชว่ ยเหลอื ในเรื่องของเงินทุนเม่ือเกดิ ภาวะขาดสภาพคล่อง หรอื ความ
ชว่ ยเหลือในส่วนของคาแนะนาให้คาปรึกษาเมื่อเกิดปญั หา และยงั อาจจะชว่ ยฐานลูกค้ากลุม่ ใหม่ ๆ ผ่านการแนะนาจากบุคคลท่ใี ห้การสนับสนุนกเ็ ปน็ ได้

หนว่ ยที่ 3 องศก์ รและการบริหารงานภายในองศ์กร

1. ความหมายของการจัดองค์กร
การจดั องค์กรเป็นกิจกรรมท่ที าเกย่ี วกับการจัดโครงสร้างขององคก์ ร โดยพิจารณาว่า การที่จะทาใหไ้ ดบ้ รรลุตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไวน้ น้ั ต้องมีงานอะไรบา้ ง และงาน

แตล่ ะอยา่ งจะสามารถจัดแบ่งกลมุ่ งานไดอ้ ยา่ งไร มีใครบา้ งเปน็ ผู้รับผิดชอบในแตล่ ะสว่ นงานนั้นและมกี ารรายงานบงั คับบัญชาตามลาดับขัน้ อยา่ งไรใครเป็นผมู้ ีอานาจในการ
ตดั สนิ ใจ มีนกั วชิ าการได้ใหค้ วามหมายขององค์กรไว้ ดังน้ี

เอ็ดวิน ฟลิปโป (Edwin B. Flippo) ได้ให้ความหมายของการจัดองคไ์ ว้วา่ "การจัดองคก์ ร หมายถงึ การจดั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่วนต่าง ๆ คือ ตัวบคุ คลและหนา้ ทก่ี าร
งาน เพือ่ รวมกนั เขา้ เป็นหน่วยงานที่มปี ระสทิ ธิภาพ สามารถทางานบรรลเุ ปา้ หมายได"้ (Edwin B. Flippo, 1970: 129)

มูนีย์ และไรลยี ์ (Moonney and Reiley) ไดก้ ล่าวถงึ การจัดองคก์ รไว้วา่ "องคก์ ร หมายถงึ ความสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์เพื่อทางานใหส้ าเร็จรว่ มกนั การจัดองคก์ รจึง
เปน็ การจัดหน้าทกี่ ารงานให้ประสานสัมพนั ธ์กัน" (James D. Mooney and Alan C. Reiley, 1939:1-4)

เซอรโ์ ต (Samuel C.Certo) กลา่ วไวว้ า่ "การจัดองคก์ ร (Organizing) เปน็ กระบวนการจดั สรรการใช้ทรพั ยากรภายในระบบการจดั การอย่างเปน็ ลาดบั การใช้
ทรัพยากรอย่างเปน็ ลาดับนั้น เนน้ กรบรรลเุ ป้าหมายของระบบการจดั การ ชว่ ยให้ผูบ้ ริหารมกี ารกาหนดวถั ตุประสงค์ท่ชี ดั เจนและการจดั สรรทรัพยากรเพ่ือให้ไดม้ าซึ่ง
เป้าหมายทต่ี ั้งไว้ สง่ิ สาคญั ที่สดุ ในการจัดองคก์ ร คือ การกาหนดกิจกรรมของบุคลากรแต่ละคนในองค์กรร่วมกับการกาหนดความพยายามทดี่ ีทส่ี ุดในการทากิจกรรมเพ่อื ให้
ได้มาซ่งึ ประสทิ ธภิ าพผลตามวตั ถุประสงค์ท่ีองคก์ รได้ตง้ั ไว้ ส่วนคาว่าองค์กร (Organization) เปน็ ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้จากกระบวนการจัดองคก์ ร" (Samuel C.Certo, แปลโดย พชั นี
นนทศกั ด์ิ และคณะ,2552: 141)

สมคดิ บางโม ให้ความเห็นไวว้ ่า "การจัดองคก์ ร หมายถึง การจัดแบง่ องคก์ รออกเป็นหน่วยงานย่อย ๆ ให้ครอบคลุมภารกจิ และหน้าทข่ี ององค์กร พร้อมกาหนดอานาจ
หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบและความสัมพนั ธ์ระหว่างองค์กรยอ่ ยไว้ด้วย ท้ังนี้ เพือ่ อานวยความสะดวกในการบรหิ ารใหบ้ รรลุเป้าหมายขององคก์ ร" (สมคิด บางโม,2554: 113)
จากความหมายข้างตน้ สรุปไดว้ า่ "การจัดองคก์ ร (Organizing) คอื การตัดสินใจของผูบ้ ริหารในการจัดสรรทรัพยากรตา่ ง ๆ ขององค์กรออกเปน็ หมวดหมู่อย่างเป็นระเบยี บ
และมคี วามสมดุลกนั ในด้านภารกจิ อานาจ หน้าที่ความรบั ผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน เป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล"
2. ความสาคญั ของการจัดองค์กร (The lmportance of Organizing)

รปู ที่ 3.1 การจัดองศก์ รชว่ ยเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการดาเนินงาน
เป็นทน่ี ่าสังเกตวา่ ในปัจจบุ นั การดาเนินงานของภาคธรุ กิจมกั จะเปน็ องคก์ รขนาดใหญ่ หลายองค์กรพยายามที่จะขยายกจิ การให้ครบวงจร บ้างก็ขยายสาขาเพือ่ ให้

บคุ ลากรมีแนวทางท่ีชดั เจนในการปฏบิ ัติงาน ไมเ่ กดิ ความซา้ ซ้อนในการทางาน ผูบ้ ริหารเองกส็ ามารถเรียกหาข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจได้สะดวก ถูกต้องและ
รวดเร็ว การจัดองค์กรจงึ มีความสาคัญตอ่ ความสาคญั ขององคก์ รดงั นี้

การจดั องค์กรเปน็ สิง่ ท่ีชว่ ยสนบั สนนุ ความสาเร็จขององค์กร เน่อื งจากการจดั องคก์ รเปน็ งานทีผ่ ู้บริหารใช้เป็นเคร่ืองมอื ในการกาหนดว่าใครจะทาอะไร ใครจะอยู่
แผนกไหน ใครจะต้องรับผิดชอบและรายงานตอ่ ใครซง่ึ การจัดองค์กรเสมือนเป็นการกาหนดว่าจะทาอย่างไรเพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ององค์กร นอกจากน้กี ารจัดองคก์ รนนั้
ยงั รวมถงึ กลไกลการประสานงาน เน่อื งด้วยในองคก์ รหน่งึ ๆ จะต้องมีการแบ่งงานและประสานงานกันเพือ่ ใหง้ านสาเร็จลุลว่ ง เช่น การประสานงานระหว่างแผนกผลิตกบั

แผนกขาย ซึ่งอาจเปน็ ในกรณที ่ีแผนกผลิตตอ้ งตดิ ต่อขอข้อมูลกบั ฝ่ายขายก่อนว่าสนิ คา้ ท่ีผลติ ข้นึ มาน้นั การตอบรับจากลูกคา้ อยา่ งมาก ซ่ึงขอ้ มูลที่ไดม้ าทาให้แผนกผลติ
สามารถวางแผนได้วา่ ควรผลติ ในปริมาณเท่าใด

1. การจดั องค์กร ช่วยเพ่ิมประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงาน เนื่องจากองค์กรทกุ องคก์ รจะตอ้ งมีทง้ั ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลในการทางาน
จะขาดอย่างหน่ึงไมไ่ ด้ ซ่ึงประสทิ ธิภาพนนั้ จะกล่าวถึงในเร่อื งของใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เพอื่ ใหอ้ งคก์ รบรรลุเป้าหมายตามท่กี าหนดไว้ ซ่งึ บางครงั้ อาจไมบ่ รรลุวัตถุประสงค์
ขององคก์ รคือประสทิ ธผิ ล ซึ่งการทีจ่ ะเกดิ ประสทิ ธิผลไดน้ น้ั ไม่ไดม้ องในมมุ ของการใช้ทรพั ยากรหรอื คานึงถึงการใชท้ รัพยากรใหค้ มุ้ ค่า แต่เราจะเน้นไปที่จะทาอยา่ งไรให้

องคก์ รบรรลุวตั ถุประสงค์ตามทไ่ี ดต้ งั้ ไว้

2. การจัดองค์กร ช่วยลดการทางานท่ีซ้าซ้อนกนั
เนอื่ งจากการจัดองค์กรเป็นการเปน็ การกาหนดวา่ ในองคก์ รใดองคก์ รหนง่ึ ควรแบ่งออกเป็นกีแ่ ผนก เมอ่ื มกี ารแบง่ แผนกไดแ้ ลว้ ในขัน้ ตอนต่อไปจะ

เป็นเรื่องของการกาหนดอานาจที่หน้าและความรับผิดชอบ เชน่ ใครอยู่แผนกไหน หนา้ ที่อะไร ใครเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบหรือใครคืออยบู่ งั คับบัญชาในแผนกนน้ั ซึ่งผลดีก็คอื
ผู้บรหิ ารสามารถมอบหมายงานไดง้ า่ ยขึ้น

รปู ที่ 3.2 การจัดองคก์ รทด่ี ีชว่ ยลดปัญหาการทางานทซี่ ้าซอ้ น
3. การจัดองค์กรทีด่ ีชว่ ยใหผ้ ู้ปฏบิ ัตงิ านไดท้ างานตามความถนัดหรอื ตามความเหมาะสม เชน่ จากการจดั องคก์ ร องค์กรจะต้องมกี ารแบง่ แผนกงาน และจัด
คนลงไปทางานในแต่ละแผนก ซง่ึ การจดั คนไปในแตล่ ะแผนกนน้ั ผ้บู รหิ ารต้องคานึงถงึ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ เพื่อจัดคนให้เหมาะสมกบั งาน ถา้ ผู้บรหิ าร
สามารถจัดคนให้เหมาะสมกับงาน องค์กรกไ็ ดป้ ระโยชนส์ งู สุดจากการทางานของพวกเขาเหล่านน้ั
องคก์ รเป็นทรี่ วมของคนและทเี่ ป็นรวมของงานตา่ ง ๆ เพ่ือใหพ้ นกั งานขององคก์ รปฏิบตั ิได้อย่างเตม็ ประสิทธิภาพจงึ จาเป็นตอ้ งจดั แบง่ หน้าทกี่ ารทางาน และมอบ
อานาจใหร้ บั ผิดชอบตามความสามารถและความถนดั และตัง้ หวั หนา้ งานข้ึนรบั ผดิ ชอบควบคุม ดังนน้ั จะเหน็ ว่าการจดั องค์กรมีความจาเปน็ และกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์หลายดา้ น
(สมคิด บางโม,2554: 114)
1. ประโยชนต์ อ่ องค์กร
1.1 การจดั โครงสร้างองค์กรท่ีดแี ละเหมาะสมจะทาให้องคก์ รบรรลุวตั ถุประสงค์และเจรญิ ก้าวหนา้ ข้ึนไปเรื่อย ๆ
1.2 ทาให้งานไมซ่ า้ ซอ้ น ไม่มแี ผนกงานมากเกินไปเป็นการประหยดั ต้นทนุ ไปด้วย
1.3 องค์กรสามารถปรบั ตวั เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ปลย่ี นไปได้งานตามความจาเปน็

2. ประโยชนต์ อ่ ผบู้ ริหาร
2.1 บริหารงานงา่ ย สะดวก รู้วา่ ใครรับผิดชอบอะไร มีหนา้ ทท่ี าอะไร
2.2 แก้ปัญหาการทางานซา้ ซอ้ นได้ง่าย

2.3 ทาใหง้ านไมค่ ง่ั คา้ ง ณ จุดใดจุดหนึง่ สามารถติดตามแกไ้ ขง่าย
2.4 การมอบอานาจท่ไี ด้ง่าย ขจดั ปญั หาการเกย่ี งกันทางานหรอื ปัดความรับผดิ ชอบ

3. ประโยชน์ต่อผปู้ ฏิบตั ิงาน
3.1 ทาให้รอู้ านาจหนา้ ที่และขอบข่ายการทางานของตนวา่ มเี พยี งใด
3.2 การแบ่งงานให้พนกั งานอยา่ งเหมาะสม ช่วยให้พนกั งานมีความพอใจ ไม่เกดิ ความร้สู กึ ว่างานมากไปหรือน้อยไป

3.3 เมอื่ พนกั งานรอู้ านาจหนา้ ที่และขอบเขตงานของตน ยอ่ มกอ่ ให้เกดิ ความคิดริเรม่ิ ในการทางาน
3.4 พนกั งานเข้าใจความสมั พนั ธ์ของตนตอ่ ฝา่ ยอน่ื ๆ ทาให้สามารถติดตอ่ กันไดด้ ียง่ิ ขนึ้

นักทฤษฎกี ารจดั การบางคนมคี วามเชือ่ วา่ หนา้ ท่ีการจัดการมีความสาคญั สามารถสนับสนุนการแบง่ งานกันทาภายในองคก์ ร ตามหนา้ ท่ีและความ
รบั ผิดชอบหลักของแต่ละฝ่าย/แผนก ตัวอยา่ งความรบั ผิดชอบของแผนกดงั กลา่ วจะรวมไปถึงการพฒั นาดังตอ่ ไปนี(้ Samuel C.Certo,แปลโดย พชั นี นนทศกั ด์ิ และคณะ
,2552: 143,)

1. การปรับแผนงานใหม่ (Reorganization Plan)ทาใหร้ ะบบการจัดการมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลมากขน้ึ
2. มกี ารวางแผนเพื่อเพ่มิ ทักษะการจัดการให้เหมาะสมกับความต้องการในปจั จุบนั

3. การสร้างบรรยากาศท่ีเอื้อประโยชน์ภายในระบบการจดั การ
3. วัตถุประสงคข์ องการจัดองค์กร

การจดั องค์กร ถอื เปน็ กระบวนการในการจัดรายละเอยี ดของงานทุกอยา่ งที่ต้องกระทาและทรพั ยากรมี่ต้องใชเ้ พ่ือแบง่ งานและทรพั ยากรใหก้ ับสมาชิกในองคก์ ร

ดาเนินงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายขององคก์ ร และที่องค์กรจะเปน็ ระบบเปิดการจัดองคก์ รจึงต้องคานงึ ถึงระบบภายในการจัดแบง่ งานและทรพั ยากรในองค์กรนจ้ี ะสะท้อนถึงการ
แบง่ กลมุ่ งาน แผนกงาน สายการบงั คบั บญั ชา และกลไกลในการประสานงานในองคก์ ร(วรารัตน์ เขียวไพรี, 2542 : 89) ดังนนั้ จึงสรุปไดว้ ่าการจัดองค์กรมบี ทบาท ดังนี้ (เอก

วิทย์ มณธี ร, 2552 : 82-83)
1. เพือ่ แบง่ งานกันทาโดยแยกเปน็ แตล่ ะงาน แตล่ ะแผนก หรือหนว่ ยงานตามความเหมาะสม
2. เพือ่ มอบหมายงานและความรบั ผิดชอบใหแ้ ต่ละคนทาตามความรคู้ วามถนัด

3. เพ่ือประสานงานต่าง ๆ ใหด้ าเนินไปอยา่ งสอดคลอ้ งกนั ตลอดทงั้ องคก์ รตั้งแต่เร่ิมตน้ จนงานเสรจ็

4. เพื่อจดั งานออกเปน็ กลุม่ ๆ แตล่ ะกลุ่มจัดต้งั ขน้ึ เป็นหนว่ ยงานหรือแผนงาน โดยเกณฑอ์ ยา่ งใดอย่างหนง่ึ
5. เพือ่ กาหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ระหว่างกลมุ่ และระหวา่ งหนว่ ยงานหรือแผนงาน
6. เพอื่ กาหนดสายการบังคบั บญั ชาอยา่ งเปน็ ทางการตลอดทงั้ องคก์ ร

7. เพื่อจดั สรรใช้ทรัพยากรขององคก์ รอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และก่อใหเ้ กดิ ประสิทธิผลสูงสุด

หน่วยที่ 4 การจดั การทรัพยากรมนุษย์

ภาพประกอบท่ี 4.1 คุณภาพของคนคอื ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ขององศก์ ร
1) ความหมายของการทรพั ยากรมนษุ ย์

ปจั จุบนั การบรหิ ารจดั การและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มคี วามสาคัญตอ่ องค์กรต่าง ๆ เพิม่ มากขน้ึ เรื่อย ๆ ทัง้ ในภาคธุรกจิ เอกชน หรือแมก้ ระทัง่ ในหนว่ ยงานภาคราชการ
เอง เพราะไมอ่ งค์กรจะปรับปรงุ เปล่ียนแปลงไปในทางใด ย่อมตอ้ งเก่ียวขอ้ งกับตัวบคุ คลท้ังสิน้ จงึ อาจกลา่ วได้วา่ ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ อยา่ งยัน่ ยนื ขององค์กรนั้นอยู่ที่ คณุ ภาพ
ของคนในองคก์ รนน้ั ๆ

ปรากฏการณ์การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขนึ้ นี้ แพร่หลายอย่างมากในสาขาการจัดการทรัพยากรภาคปฏบิ ตั ิ (HR Practice) อย่างไรก็ตามเรือ่ งราวต่าง ๆ เหลา่ นยี้ อ่ มมีฐาน
ความคิดทางวิชาการสนับสนนุ อยู่เบือ้ งหลงั การจะเข้าใจเรอ่ื งเหล่านอ้ี ยา่ งถอ่ งแท้ จงึ จาเป็นต้องเข้าใจหลักทางความคดิ ด้วย จากการทบทวนเอกสารทางวิชาการท่ีเก่ยี วขอ้ งกับ
การบริหารจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์ในเบอ้ื งต้นพบวา่ มกี ารพฒั นาตวั แบบเกี่ยวกบั เร่อื งน้ีจากนกั คดิ ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสามารถจาแนกกลุ่มทางคิดได้ดงั นี้

กลมุ่ นักคิดในสหรัฐอเมริกา

สาหรับกลมุ่ นม้ี ตี ัวแบบการจัดทรัพยากรมนษุ ย์ทีส่ าคัญจาก 2 สานกั คิด คือ

1. ตัวแบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรมนุษย์กลมุ่ ฮาร์วาร์ด (The Harvard model) หรือเรียกว่า กลมุ่ แนวคิดแบบ มนุษย์นิยมเชิงพัฒนาการ เปน็ แนวคิดแบบกระแส
หลักท่ีทรงอิทธิพลและแพร่หลายท่ีสุด มีรากฐานทางความคดิ มาจากสานัก มนษุ ย์สมั พนั ธซ์ ่งึ มีจดุ เน้นทางความคดิ ท่อี ยทู่ ่ีเรื่องของการสอ่ื สารในองคก์ ร การสร้างทมี เวริ ก์ และ
เม่อื บุคลากรได้รบั การตอบสนองทดี่ ี กจ็ ะเกดิ แรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธิ์ทาใหอ้ งคก์ รเกดิ ภาวะอยู่ดีมีสขุ ทางสังคมข้นึ ภายในองค์กรอนั จะนาไปสู่คณุ ภาพแบะปริมาณงานท่ีดีขน้ึ

2. ตัวแบบการบริหารจดั การทรัพยากรมนุษย์สานักมิชแิ กน (The Michigan School) หรือเรยี กอีกชือ่ หนึ่งว่าเป็นแนวคิดแบบ บรหิ ารจัดการนยิ มกลา่ วคือ เป็นกลุ่มที่
เน้นเรื่องของการบริหารจดั การเชงิ กลยุทธ์ ทม่ี องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ จากมุมมองของฝ่ายจัดการ ธรรมชาตขิ องฝ่ายจดั การคอื การให้จะได้รับ โดยที่เรื่องของคนและ
การบริหารจัดการคนเปน็ เคร่ืองมือในการท่จี ะทาใหบ้ รรลสุ ู่เป้าหมายเชน่ น้ันขององค์ ดังนน้ั จงึ มผี ู้เรียนแนวคิดการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรมนุษยข์ องสานักคดิ นี้ว่า อตั ถ
ประโยชน์-กลไกนิยม คอื มองผลประโยชน์หรือผลประกอบการขององคก์ รเปน็ หลกั การขับเคลื่อนองค์กรให้ไปสผู่ ลประกอบการทเี่ ป็นเลิศ

กล่มุ นักคดิ ในสหราชอาณาจักร

สาหรับแวดวงวชิ าการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ของสหราชอาณาจกั รก็คล้าย ๆ กับสานกั คิดของสหรัฐอเมรกิ า คอื มกี ารนาเสนอแนวคิดของ 2 กล่มุ
ความคิดทมี่ จี ุดย้าเน้นทีแ่ ตกตา่ งกนั ระหว่าง กลุ่มอ่อน กับ กลมุ่ แข็ง กล่าวคือ

1. สาหรบั กล่มุ ที่มมี ุมมองแบบอ่อน (Soft) คือ กลมุ่ นักคิดทใ่ี ห้นา้ หนกั ความสาคญั ไปท่ีคนมากกวา่ การบรหิ ารจัดการ โดยเชอ่ื ว่าบคุ ลากรทุกคนเป็นทรัพยากรท่คี ณุ ค่าอยู่
ในตนเอง ดงั นั้นแนวทางของกลมุ่ ความคดิ น้ี จึงมองการบริหารจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์วา่ จะเปน็ วิธีการทจี่ ะต้องชว่ ยปลดปล่อยพลังศกั ยภาพท้ังมวลของทรพั ยากรมนษุ ยแ์ นว
นี้

2. สาหรับกลุ่มท่มี ีมมุ มองแบบแขง็ (Hard) กค็ ือ กลุ่มนักคดิ ท่ีให้นา้ หนกั ความสาคญั ไปท่ีเร่อื งของการบริหารจัดการมากกวา่ เร่อื งของคน ดังน้ัน แนวทางของกลมุ่
ความคิดนี้ จงึ มองการบริหารจดั การทรัพยากรมนษุ ยว์ ่า เป็นภาระงานด้านหนึ่งที่องค์กรจะสามารถเพิ่มพูนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจให้ไดม้ ากท่ีสุด

จากตัวแบบการการจัดการทรัพยากรมนุษย์ข้างตน้ ผ้ปู ระกอบการจงึ ตอ้ งทาความเข้าใจการจดั การทรัพยากรมนุษย์ ว่าเปน็ กิจกรรมท่เี กยี่ วข้องและสาคญั ต่อองค์กร
อยา่ งไร

2) ความสาคญั ของการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์

ในแง่จดุ ประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษยน์ น้ั มปี ระเดน็ ทน่ี า่ สนใจ การท่ีจะเขา้ ใจในจดุ ประสงค์ของการจดั การทรพั ยากรมนษุ ยไ์ ด้ จะต้องเข้าใจถงึ เปา้ ประสงค์ของ
องค์เสยี กอ่ น หากลา่ วในเชิงปรัชญากอ็ าจกลา่ วได้วา่ การจัดการทรัพยากรมนุษยไ์ มไ่ ด้เป็นสง่ิ ท่ี สัมบูรณ์ (Absolute) ในตัวมันเอง แตว่ ่าเปน็ สงิ่ ทีจ่ ะต้อง สัมพนั ธ(์ Relative)ไป
กับปัจจัยควบคุมนั่นคือ นโยบายการจดั การองค์กร กลา่ วง่าย ๆ ก็คือเป้าประสงค์ขององคก์ รจะเป็นตัวกาหนดเป้าประสงค์ของการจดั การทรพั ยากรมนุษย์ในทางธรุ กิจองคก์ ร
เอกชนแบบจารดี ั้งเดิมมักจะมเี ปา้ หมายใหญ่ ๆ สาคญั 3 ประการ คอื

ประการที่ 1: เปา้ หมายของการที่จะตอ้ งสรา้ งความมน่ั ใจองคว์ า่ องคก์ รจะอยรู่ อดไดพ้ รอ้ มไปกับความสามารถทจ่ี ะมกี าไรในการประกอบธุรกิจไดอ้ ยา่ งเพียงพอ ซง่ึ จะเกย่ี ว
โยงไปถึงบรรดาผู้ถือหุ้น หรือหนุ้ ส่วนทางธุรกิจที่จะรกั ษาความเปน็ หนุ้ สว่ นไว้หรือไม่

ประการท่ี 2: องค์กรเอกชนอาจจะต้องแสวงหารปู แบบของการมคี วามได้เปรยี บในการแข่งขนั อย่างนง่ั ยนื เพ่อื ทจี่ ะทาใหอ้ งคก์ รอยรู่ อดและมีกาไรท่ตี อ่ เน่ือง อยา่ งไรก็ตาม
ในโลกยุคสมยั ใหม่ท่ีมนษุ ย์และสงั คมได้ผา่ นววิ ฒั นาการและการพัฒนาทางความคิดและวิถกี ารดารงชีวติ มาถงึ จดุ หนง่ึ ทาใหย้ ังมีสง่ิ ท่อี งคก์ รพงึ ตอ้ งพิจารณาให้ความสาคญั
เพ่ิมเติมโดย เฉพาะอย่างย่ิงในเศรษฐกิจสังคมยคุ ปจั จุบนั ท่ีเกดิ พลวตั ผลักดันสังคมใหก้ ้าวสู่การเป็นระบบเศรษฐกจิ สงั คมใหก้ ้าวส่กู ารเปน็ ระบบเศรษฐกจิ สังคมบนรากฐาน
ความรู้

ประการที่ 3: การประกอบธรุ กจิ น้ันมใิ ชจ่ ะมงุ่ มองแตเ่ รื่องผลกาไร และความอยรู่ อดทางธรุ กิจ ตามแนวคดิ แบบจารตี ดั้งเดมิ ได้อีกต่อไป สาหรับกระแสนยิ มในปัจจบุ นั มี
แนวโน้มท่จี ะเรยี กร้องใหเ้ กดิ แนวคิดทวี่ ่า การดารงอยูข่ ององคก์ รก็จะต้องให้ความใส่ใจกับผลกระทบท่ตี นเองจะก่อให้เกิดข้นึ กับสงั คมโดยรวมด้วย ดังนนั้ องค์ธรุ กิจเอกชน
จะตอ้ งมเี ปา้ หมายเรอื่ งความชอบธรรมทางสังคมขององค์กรดว้ ย ซ่งึ จะสามารถชว่ ยให้เราเหน็ ภาพเป้าประสงคข์ องการจดั การทรพั ยากรมนษุ ยไ์ ด้

3) กระบวนการของการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์

ภาพประกอบท่ี 4.2 กระบวนการดาเนินงานสงิ่ สาคญั ในการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์

งานของผปู้ ระกอบการทเี่ กีย่ วกบั การจัดการทรัพยากรมนษุ ย์มีขอบเขตตง้ั แต่การวางแผนรับคนเข้าทางาน จนถึงการใหพ้ ้นจากงาน ขอบขา่ ยของการจัดการทรัพยากร
มนุษยท์ ่ีสาคญั มี 4 ขน้ั ตอนหลัก คอื การวางแผนความต้องการในทรัพยากรมนุษย์ การสรรหา การคดั เลือก การธารงรกั ษา การพฒั นาและการใหพ้ ้นจากงาน แต่ในทีน่ ้จี ะขอ
กลา่ วถึงขอบเขตการจัดทรัพยากรมนษุ ย์ท่ีสาคัญ ดังนี้

1) การวางแผนความตอ้ งการในทรพั ยากรมนษุ ย์

กลยุทธ์การวางแผนทรพั ยากรมนุษย์ คือ การพัฒนาอย่างเป็นระบบในเรื่องกาหนดกลยทุ ธโ์ ดยการทาความเข้าใจใน 2 ประเด็นหลัก ๆ ได้แก่

1. การทาความเขา้ ใจกาลงั คนในปัจจุบัน ก่อนทจ่ี ะมีการวางแผนกาลังคนสาหรับอนาคตขององคก์ รเรามคี วามจาเป็นที่ต้องเข้าใจภาวะกาลังคนในปจั จุบันขององคก์ ร
เสยี กอ่ น นั่นคือต้องมีการวเิ คราะห์งาน (Job Analysis) และจากนน้ั นาการวเิ คราะหง์ านมาเขียนคาบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และการกาหนด
คณุ สมบัติเฉพาะของผ้ปู ฏิบตั ิงาน (Job Specification) นนั่ คือ

Ø การวิเคราะห์ (Job Analysis) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กาหนดสว่ นประกอบต่าง ๆ ของงานและรวบรวมข้อมูลอนั เก่ียวกบั งานอย่างเป็นระบบ อาจทาไดโ้ ดยการ
สงั เกตและวิเคราะห์ เช่น ในธุรกจิ การสง่ พสั ดุนั้นจะตอ้ งมีกาหนด และมีการเผชญิ ปญั หาเชน่ การจราจรติดขัด เปน็ ตน้

Ø คาบรรยายลักษณะงานหรือคาพรรณนาลักษณะงาน (Job Description) เปน็ การกาหนดวิธีการท่ีผู้ปฏบิ ตั งิ านจะต้องทาซ่งึ มีรายละเอียดอนั เกี่ยวกับช่ือของ
งานรวมทงั้ สาระสาคญั และความรบั ผดิ ชอบเกี่ยวกับงาน

Ø การกาหนดคณุ สมบัตเิ ฉพาะของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน (lobSpecication) เป็นการกาหนดคุณสมบัติของผปู้ ฏิบตั ิขั้นต่าทเี่ ขาควรจะมีในการทางานใหล้ ุลว่ ง

2. การพยากรณค์ วามต้องการกาลงั คนในอนาคต

องคก์ รตอ้ งคอยดแู ลความเล่อื นไหวของกาลังคนตลอดเวลาว่าเม่ือใดทีอ่ าจต้องการคนเพ่ิมและแหลง่ ท่ีเราจะสรรหานน้ั มที ่ีไหนบา้ ง หรอื แมก้ ระท่ังเมือ่ ใดท่ลี กั ษณะ
งานเปลีย่ น คาบรรยายลกั ษณะงานก็ต้องเปลีย่ นดว้ ยเพ่ือการจดั หาคนทต่ี อ้ งการในอนาคตไดเ้ หมาะสม

Ø กาลังคนที่องค์กรต้องการ เช่น การพิจารณาวา่ ในองคก์ รของท่านจะมคี นเกษียณอายุหรอื ไม่ มีคนลาออกหรอื ไม่ หรือถ้าหาองค์กรมีการเปล่ยี นแปลงแผนกกล
ยุทธเ์ ราอาจมกี ารปรบั ตวั เรอื่ งกาลงั คนเช่นกัน

Ø แหลง่ ในการสรรหากาลังคนเราสามารถสรรหาจากแหลง่ ภายในและภายนอกถา้ หากเปน็ การหาจากแหลง่ ภายในอาจต้องพิจารณาเรทอ่ งการจูงใจการฝึกอบรม

ขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของการสรรหาจากแหลง่ ภายในองคก์ ร

ขอ้ ดี

Ø พนักงานจะไดร้ บั แรงจูงใจท่ดี แี ละมคี วามภกั ดตี ่อองคก์ ร เนอ่ื งจากพนักงานจะทราบดวี ่า การทางานหนกั ละทางานใหก้ ับองคก์ รเปน็ ระยเวลานานน่ันหมายถงึ
จะไดร้ บั ผลตอบแทนและโอกาสก้าวหนา้ ในอนาคต

Ø กระบวนการของการให้ข่าวสาร การสัมภาษณแ์ ละอื่นๆ มตี ้นทนุ ทถ่ี ูก

Ø องคก์ รแบกรับความเส่ียงนอ้ ย เนื่องจากผู้ที่มีคุณสมบตั ใิ นการไดร้ บั เลือกเพอื่ เล่ือนขั้นหรอื เล่ือนตาแหน่งมีความรจู้ ักคุ้นเคยเปน็ อยา่ งดีกับองคก์ รอยูแ่ ลว้

ข้อเสยี

Ø บางคร้งั การใช้บคุ ลากรจากแหล่ภายในอาจเป็นเหตุให้องค์กรไมไ่ ด้รบั มุมมองหรือความคดิ ใหมๆ่

Ø อาจนาไปสูก่ ารรบั รู้ทไี่ มถ่ ูกตอ้ งสาหรบั พนักงานทมี่ ีอายงุ านกับองค์กรมากและมีความอาวุโสว่าหากมีตาแหนง่ งานท่ีสงู กวา่ ตาแหนง่ งานเดิมของพนักงาน
เหลา่ นน้ั พวกเขาอาจไดร้ ับการพิจารณาเข้าทางานในตาแหน่งดังกลา่ วโดยอัตโนมัติ

Ø การหาคนมาทางานในตาแหน่งงานใหม่จากแหล่งภายในองค์กร เปน็ เหตุใหต้ าแหน่งงานเดมิ ของบุคคลน้ันวา่ ลง ซึ่งอาจทาให้องคก์ รตอ้ งประกาศรับตาแหน่ง
งานวา่ งของบุคคลผนู้ ้ันอกี ครัง้

ภาพประกอบที่ 4.3 การคัดเลือกบุคคลเขา้ ทางานสง่ ผลดใี หอ้ งคก์ รความก้าวหนา้
2 การสรรหาจากแหลง่ ภายนอก (External Re-cruiting) คือ การดงึ ดดู ผสู้ นใจทจี่ ะสมัครงานจากแหล่งภายนอกองค์กร ซึ่งอาจใชว้ ธิ ีประกาศในหนงั สอื พิมพบ์ ริษัทจัดหางาน
ต่างๆ การโฆษณาผ่านสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ หรอื อื่นๆ
ข้อดีและข้อเสียของการสรรหาจากแหลง่ ภายนอกองค์กร
ข้อดี
Ø องค์กรจะไดผ้ สู้ มัครทมี่ คี วามรลู้ ะประสบการณ์เปน็ เศษ
Ø บุคคลภายนอกมกั จะมีมมุ มองใหม่ๆ อันจะนามาซึ่งความคิดสร้างสรรค์ในการทางาน

ขอ้ เสีย

Ø ขั้นตอนในการสรรหาบคุ คลลากรจากแหล่งภายนอกจะมคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู กวา่ การสรรหาจากแหลง่ ภายในและใช้เวลานานกวา่

Ø มีความเสี่ยงตอ่ องค์กรมากกว่า เพราะองคก์ รไม่รู้จกั บุคคลผนู้ ั้นเป็นอยา่ งดี

1.1 การคดั เลือก (Selection)กระบวนการคัดเลือกเป็นระบวนการทีต่ ่อจากการสรรหาเพื่อทากระทาการคดั เลอื กผู้สมคั รจากจานวนผูส้ มัครทง้ั หมดเพอ่ื กระทาการจา้ งต่อไป
ซ่ึงเคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการคดั เลือกมี 3 ประเภท ได้แก่ การตรวจสอบภูมิหลังของบคุ คล การสมั ภาษณ์ และการทดสอบ

1.การตรวจสอบภมู หิ ลงั ของบคุ คล (Backgroundlnformation) ได้แก่ ใบสมคั ร (Application Forms) ประวตั ิสว่ นตัว (Resumes) และหนงั สืออ้างอิง (Reference) ซ่ึง
การให้ขอ้ มูลเก่ียวกบั ผสู้ มัครในเร่ืองตา่ งๆ เช่น ประวตั กิ ารศึกษา ประวัตกิ ารทางาน หรือ การไดร้ ับประกาศนียบัตรพเิ ศษต่างๆ ซ่งึ บางครง้ั ขอ้ มูลส่วนตวั ท่ีผสู้ มัครใส่ไว้ในประวัติ
ส่วนตัว หรอื หนงั สืออ้างอิงจากหน่วยงานหรือบคุ คลต่างๆ ยากต่อการตรวจสอบหรือเป็นข้อมูลจรงิ เพราะผู้สมัครอาจทาการเสรมิ แตง่ ใหเ้ อกสารดังกล่าวออกมาดูดีทจ่ี ะดึงดูด
ความสนใจขององคก์ ร

2.การสัมภาษณ์ (Interviewing) การสมั ภาษณเ์ ป็นเทคนคิ การคัดเลือกบุคลากรทมี่ ีการใช้กันอย่างแพรห่ ลายอาจอย่ใู นรปู ของการเผชิญหน้า (Face to Face) สื่อสาร
ผ่านกลอ้ งวดี โี อสาหรบั ผู้ทีอ่ ยูต่ ่างสถานที่ (Video conferencing) และการสื่อสารผ่านทางเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 5 การบริหารเงนิ ทุน

ภาพประกอบที่ 5.1 เงินทนุ เปน็ สิ่งท่ีสาคญั เพราะเป็นปัจจัยในการดาเนนิ ธรุ กจิ
1) ทุนและประเภทของเงินทุน

เงินทนุ (Capital) หมายถึง เงินตราทีอ่ งค์กรธรุ กจิ จัดหามาเพอ่ื นามาใช้ในการโดยมจี ุดประสงค์เพ่อื ให้ไดผ้ ลตอบแทนจากการลงทนุ อย่างคุ้ม หรอื อาจกล่าวไดว้ า่ เปน็
เงนิ ท่ผี ปู้ ระกอบการจดั เตรยี มไวเ้ พ่ือใช้ในการเรมิ่ ต้นประกอบกิจการ เงนิ ทนุ มคี วามสาคญั ต่อธรุ กิจมาก เพราะเป็นปจั จยั ในการดาเนินธรุ กจิ ตงั้ แต่เรมิ่ กอ่ ตั้งกจิ การ และ
ระหว่างดาเนินกจิ การ เงนิ ทนุ ทาใหก้ ารผลติ การซ้อื ขายเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและทาให้ธุรกิจขยายตัวไดอ้ ย่างรวดเร็ว

ภาพประกอบที่ 5.2 แหลง่ เงนิ ทนุ มหี ลายรปู แบบและหลายชอ่ งทางแต่เปน็ สง่ิ จาเป็นสาหรบั การทาธุรกิจ

ในการเริม่ ต้นทาธุรกจิ เงนิ ทนุ ถอื เปน็ ปัจจยั ทส่ี าคญั มากปัจจัยหนง่ึ เพราะไมว่ ่าจะทาอะไรก็จาเป็นต้องใชเ้ งินในการแลกเปล่ียน เพ่อื ใหไ้ ด้มาซ่ึงส่งิ ทจี่ าเป็น วิธีการ
จดั หาเงนิ ทุนมีหลายรูปแบบ หลายแหลง่ ทีม่ า การจะเลือกเงินทนุ จากแหล่งใดนั้นขนึ้ อยกู่ บั การพจิ ารณาของผ้ผู ู้ประกอบการ เชน่

เงินทุนสว่ นตัว (Self-funding) เปน็ เงินที่เกิดจากการออมของผู้ประกอบการเองรวมถงึ วงเงนิ จากบตั รและเงนิ ที่ขอยืมมาจากญาตพิ นี่ ้องโดยใชค้ วามสัมพนั ธส์ ว่ นตวั
การเบิกเงินเกนิ บัญชจี ากธนาคาร เป็นวิธมี กั จะใชเ้ ป็นเปน็ จุดเร่ิมตน้ ของการหาทนุ แต่ก็อาจเปน็ หลกั ประกันท่ีน้อยทสี่ ดุ เพราะธนาคารอาจยกเลกิ วงเงนิ เชื่อโดยแจง้
อย่างกะทนั หนั ถา้ พิจารณาวา่ มคี วามเสี่ยงสงู
การระดมทนุ จากการขายหนุ้ โดยปกตเิ ป็นวธิ กี ารหาเงนิ โดยธุรกิจขนาดใหญ่และบริษทั ทีม่ รี ายช่ืออยใู่ นตลาดทรัพย์ นกั ลงทุนแสดงความจานงซอื้ หุ้นแล้วรับหนุ้ ใน
บรษิ ทั น้นั ไปแลกเปล่ยี นกบั การลงทุนของพวกเขา เมือ่ ทุนธุรกิจดูมน่ั คงแล้ว เจา้ ของอาจขายหุน้ บางสว่ นของตนเม่ือตอ้ งการเงินสดกไ็ ด้
ความหมายของเงินทุนระยะส้นั
เงนิ ทุนระยะส้ัน หมายถึง เงินทุนท่ธี ุรกจิ จักหามาดว้ ยการก่อหนี้สนิ ระยะส้นั ซง่ึ มกี าหนดระยะเวลาใช้คนื ไม่เกนิ 1ปี เงินทนุ ส่วนนี้ควรใชล้ งทนุ ในสนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน
เช่น ลงทนุ ในลกู หนี้ ลงทุนในสนิ ค้าคงเหลือ เงินทไี่ ดม้ าจากเงนิ กู้ระยะสน้ั และนามาใช้เป็นเงนิ ทุนหมุนเวียน เชน่ ลกู หนี้ หรอื สนิ ค้าคงเหลอื แลว้ สนิ ทรัพย์หมุนเวียนเหล่านี้
เปลย่ี นสภาพเป็นเงินสดภายในระยะเวลา 1 ปี และเงินจานวนนจ้ี ะถูกนามาจา่ ยชาระคนื หน้ี สว่ นเงินท่เี ก็บจากสินทรัพย์ถาวรนัน้ จะไปเปลีย่ นสภาพตัวเองเป็นเงินสด ดังนน้ั
จึงถือวา่ เงินกทู้ ี่ใช้ลงทนุ ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนไม่สามารถชาระคนื ไดใ้ นตัวเอง
การจัดหาเงินทุนระยะสนั้

การจัดหาเงินทนุ จากแหลง่ ระยะสน้ั เป็นการจัดหาเงินทนุ เพ่ือใช้สาหรบั ความตอ้ งการใชร้ ะยะส้ัน สว่ นมากคอื ความต้องการเงินทุนสาหรบั เงินทนุ หมนุ เวียน
โดยเฉพาะเงนิ ทนุ หมนุ เวยี นตามฤดูกาล วธิ ีการจัดหาเงนิ ทุนจากแหลง่ เงนิ ทุนใหเ้ หมาะสมกับการใชเ้ งินทนุ นนั้ ๆ การจัดหาเงนิ ทนุ ใหเ้ หมาะสมกบั การใช้เงินทนุ นัน้ ๆ การ
จัดหาเงนิ ทุนระยะสนั้ หมายถงึ เงนิ ทนุ ท่ธี ุรกิจได้จดั หามาเพ่ือนาไปใช้ในการดาเนินงานทม่ี รี ะยะเวลาภายใน 1 ปี การจดั หาเงินทุนระยะสัน้ ทสี่ าคัญแบ่งออกได้เป็น 3วิธี คือ

จัดหาจากประเพณีทางการคา้ จัดหาโดยไมต่ ้องมหี ลกั ทรัพย์ค้าประกัน และจัดหาโดยตอ้ งมีหลกั ทรัพย์ค้าประกนั
เงินทุนระยะปานกลาง

ธุรกจิ ท่กี าลงั ดาเนนิ งานอาจมคี วามจาเป็นที่ตอ้ งใช้เงินทุนทีม่ ีระยะเวลาของการชาระคืนเกินกวา่ 1 ปขี น้ึ ไป แตไ่ ม่เกิน5 ปี ความจาเปน็ ท่ีต้องการใช้เงินทนุ น้ีทาให้ธรุ กจิ
ตอ้ งจัดหาเงินทนุ จากแหลง่ เงินทนุ อ่นื ๆ ทไี่ ม่ใชแ่ หล่งเงนิ ทนุ ระยะสั้นคอื การจัดหาเงนิ ทุนจากแหล่งเงินทนุ ระยะปานกลาง ซึ่งเปน็ แหล่งเงินทุนที่ให้เงินทนุ ที่มีระยะเวลาของ
การของเงนิ ทุนโดยประมาณ 3-5ปี เงินทุนระยะปานกลางที่ธุรกิจจดั ท่วั ไปการกู้เงินหามาควรจะตอ้ งนามาใชก้ ับความต้องการทางการเงนิ ของธรุ กจิ ทคี่ อ่ นขา้ งแนน่ อนและเป็น

ประจา โดยทั่วไปการก้เู งนิ จากแหลง่ เงินทุนระยะปานกลางจะนาไปใช้เพ่อื วตั ถุประสงค์ท่ีสาคัญคือ การลงทุนในสนิ ทรพั ยากรถาวรเพ่ิมขึน้ เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพหมนุ เวยี น
เพิม่ ขึ้นเพื่อขยายการดาเนนิ งานเป็นถาวรตอ่ ไป

ความหมายของเงินทนุ ระยะปานกลาง
ธุรกิจที่กาลังดาเนนิ งานอาจมีความจาเป็นที่จะตอ้ งใชเ้ งินทนุ ทมี่ ีระยะเวลาของการชาระคืนเกินกวา่ 1ปีขน้ึ ไป ความจาเปน็ ทต่ี ้องการใช้เงนิ ทุนนี้ทาใหธ้ ุรกจิ ต้องจัดหา

เงินทุนจากแหล่งอน่ื ๆ ทีไ่ ม่ใชแ่ หล่งเงินทนุ ระยะส้นั นั้นคือ ต้องจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนระยะยาวหรอื ระยะปานกลาง ซึง่ เปน็ แหลง่ เงนิ ทนุ ท่ีมีระยะของการชาระคืนเกนิ

กวา่ 1 ปีขน้ึ ไป สาหรับเงนิ ทนุ ระยะปานกลางนนั้ โดยทั่ว ๆ ไป จะมรี ะยะเวลาของเงินทนุ โดยประมาณ 3-5 ปี แตไ่ มเ่ กิน 5 ปี เงินทุนระยะปานกลางที่ธุรกจิ จดั หามา ควร
จะต้องนามาใชใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั ลักษณะของเงนิ ทนุ นั้น นน้ั คอื ตอ้ งนามาใชก้ บั ความตอ้ งการของธุรกจิ โดยทวั่ ไปการกเู้ งนิ จาดแหล่งเงนิ ทนุ ระยะปานกลางจะนาไปใชเ้ พื่อ

วตั ถุประสงค์ท่สี าคัญ 2 ลักษณะคือ การลงในสนิ ทรพั ย์ถาวรเพิ่มขนึ้ เพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพของการดาเนินงานให้สงู ขนึ้ และลงทุนในสินทรัพยห์ มุนเวียนเพ่มิ ขึน้ เพือ่ ขยายการ
ดาเนินงานเป็นการถาวรตอ่ ไป เชน่ การขยายหรือสง่ เสรมิ การขายทาใหต้ ้องลงทนุ ในบญั ชีลูกหนเี้ พ่ิมขน้ึ ขยายขนาดหรือจานวนสนิ ค้าคงคลัง เป็นต้น

ภาพประกอบท่ี 5.3 แสดงการกเู้ งินในแต่ระยะ

เงนิ กู้ระยะยาว
เงินก้รู ะยะยาวจดั เปน็ แหลง่ ของเงินทุนระยะยาวประเภทหนึ่ง ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ ดังน้ี

1. อตั ราดอกเบีย้ อัตราดอกเบย้ี ท่ีกาหนดไวห้ รอื หรอื เรียกวา่ Coupon Rateจะเปน็ ไดท้ งั้ อตั ราดอกเบย้ี คงท่ี โดยท่ดี อกเบ้ยี จะถกู กาหนดไวเ้ ปน็ อตั ราเดยี วตอด
อายสุ ญั ญาหรอื อตั ราดอกเบ้ียลอยตัว ซง้ึ อตั ราดอกเบยี้ สามารถเปลย่ี นแปลงได้โดยสภาวะการทางตลาดเงนิ การเลือกใชแ้ บบใดนั้นบริษัทหรอื ผ้กู ู้สามารถเลอื กได้

2. อายกุ ารกู้ยมื ระยะเวลาของการกูย้ ืมจะขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถของบรษิ ัทในการชาระหนี้คืน ซึ่งสามารถดไู ดจ้ ากกระแสเงนิ สดของบริษัท เงินกู้ระยะยาวจะถูก

บนั ทกึ เป็นหนี้สนิ ระยะยาว
3. เงอื นไขการชาระเงนิ คืน ผ้ใู หก้ มู กั จะกาหนดใหผ้ ู้กชู้ าระดอกเบี้ย (รวมถงึ ชาระเงินต้น) เปน็ งวดๆ ไป อาจจะเปน็ รายเดอื น รายไตรมาส รายปี แลว้ แต่ตกลงกัน

ซึง่ เจา้ หนีห้ รือผู้ใหก้ ้จู ะมกี ารวางเงื่อนไขท่รี ดั กมุ เน่อื งจากหากเกดิ กรณีหนส้ี ญู เจา้ หน้จี ะเสียหายมาก
4. หลักประกัน ผใุ้ หก้ ูจ้ ะเรยี กรอ้ งใหน้ าหลักประกัน ประเภทสนิ ทรพั ย์ระยะยาวมาคา้ เช่น ทดี่ นิ อาคาร ใบหุ้น การคา้ ประกัน เคร่ืองจกั รเพ่ือป้องกันหรือลดความ

เสยี งจากเจ้าหนี้ใหน้ ้อยลงโดยสามารถนาหลักทรพั ย์ไปขายทอดตลาดได้

5. ลาดบั ช้นั ของเจา้ หนี้ ในกรณที ี่บรษิ ัทประสบภาวะล้มละลาย เจ้าหนที้ มี่ ีหลกั ประกนั จะมคี วามไดเ้ ปรียบเหนือเจา้ หนีท้ ีไ่ ม่มีหลกั ประกันเพราะสามรถนาสินทรพั ย์
ไปขายทอดตลาดได้ ขณะทเี่ จา้ หนท้ี ไี่ ม่มีหลักทรพั ยต์ อ้ งรอเฉลยี่ หน้ีสินจากสินทรัพย์ทเ่ี หลอื อยเู่ ท่านั้น

6. สกลุ เงนิ ท่ีกู้ โดยสกุลเงินต่างประเทศจะมอี ตั ราดอกเบย้ี ทีต่ ่ากวา่ สกุลเงนิ บาท จึงเปน็ แรงจงู ใจใหม้ กี ารก้ยู มื จากตา่ งประเทศ แต่อย่างไรก็ตามจะมีความเสย่ี งจาด
ความผนั ผวนของอตั ราแลกเปล่ียนเขา้ มาเกีย่ วขอ้ งด้วย อาจจะทาให้ต้นทนุ สูงกวา่ การกู้ในประเทศกไ็ ด้ โดยเฉพาะประเทศไทยได้กาหนดค่าเงนิ ลอยตวั จงึ ทาความผันผวนจาก
อัตราแลกเปลี่ยนมมี ากขึ้น

7. ขอ้ จากดั ผกู้ ู้ เพือ่ ปอ้ งความเส่ียงของเจ้าหนี้ เชน่ ห้ามจ่ายเงนิ ปนั ผล เพื่อปอ้ งกนั การถ่ายเทเงินสดจากบริษทั ไปยังผอู้ ่นื หุ้น หา้ มก่อหน้ีใหม่หา้ มนาหลดั ทรพั ย์ทม่ี ี
อยู่ไปเป็นหลกั ประกนั หน้ีใหม่ เป็นต้น

เงินทนุ ระยะยาว (Long-Term Financing)
เงินทนุ ระยะยาว หมายถงึ เงนิ ทนุ ทธ่ี ุรกจิ จัดหามาเพือ่ ใช้ในการดาเนนิ กจิ การทมี่ ีระยะเวลามากกวา่ 1 ปี โดยทว่ั ไปธุรกจิ จัดหาเงินทุนระยะยาวเพ่อื นาไปลงทนุ ใน

สนิ ทรพั ย์ถาวร แหลง่ ทม่ี าของเงินทุนระยะยาว จะไดจ้ ากแหลง่ เงนิ ทุนภายในและเงนิ ทุนระยะยาวจากแหล่ง

ภาพประกอบท่ี 5.4 การจัดหาเงินทนุ จากแหล่งเงินทุนระยะยาว
เงนิ ทนุ ภายนอก เงินทนุ ระยะยาวจากแหลง่ เงินทุนภายในเป็นเงินทนุ ที่ไดจ้ ากการดาเนินงาน ได้แก่ กาไรสะสม เงนิ ทนุ ระยะยาวจากแหล่งเงินทุนภายนอกนอกจดั หา
ไดห้ ลายลักษณะ เช่น การกู้ยืมเงินทนุ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน การออกหุน้ กู้ หุน้ บุรมิ สิทธิและหุ้นสามญั เป็นต้น
แหล่งเงนิ ทนุ ระยะยาว

การจดั หาเงินทนุ จากแหลง่ เงนิ ทนุ ระยะยาวสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทคอื การจัดหาเงนิ ทนุ ระยะยาวจากภายในและการจัดหาเงินทุนระยะยาวจาก
ภายนอก การจดั หาเงินทุนระยะยาวจากแหลง่ เงินทนุ ภายใน (Internal Long – term Financing) ได้ แก่ ค่าเส่ือมราคาและกาไรสะสม ดงั ตารางท่ี 5.4

ตารางที่ 5.4 แสดงการจดั หาเงินทนุ ระยะยาวจากแหลง่ เงนิ ทุนภายใน
การจัดหาเงินทุนระยะยาวจากแหล่งเงินทุนภายนอก (External Long – term Financing) ได้แก่ การกู้ยืมเงินระยะยาวจากสถาบนั การเงนิ หรอื บุคคลท่วั ไป การ
ออกหลกั ทรพั ย์ชนิดตา่ งๆ แก่บุคคลหรือสถาบันการเงนิ ได้แก่ การขายหนุ้ ให้มหาชน การออกหนุ้ กู้ เปน็ ต้น

พนั ธบัตร หรือ หนุ้ กู้ สญั ญา (ตราสาร) ทแ่ี สดงการกู้ยมื เงนิ ระหว่างผูก้ ู้ (บริษัทผ้อู อกตราสารหนี)้ กบั ผู้ให้กู้ (ผู้ลงทุน/ถือตราสารหน)้ี โดยในสญั ญาระบรุ ายละเอียด
เกี่ยวกับการกู้ยมื น้นั

หุน้ สามัญ
· เป็นการจดั หาเงินทุนจากสว่ นของทนุ (Equity) โดยการออกจากหน่ายหุ้นสามญั

· ผถู้ อื หนุ้ สามญั มีสถานะเป็นเจา้ ของบริษทั และมีสทิ ธติ ามกฎหมายดงั ตอ่ ไปน้ี
o การควบคุมบริษัท

o สทิ ธิในการซื้อหุน้ สามัญได้ก่อน

หนุ้ บุริมสทิ ธิ
· เปน็ การจดั หาเงินทนุ จากสว่ นของทุน (Equity)

· แตม่ ลี กั ษณะเปน็ หลักทรัพยผ์ สมกงึ่ หนี้สินและก่งึ หนุ้ สามัญ
· ผลตอบแทนของผ้ถู ือหุ้นบรุ มิ สิทธิ คือ เงินปนั ผล(แต่ระบุไวค้ งท่ี เช่นเดียวกับดอกเบยี้ ของหนุ้ ก้หู รอื พนั ธบตั ร)
· ปกติจะกาหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ของราคา Par

หน่วยที่ 6 การจัดทาแผนธรุ กจิ

1) ความหมายของแผนธรุ กิจ

แผนธุรกิจ หรือ Business Plan คือแผนการดาเนินงานของธรุ กจิ หรือโครงการหนงึ่ ๆ ทจี่ ดั ทาขึ้นเพือ่ เป็นแนวทางในการดาเนินธุรกิจทัง้ ในระยะสน้ั 1-3 ปี และในระยะ

ยาว 3-5 ปี อันประกอบไปดว้ ยการวิเคราะห์ถงึ ผลกระทบต่อธุรกิจทั้งทางด้านมหภาค (Macro Analysis) และจลุ ภาค (Micro Analysis) การวิเคราะห์ธุรกิจของโรงงานใน
แง่มุมตา่ ง ๆ ทง้ั ทางด้านการตลาด ทางดา้ นการดาเนินงาน ทีมผูบ้ ริหารและทางดา้ นการเงนิ เพื่อเป็นการประเมินความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ และการเป็นกรอบในการดาเนนิ
ธรุ กจิ แนวทางในการพฒั นาธรุ กิจในอนาคต หรืออาจสรปุ ได้ว่า แผนธุรกิจ (Business Plan) คือ แผนงานทางธรุ กจิ ท่ีแสดงกิจกรรมตา่ ง ๆ ทต่ี อ้ งปฏิบัติในการลงทุน
ประกอบการ โดยมจี ดุ เรม่ิ ตน้ จากจะผลิตสนิ ค้าและบริการอะไร มกี ระบวนการปฏบิ ตั ิอยา่ งไรบา้ ง และผลจากการปฏบิ ตั อิ อกมาไดม้ ากน้อยแค่ไหน ใช้งบประมาณและ
กาลังคนเทา่ ไหร่ เพ่อื ให้เกดิ เปน็ สินค้าและบรกิ ารแกล่ ูกคา้ และจะบรหิ ารธรุ กจิ อยา่ งไร ธุรกจิ จงึ จะอยรู่ อด

2) ความสาคัญของแผนธุรกจิ

ภาพประกอบท่ี 6.1 ส่งิ สาคัญสาหรับการทาธุรกจิ สมัยใหม่คือการเขียนแผนธุรกจิ

การเขยี นแผนธรุ กิจ เปน็ สง่ิ สาคญั อยา่ งหนง่ึ และถอื เปน็ มาตรฐานในการทาธุรกจิ สมยั ใหมไ่ ปแลว้ กว็ ่าได้ไม่วา่ จะเป็นการขอกเู้ งนิ หรอื การขอสนิ เช่ือจากธนาคาร เพื่อนาเงินมา
ลงทุน การขอเงนิ จาก Venture Capital หรือการใชเ้ งนิ ลงทุนของตวั เองก็ดี เนื่องจากจะทาให้เจ้าของกิจการ ผู้ร่วมธุรกิจ หรือธนาคารไดเ้ หน็ ภาพรวมของโครงการ รวมถงึ
การประเมนิ ความเป็นไปได้ของโครงการตา่ ง ๆ วา่ มคี วามเปน็ ไปไดม้ ากนอ้ ยเพียงใดจะให้ผลคุม้ ทนุ เมือ่ ใด มีความสามารถในการชาระหน้หี รือไม่ กอ่ นจะเริม่ ต้นลงทุนใน
โครงการน้นั ๆ จรงิ โดยแผนธุรกจิ นอกจากเป็นการประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการแล้ว ยงั เป็นแผนงานและแผนควบคมุ การดาเนนิ งานของบรษิ ทั ได้อกี ทางหน่ึงด้วย

3) องคป์ ระกอบของแผนธรุ กจิ

1. บทสรุปผู้บรหิ าร
เป็นการสรปุ รายละเอยี ดท้งั หมดทัง้ แผนธรุ กจิ เป็นการเลอื กแสดงเฉพาะรายละเอียด หรือหัวข้อเฉพาะสว่ นเนือ้ หาทสี่ าคัญ ในการบรหิ ารจดั การ

ภาพประกอบท่ี 6.2 การสรุปเน้ือหาหลังจากการจดั ทาแผนธรุ กจิ
แผนการตลาด แผนการผลิตและแผนการเงนิ โดยส่วนเนอ้ื หาของบทสรปุ ผบู้ รหิ ารควรมีความยาวไมเ่ กนิ 2-3 หน้ากระดาษ A4 และควรจดั ทาในลาดับหลังสุด โดยเป็น
การเรยี บเรยี งและสรุปเนื้อหาท้ังหมดภายหลังการจดั ทาแผนธรุ กจิ แลว้ เสร็จเปน็ ที่เรยี บร้อย

2. วัตถุประสงค์ในการนาเสนอแผนธรุ กิจ
เพ่ือเป็นการแสดงรายละเอยี ดเกย่ี วกับวตั ถุประสงคข์ องธุรกจิ ในการนาเสนอแผนธุรกิจ วา่ มีวัตถุประสงค์ เชน่ ใดในการนาเสนอ เชน่ เพ่อื ขอรับการสนับสนุนจาก

หน่วยงาน เพ่อื รับรองการสนับสนุนวงเงินสนิ เช่ือ หรอื เพอื่ สนบั สนุนในการรว่ มลงทนุ เป็นตน้ โดยควรมกี ารแจกแจงรายละเอียดเก่ยี วกบั รายละเอยี ดตา่ ง ๆ ตามวตั ถุประสงค์
ให้ชดั เจน เชน่ จานวน วงเงนิ วตั ถุประสงค์ของการใชเ้ งนิ หลกั ประกันในการขอกู้ การให้ผลตอบแทนหรือเงอื่ นไขตา่ ง ๆ เป็นตน้ การแสดงในสว่ นวตั ถุประสงคค์ วรแยก
ออกมาเป็นหนา้ เอกสารตา่ งหากโดยเฉพาะ เพื่อเนน้ ความสาคญั ให้ผู้อา่ นหรือพิจารณาแผนธรุ กจิ ทราบไดอ้ ย่างชดั เจนว่าถูกต้องว่ามกี ารนาเสนอแผนธรุ กิจมาเพ่ือวตั ถุประสงค์
ใด หรือในกรณผี ู้จัดทาแผนธุรกิจได้มกี ารเขยี นจดหมายแจง้ วตั ถปุ ระสงค์ในการขอรับรองการสนบั สนุนแยกตา่ งหากจากแผนธุรกิจ เช่น จดหมายขอรับรองการสนบั สนนุ ทาง
การเงินจากธนาคารหรือสถาบันทางการเงนิ ก็อาจไมม่ ีความจาเปน็ ต้องมีการจักทาหวั ขอ้ ดงั กล่าวน้ีก็ได้ ทงั้ นี้ อาจรวมถึงการจัดทาแผนธรุ กจิ ทีใ่ ชใ้ นการศึกษาหรอื การอบรม ก็
อาจไม่ตอ้ งทาหัวข้อวัตถุประสงค์ในการนาเสนอแผนธรุ กิจนเี้ ชน่ เดยี วกัน

3. ความเป็นมาของธรุ กจิ

3.1 ประวัตคิ วามเป็นมา หรือแนวคดิ ในการจดั ตง้ั ธุรกิจ
เป็นแสดงรายละเอยี ดของความเปน็ มา หรอื เหตุผลในการจดั ทาโครงการ ไดแ้ ก่ ชอ่ื กจิ การเร่ิมต้น ผู้เริ่มกอ่ ตั้งปี พ.ศ ทเ่ี ร่มิ กอ่ ต้ัง แนวความคิดหรือเหคุผลในการกอ่ ตั้ง

กิจการ ทุนจดทะเบยี นหรอื ทนุ เรม่ิ ตน้ ของกจิ การ การเติบโตของกจิ การ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ท่เี กดิ ขึ้น รวมถึงความสาเรจ็ และอปุ สรรคในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา ตลอดจน
ประสบการณข์ องผกู้ ่อตัง้ หุ้นส่วนและทีมงานผูบ้ ริหาร รวมถงึ ประสบการณใ์ นชว่ งของการดาเนินกจิ การกอ่ นหน้านี้

3.2 สรปุ ผลการดาเนินการท่ผี ่านมาของธรุ กิจ
เปน็ การแสดงผลการดาเนนิ การท่ผี ่านมาของธุรกจิ เพือ่ เพ่ือให้ทราบถงึ สภาพการดาเนินการของธรุ กิจทีผ่ า่ นมาว่ามกี ารเตบิ โตหรอื มีผลการดาเนินการอยา่ งไร ในกรณี

ทธ่ี ุรกิจมีการดาเนนิ การมาก่อนหนา้ ควรแสดงผลการดาเนนิ การทผ่ี ่านมาอย่างน้อย 3 ปี แต่ในกรณีที่เปน็ ธรุ กจิ ใหม่หรอื ยงั ประกอบการมาไม่นานนกั อาจแสดงผลการ
ดาเนินการในช่วงทผี่ ่านมาล่าสุด หรอื อาจไม่ตอ้ งแสดงผลรายละเอยี ดในส่วนน้ีกไ็ ดต้ ามความเหมาะสมแลว้ แตก่ รณี การแสดงการสรปุ ผลการดาเนนิ การท่ีผ่านมา จะเป็นการ
แสดงส่วนของรายได้ กาไรสุทธิ มูลค่าสนิ ทรัพย์ หนีส้ ินของธรุ กจิ และส่วนของผถู้ ือหนุ้ หรอื เพม่ิ เติมในสว่ นการเปลี่ยนแปลงในมลู ค่าของกิจการ

3.3 ขั้นตอนการดาเนินการ
เป็นการแสดงรายละเอยี ดเก่ียวกบั ขัน้ ตอนการดาเนินการเรม่ิ ดาเนินการในกรณที ีธ่ ุรกิจเรมิ่ ดาเนนิ การใหม่ หรอื ขน้ั ตอนภายหลังได้รับการสนบั สนุน เพอ่ื ให้ทราบถงึ

ข้นั ตอนการดาเนินการ ระยะเวลาของขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ต้งั แตก่ ารเร่มิ ต้นธรุ กจิ หรอื การดาเนินการ จนถึงเวลาที่คาดว่าจะเสร็จ เพ่อื กาหนดแผนการดาเนินการทางธุรกจิ ใน
ชว่ งเวลาตอ่ ไป

4. สินค้า
4.1 รายละเอยี ดสนิ ค้า

ภาพประกอบที่ 6.3 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกบั สินคา้ ของธุรกิจ
เปน็ การแสดงรายละเอยี ดเกยี่ วกับสินคา้ ขายของธรุ กจิ ซึ่งควรแสดงรายละเอยี ดเกีย่ วกับสินคา้ ขายทัง้ หมดท่ีมีอยู่ให้ครบถว้ น เชน่ ชนดิ สนิ ค้า แบบสนิ คา้ ราคาของ
สินคา้ แต่ละแบบ คณุ ลกั ษณะ การใช้งาน ความทนทาน มาตรฐานการบรรจุหีบหอ่ ตราของสินค้า การให้บริการกอ่ นการขายและหลงั การขาย การรับประกนั เป็นต้น

4.2 ภาพถา่ ยสินค้า
เปน็ การแสดงตวั อยา่ งสนิ ค้า เช่น รูปแบบ ชนิดของสนิ ค้าทกุ แบบท่ีขายหรือสถานที่ขายสินคา้ รูปแบบ รา้ นค้า บรรยากาศตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ โดยแสดงเป็น ภาพถ่าย

ตัวอยา่ งให้ครบถว้ น กรณที ีม่ ีสินคา้ ขายจานวนมากอาจเลอื กเฉพาะสินค้าขายหลักของธรุ กจิ แสดงไว้โดยในส่วนทเ่ี หลอื อาจรวมไว้ในภาคผนวก และยงั รวมถงึ ในกรณีทีส่ นิ ค้า
หรือยังมีแผ่นผบั หรือคมู่ ือสินค้า โบรชวั ร์ อาจแนบแผ่นผับดังกล่าวเพม่ิ เติมไวใ้ นภาคผนวกเชน่ เดียวกนั

5. การวเิ คราะหอ์ ตุ สาหกรรมและการวเิ คราะห์ตลาด

5.1 สภาวะอตุ สาหกรรม และสภาวะตลาด
เป็นการแสดงรายละเอียดเก่ียวกบั การวเิ คราะห์ สภาวะเศรษฐกจิ หรอื สภาวะอุตสาหกรรม และสภาพโดยรวมของตลาดท่ธี ุรกิจดาเนินการวา่ อยใู่ นสภาพเชน่ ใด เป็น

ปจั จัยมหภาคที่สง่ ผลกระทบตอ่ อุตสาหกรรมและตลาด ท้ังทางตรงและทางอ้อม อันเป็นผลทาใหอ้ ุตสาหกรรมหรอื ตลาดเจริญเติบโตหรอื เกิดสภาวะถดถอยข้อมูลดา้ นการ
วิเคราะหส์ ภาวะเศรษฐกิจหรือสภาพอุตสาหกรรมและภาพรวมของตลาดจะช่วยเปน็ ข้อมูลรองรับสมมติฐานต่าง ๆ เกีย่ วกบั การกาหนดคา่ ตวั แปร หรือประมาณการต่าง ๆ ท่ี
กาหนดไวใ้ นแผนธรุ กจิ ว่ามีความเปน็ ไปไดแ้ ละนา่ ถือเพียงใด เช่น ยอดขายท่ีเพมิ่ ขน้ึ ที่มคี วามสัมพนั ธก์ ับสภาพตลาดหรอื ลักษณะการเติบโตของตลาด เป็นตน้

5.2 การแบ่งสว่ นตลาด และสว่ นแบ่งทางการตลาด
เป็นการแสดงรายละเอยี ดของการแบง่ ส่วนตลาดของสนิ คา้ ขายที่มีอยใู่ นปัจจบุ นั โดยแสดงรายละเอียดดังกล่าวอาจแสดงในเชิงพรรณนาขอ้ มูลเป็นเปอรเ์ ซ็นต์ หรือ

ข้อมลู ทางตวั เลขประกอบ และสว่ นแบ่งทางการตลาดของสินค้าขายของธุรกจิ ภายใตส้ ่วนตลาดทม่ี ีอยู่นัน้ ว่ามจี านวนหรือสดั ส่วนเทา่ ใด

5.3 แนวโน้มทางการตลาด
เปน็ การแสดงรายละเอยี ดในเชงิ ตวั เลขหรือประมาณการของขนาดตลาดในอนาคต ซึ่งส่วนใหญจ่ ะประมาณการตามยอดขายสินคา้ ในตลาด รวมถงึ แนวโนม้ ในการ

เพมิ่ ข้นึ หรอื ลดลงของขนาดตลาดดังกลา่ ว ทงั้ ที่เป็นตัวเลขโดยตรง หรือเปรียบเทยี บเปน็ เปอรเ์ ซ็นต์ทเ่ี ปล่ียนแปลง

5.4 ตลาดเปา้ หมาย
เป็นการแสดงถึงรายละเอยี ดของสภาพตลาดโดยท่ัวไปทีเ่ ป็นเป้าหมายในการขายสนิ ค้าของธุรกจิ ท่ีเป็นอยู่ หรอื สนิ คา้ ทม่ี ีลักษณะเดยี วกันกับธุรกจิ หรือสามารถ

เทียบเคียงไดก้ บั ธุรกจิ

5.5 ลักษณะลูกค้า
เป็นการแสดงรายละเอยี ดทว่ั ไปของลกู ค้าท่มี อี ยใู่ นตลาดเป้าหมายตามทร่ี ะบไุ ว้ โดยอาจแสดงรายละเอียดโดยแบ่งตามลักษณะทางดา้ น ภมู ิศาสตร์ ประชากร

จติ วิทยา หรอื ด้านพฤติกรรม

ข้อสงั เกต

ในการแสดงขอ้ มูลทัง้ หมดตามรายละเอียดเบอื้ งต้นควรมขี ้อมลู ทเ่ี ช่อื ถือไดร้ บั รอง เชน่ ข้อมลู อุตสาหกรรม ข้อมลู การค้า สถิติ งานวิจัย จากหน่วยงานหรือสถาบันที่
เช่ือถือไดจ้ ากหน่วยงาน หรือสถาบันท่ีเป็นท่ยี อมรับหรือเปน็ ทน่ี า่ เชื่อถือ และควรมีการจดั การทาเป็นตารางหรือกราฟประกอบเพ่อื ให้สะดวกแกก่ ารเขา้ ใจ และควรแสดง
แหล่งท่ีมาของการอ้างอิงของขอ้ มลู ประกอบใหช้ ดั เจนดว้ ย ในกรณที ี่มีการใช้ขอ้ มูลอ้างอิงจากภายนอก

5.6 สภาพการ เปน็
แขง่ ขัน

การแสดงข้อมลู ด้านสภาวะการแขง่ ขันของสินคา้ ขายที่มีอยูใ่ นตลาดวา่ อยใู่ นสภาวะการแขง่ ขนั ในระดับใด รวมถึงแนวโนม้ สภาวะการแข่งขันว่าจะเปล่ียนแปลงไป

5.7 คแู่ ข่งขัน

เปน็ การแสดงรายละเอียดเกย่ี วกบั คู่แข่งขนั ของการบรกิ ารท่ีมีอยู่ในตลาด โดยการแสดงข้อมูลควรแบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั คือ คู่แข่งขนั หลักอาจจะกาหนดจาก
ลกั ษณะของสินค้ายอดขาย ทม่ี ีลักษณะเดียวกนั หรือขนาดใกลเ้ คยี งกบั ธุรกิจ และคแู่ ข่งขนั รองซงึ่ อาจมีลกั ษณะใกล้เคียงกับยอดขาย หรอื ขนาดท่ีด้อยกว่าธุรกิจ หรือเป็นสนิ คา้
ทดแทนและควรระบุรายละเอียดเกย่ี วกบั คูแ่ ขง่ ขนั ให้ชัดเจนไม่ว่าจะเปน็ ลกั ษณะสนิ ค้า ยอดขาย ราคาต่อหนว่ ยกลยทุ ธ์ หรอื กล่มุ ลกู ค้าของคู่แขง่ ขัน เป็นต้น

5.8 รายละเอยี ดการเปรียบเทยี บกบั คู่แขง่ ขนั

เป็นการแสดงรายเอียดเก่ียวกับการเปรียบเทียบจุดแขง็ และจุดอ่อน หรอื จดุ ดีและจดุ ดอ้ ยของธุรกิจทดี่ าเนินการกบั คู่แข่งท่ีมสี นิ ค้าประเภทเดียวกนั ท่มี ีอย่ขู องคู่
แข่งขันในตลาดตามทีร่ ะบุไว้ โดยการเปรียบเทยี บควรเปรียบกับค่แู ขง่ ที่ใกลเ้ คียงหรือเปรยี บเทียบกับธุรกจิ ในสว่ นของการดาเนนิ ธรุ กจิ เช่น ยอดขายสนิ ค้า แต่อยา่ งไรก็ตาม
ควรจะตอ้ งเป็นธุรกิจของคแู่ ขง่ ในระดับทสี่ ามารถเปรยี บเทียบกันได้ทั้งในระดับเหนอื กว่า เทยี บเท่า และตา่ กวา่ การเปรียบเทียบอาจเปรียบเทยี บตามลกั ษณะของ 4Ps คอื
เปรยี บเทียบด้านผลิตภณั ฑ์หรือสนิ ค้า เปรยี บเทยี บด้านราคา เปรียบเทยี บด้านชอ่ งทางจดั จาหน่าย เปรียบเทยี บด้านการสง่ เสริมการขาย เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดกล
ยทุ ธท์ างการตลาดในการแข่งขนั ตอ่ ไป อาจแสดงรปู กราฟหรอื แผนภูมิตา่ ง ๆ ประกอบการแสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกบั ตาแหนง่ ทางการตลาด เช่น ยอดขานตลาดโดนรวม
ยอดขายทตี่ ้องการ เปน็ ตน้ ซึ่งในกรณีมีการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลอ้างองิ ประกอบดว้ ย

ขอ้ สังเกต

ในการแสดงข้อมลู ทง้ั หมดตามรายละเอียดเบอื้ งต้น ควรมีขอ้ มูลท่ีเช่อื ถอื ไดร้ องรบั เช่น ข้อมูลอุตสาหกรรม ข้อมลู การค้า สถิติ งานวิจัย จากหน่วยงานหรอื สถาบันท่ี
เช่ือถอื ได้และเป็นทยี่ อมรบั หรือเปน็ ท่นี ่าเชื่อถือ และควรมกี ารจดั ทาแบบตารางหรอื กราฟประกอบเพ่อื ให้สะดวดแก่การเขา้ ใจ ควรแสดงแหล่งที่มาของการอ้างอิงของข้อมลู
ประกอบใหช้ ัดเจนดว้ ย ในกรณที ี่มีการใช้ขอ้ มูลอ้างองิ จากภายนอก

5.9 การวิเคราะห์ปัจจยั ของธุรกิจ หรอื SWOT Analysis

เป็นการแสดงรายละเอียดการวเิ คราะห์สถานการณ์ในการดาเนินธุรกจิ หรอื การวิเคราะห์ปัจจยั ภายใน หรอื ของตวั ธรุ กจิ เอง และปัจจยั ภายนอกหรือสิง่ ที่อยภู่ ายนอก
ธุรกจิ ซึ่งธุรกจิ ไม่สามารถควบคมุ ไดซ้ ึ่งส่งผลตอ่ การดาเนนิ การของธุรกจิ

6. แผนการบรหิ ารจัดการ

6.1 ขอ้ มลู ธรุ กจิ


Click to View FlipBook Version