The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บาร์โค้ดแล้วคิวอาร์โค้ด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 631599002, 2021-05-09 05:44:43

บาร์โค้ดแล้วคิวอาร์โค้ด

บาร์โค้ดแล้วคิวอาร์โค้ด

รายงาน
เร่อื ง บาร์โค้ด และคิวอารโ์ คด้

จดั ทำโดย
นายสมศักดิ์ ศรพี รม
รหสั นกั ศกึ ษา 631599002

เสนอ
อาจารย์ ผศ.ดร.วชั ระ วธั นารวี

รายงานฉบบั นี้เป็นสว่ นหน่ึงของการเรียนวชิ า
LEM4402 เทคโนโลยแี ละระบบสารสนเทศสำหรับโลจสิ ตกิ ส์
สาขาวชิ าวิศวกรรมโลจสิ ตกิ ส์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงราย ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2563



คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา LEM4402 เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ
สำหรับโลจิสติกส์ ผู้จัดทำได้ทำการศึกษาเรื่อง บาร์โค้ด (Barcode) และคิวอาร์โค้ด (QR Code) เป็น
การศึกษาเชงิ ค้นควา้ ข้อมลู จากแหลง่ ต่าง ๆ โดยมีวัตถปุ ระสงคก์ ารศกึ ษา เพื่อศึกษา บาร์โค้ด(barcode)
หรอื ในภาษาไทยเรียกว่ารหสั แทง่ และ คิวอารโ์ คด้ (QR Code) เป็นบารโ์ ค้ด 2 มิติ

ผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.วัชระ วัธนารวี ผู้ให้ความรู้และให้แนวทางในการศึกษา ทาง
ผจู้ ดั ทำหวงั วา่ รายงานฉบบั นจี้ ะใหค้ วามรแู้ ละเปน็ ประโยชน์แกผ่ ูอ้ า่ นทกุ ๆท่าน

สมศกั ด์ิ ศรีพรม
เมษายน 2564



สารบญั

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข

1. บารโ์ คด้ (Barcode) 1
1.1.บาร์โค้ด (Barcode) คอื อะไร 1
1.2.วิวฒั นาการ บารโ์ คด้ 2
1.3.ประเภทของบาร์โค้ด 4
1.4.ประโยชน์ "บาร์โคด้ " กบั ธรุ กจิ 5
1.5.บารโ์ ค้ดชว่ ยอะไรได้บ้าง 6
1.6.บารโ์ ค้ด ใชก้ ับธุรกจิ ใดบ้าง
7
2. Barcode Scanner (เครอื่ งอา่ นบารโ์ คด้ ) 7
2.1.Barcode Scanner (เครอ่ื งอา่ นบารโ์ คด้ ) 7
2.2.ประเภทของเครือ่ งอ่านบารโ์ คด้ 8
2.3.ประเภทของหัวอา่ น เครื่องอ่านบารโ์ ค้ดแบบไมส่ ัมผสั 9
2.4.ประเภทของหวั อ่านลกั ษณะพเิ ศษ ของเครอื่ งอา่ นบาร์โคด้ 10
2.5.ประเภทเคร่ืองอา่ นบารโ์ ค้ด แยกตามลักษณะการใช้งาน 11
2.6.เครื่องอ่านบาร์โคด้ แยกตามประเภทหวั อ่านบาร์โคด้ 2 ประเภท 11
2.7. เครอ่ื งอ่านบาร์โค้ด แยกตามประเภท การเช่ือมตอ่ 2 ประเภท 13
2.8. เครื่องอ่านบารโ์ ค้ด แยกตามวิธกี ารใช้งาน 14
2.9. วธิ กี ารเลอื กซื้อ เครื่องอา่ นบารโ์ คด้ ใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน
2.10. ข้อมลู เฉพาะ ท่ีควรทราบเกีย่ วกบั เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Scanner Barcode) 15
15
3. Barcode Printer (เครื่องพมิ พบ์ ารโ์ คด้ )
3.1. Barcode Printer (เคร่อื งพมิ พ์บารโ์ ค้ด) 16
3.2. เครอื่ งพิมพ์บารโ์ คด้ แบ่ง 2 ระบบ คือ Thermal Transfer และ Direct
Thermal
3.3. ประเภทของเคร่ืองพมิ พ์บารโ์ ค้ด



สารบญั (ตอ่ ) หน้า
17
เรื่อง
3.4. ประเภทของส่อื (Media Type) ท่ีใช้กับเครื่องพิมพ์บารโ์ ค้ด มที ง้ั หมด 3 18
ประเภท 19
3.5. การเลือกช้ือเครื่องพิมพ์บารโ์ คด้
3.6. ขอ้ มูล เฉพาะ ทค่ี วรทราบเก่ยี วกับ เครื่องอ่านบาร์โคด้ (Scanner Barcode) 20
20
4. QR Code 21
4.1.QR code คอื อะไร 22
4.2.QR Code 23
4.3.คณุ สมบัติของ QR CODE 23
4.4. Symbol Version 25
4.5. การใชง้ าน QR CODE
4.6. QR CODE กับอุตสาหกรรม 26
4.7. QR CODE กบั การสือ่ สารการตลาด 28
32
5. การสรา้ ง QR code 34
5.1 ขัน้ ตอนการสร้าง QR Code
5.2. การนำไปใช้ให้เข้ากับการประกอบธรุ กจิ
บทสรปุ
บรรณานกุ รม

1

บารโ์ คด้ (Barcode)

1.1.บาร์โค้ด (Barcode) คืออะไร

บาร์โค้ด(barcode) หรือในภาษาไทยเรียกว่า “รหัสแท่ง” ประกอบด้วยเส้นมืด(มักจะเป็นสีดำ)
และเสน้ สวา่ ง(มกั เปน็ สีขาว)วางเรียงกันเป็นแนวดงิ่ เปน็ รหสั แทนตวั เลขและตวั อกั ษร ใชเ้ พ่อื อำนวยความ
สะดวกให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านรหัสข้อมูลได้ง่ายขึ้น โดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด ( Barcode
Scanner) ซึ่งจะทำงานไดร้ วดเรว็ และช่วยลดความผิดพลาดในการคีย์ขอ้ มูลได้มาก บาร์โคด้ เริ่มกำเนิดข้ึน
เมื่อ ค.ศ. 1950 โดยประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจทางด้านพาณิชย์ขึ้นสำหรับ
ค้นคว้ารหัสมาตรฐานและสัญลักษณ์ที่สามารถช่วยกิจการด้านอุตสาหกรรมและสามารถจัดพิมพ์ระบบ
บาร์โคด้ ระบบ UPC-Uniform ขนึ้ ได้ในปี 1973 ต่อมาในปี 1975 กลุ่มประเทศยโุ รปจัดตง้ั คณะกรรมการ
ด้านวิชาการเพื่อสรา้ งระบบบาร์โค้ดเรียกวา่ EAN-European Article Numbering สมาคม EAN เติบโต
ครอบคลุมยุโรปและประเทศอืน่ ๆ (ยกเว้นอเมริกาเหนอื ) และระบบบาร์โค้ด EAN เริ่มเข้ามาในประเทศ
ไทยเมือ่ ป1ี 987

โดยหลักการแล้วบาร์โค้ดจะถูกอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์ บันทึกข้อมูลเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์
โดยตรงไม่ต้องกดปุ่มที่แท่นพิมพ์ ทำให้มีความสะดวก รวดเร็วในการทำงานรวมถึงอ่านข้อมูลได้อย่าง
ถูกต้องแม่นยำ เชื่อถือได้ และจะเห็นได้ชัดเจนว่าปัจจุบันระบบบาร์โค้ดเข้าไปมีบทบาทในทุกส่วนของ
อุตสาหกรรมการค้าขาย และการบริการ ที่ต้องใช้การบรหิ ารจัดการขอ้ มูลจากฐานข้อมลู ในคอมพิวเตอร์
และปจั จุบนั มกี ระประยกุ ตก์ ารใช้งานบารโ์ ค้ดเข้ากับการใช้งานของMobile Computer ซึ่งสามารถพกพา
ไดส้ ะดวก เพ่อื ทำการจดั เกบ็ แสดงผล ตรวจสอบ และประมวลในดา้ นอนื่ ๆ ได้ดว้ ย

1.2.ววิ ัฒนาการ บาร์โคด้

เดิมนั้น บาร์โค้ด จะถูกนำมาใช้ในร้านขายของชำ, ปกหนังสือ, ร้านอุปกรณ์ประกอบรถยนต์และ
ร้านอุปโภคบริโภคทั่วไป ในแถบยุโรป รถบรรทุกทุกคนั ท่ีจะต้องว่ิงระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศ
เยอรมนี จะต้องใช้แถบรหัสบาร์โค้ดทีห่ น้าต่างทุกคันเพื่อใช้ในการแสดงใบขับขี่ ใบอนุญาต และน้ำหนัก

2

รถบรรทุกเพื่อใหเ้ จ้าหน้าท่ีศุลกากรสามารถตรวจได้ง่ายและรวดเรว็ ในขณะที่รถลดความเร็วเครื่องตรวจ
จะอา่ นขอ้ มลู จากบารโ์ ค้ด และแสดงข้อมลู บนเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ันที
เพื่อให้เข้าใจง่าย เราจะทำการแยกบาร์โค้ดออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ บาร์โค้ด 1 มิติ(Barcode 1D), 2
มติ (ิ Barcode 2D) และ 3 มติ (ิ Barcode 3D)

1.3.ประเภทของบารโ์ คด้

1.3.1.บารโ์ ค้ด 1 มิติ(Barcode 1D)
บารโ์ คด้ 1 มิติมลี ักษณะเป็นแถบประกอบด้วยเสน้ สีดำสลับกับเส้นสีขาว ใช้แทนรหัสตัวเลขหรือ
ตวั อกั ษรโดยสามารถบรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัวอักษร การใช้งานบาร์โคด้ มักใช้ร่วมกับฐานข้อมูลคือ
เมอ่ื อ่านบาร์โค้ดและถอดรหัสแล้วจึงนำรหัสที่ได้ใชเ้ รยี กขอ้ มลู จากฐานขอ้ มูลอกี ต่อหนึ่ง
ตวั อยา่ งประเภทของ บารโ์ ค้ด 1 มติ ิ เช่น Code 39, Code 128, Code EAN-13 ฯโดยขอ้ มูลในตัว
บาร์โค้ด คือ "123456789012" แต่ลักษณะของบาร์โค้ดจะเปลี่ยนแปลงตามประเภทของบาร์โค้ดนั้นๆ
ตามรปู ตัวอย่าง

3

Barcode EAN-13เป็นบาร์โค้ด ที่ประเทศไทยเลือกใช้งาน ซึ่งบาร์โค้ดดังกล่าวจะทำการ
ลงทะเบียนบาร์โค้ดก่อน จึงจะสามารถไปใช้งานกับสินค้าได้โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย (Thai
Article Numbering Council) หรือ TANC เป็นองค์กรตัวแทน EAN ภายใต้การดูแลของสภา
อุตสาหกรรมกรรมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ระบบ EAN ที่ประเทศไทยใช้น้ันจะมีลักษณะเป็นเลขชุด 13
หลัก

หลักฐานประกอบการสมัคร

ลำดบั รำยกำร บคุ คล รำ้ นคำ้ บรษิ ทั /
ธรรมดำ หจก.
1 สำเนำบัตรประจำตวั ประชำชน X
2 สำเนำทะเบยี นบำ้ น X X X
3 สำเนำบตั รประจำตัวผูเ้ สยี ภำษี X X X
4 สำเนำใบ ภ.ง.ด.90,91 หรอื สำเนำใบเสรจ็ ชำระ X X
X X
ภำษี X X
5 สำเนำใบทะเบยี นพำณชิ ย์
6 สำเนำหนังสอื รบั รองกำรจดทะเบยี นบรษิ ัท X
7 สำเนำใบสำคัญแสดงกำรจดทะเบยี นบรษิ ัท
XX
หรอื ใบทะเบยี นกำรคำ้
9 สำเนำหนังสอื จดทะเบยี นภำษีมลู คำ่ เพมิ่ (ภพ.

20,ภพ.01 หรอื ภพ.09)
10 สำเนำงบกำไรขำดทนุ ของปีทผ่ี ำ่ นมำ
11 ใบสมคั รสมำชกิ ของสถำบนั ฯ

1.3.2.บาร์โคด้ 2 มติ ิ(Barcode 2D)

บาร์โค้ด 2 มิติเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1 มิติ โดยออกแบบให้บรรจุได้ทั้งใน
แนวตัง้ และแนวนอน ทำให้สามารถบรรจขุ ้อมูลมากไดป้ ระมาณ 4,000 ตัวอักษรหรือประมาณ 200 เท่า
ของบารโ์ คด้ 1 มิติในพื้นทีเ่ ทา่ กันหรอื เลก็ กว่า ขอ้ มลู ท่บี รรจสุ ามารถใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้
เชน่ ภาษาญี่ปุน่ จนี หรือเกาหลี เป็นต้นและบาร์โคด้ 2 มติ สิ ามารถถอดรหัสได้แมภ้ าพบาร์โค้ดบางส่วนมี
การเสียหาย อปุ กรณท์ ใ่ี ช้อ่านและถอดรหัสบาร์โค้ด 2 มติ มิ ตี ้งั แต่เคร่ืองอ่านแบบซีซีดีหรือเครื่องอ่านแบบ
เลเซอร์เหมือนกับของบาร์โค้ด 1 มิติจนถึงโทรศัพท์มือถือแบบมีกล้องถ่ายรูปในตัวซึ่งติดตั้งโปรแกรม

4

ถอดรหัสไว้ ในส่วนลักษณะของบาร์โค้ด 2 มิติมีอยู่อย่างมากมายตามชนิดของบาร์โค้ด เช่น วงกลม
สี่เหลย่ี มจัตรุ ัส หรอื สี่เหลี่ยมผนื ผ้าคล้ายกบั บารโ์ ค้ด 2 มติ ิ ดงั รูปที่ 2 เปน็ ต้น ตวั อย่างบารโ์ คด้ 2 มิติ ไดแ้ ก่
PD417, MaxiCode, Data Matrix, และ QR Code

1.3.3.บาร์โคด้ 3 มติ ิ(Barcode 3D)
บารโ์ คด้ 3 มิตเิ ป็นเทคโนโลยที ่พี ัฒนาเพม่ิ เติมจากบาร์โค้ด 2 มติ ิเพื่อบารโ์ ค้ดตดิ บนวตั ถไุ ด้นาน ทน
ต่อสภาพสิ่งแวดล้อม โดยการยิงเลเซอร์ หรือทำการสลักตัวบาร์โค้ดลงไปบนเนื้อวัตถุโดยตรง ทำให้
บารโ์ ค้ดมีลกั ษณะสงู หรอื ต่ำกว่าพ้นื ผิวขึ้นมา โดยเราจะพบลักษณะบารโ์ ค้ดดงั กล่าว ในกลุ่มอุตสาหกรรม
ยานยนต์ เครื่องมือแพทย์ แผงวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ตวั อย่างบารโ์ ค้ด 3 มติ ิ

1.4.ประโยชน์ "บารโ์ ค้ด" กบั ธุรกจิ

บาร์โค้ด หมายถึง เลขหมายประจำตัวสินค้า สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องสแกนเนอร์บาร์โค้ด โดย
อาศัยหลักของการสะทอ้ นแสง หรอื การถ่ายภาพประมวลผล นยิ มใชก้ บั สินค้าอปุ โภคบรโิ ภคแทบทุกชนิด
และสินค้าสำเร็จรูปต่าง ๆ การออกเลขหมายให้กับสินค้าแต่ละตัวจะช่วยให้การติดต่อกันระหว่างผู้ค้า
(ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้จัดจำหน่าย และผู้ค้าปลีก) สามารถทำงานได้ราบรื่นขึ้น เปรียบได้กับบัตรประจำตัว

5

ประชาชนที่เป็นเครื่องชี้บอกถึงความแตกต่างกันของแต่ละคน เลขหมายประจำตัวสินค้าก็เป็นเครื่อง
ช้ีบอกถึงความแตกต่างของสนิ ค้าชนิดนน้ั กับสินคา้ อื่น ๆ

สินคา้ ทกุ ชนดิ ทีม่ ีความแตกต่างกนั ไมว่ า่ จะเป็น ขนาด สี จำนวนบรรจุ จะมีเลขหมายประจำตัวสินค้า
ต่างกัน ตัวอย่างเช่น ไอศกรีมรสวนิลาจะมีเลขหมายประจำตัวคนละเลขหมายต่างจากไอศกรีมรส
ชอ็ กโกแลต หรอื ในกรณีกล่องใหญท่ บี่ รรจถุ ว้ ย 12 ใบ จะมีเลขหมายประจำตัวแตกต่างจากถว้ ย 1 ใบ

1.5.บารโ์ ค้ดช่วยอะไรได้บา้ ง

การนำบาร์โค้ดมาใชใ้ นธรุ กิจการคา้ จะมคี ณุ ประโยชน์หลายประการ คอื
1. ลดขนั้ ตอนและประหยัดเวลาการทำงาน การซอื้ -ขาย สินคา้ จะมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น

โดยเฉพาะการรบั ชำระเงนิ การออกใบเสร็จ การตัดสินคา้ คงคลัง
2. ง่ายต่อระบบสินค้าคงคลังคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมกับเครื่องสแกนเนอร์จะตัดยอดสินค้าโดย

อัตโนมัติ จึงสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการหมุนเวียนสินค้า สินค้ารายการใดจำหน่ายได้ดหี รือไม่ มีสินค้า
เหลือเท่าใด

3. ยกระดับมาตรฐานสินค้า การระบุแหล่งผลิตของประเทศแต่ละราย ทำให้ผู้ผลิตปรับปรุง
คุณภาพเพือ่ รกั ษาภาพพจน์ของสินค้าและสอดคล้องกบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่องสัญลกั ษณ์
รหสั แทง่ สำหรบั แสดงข้อมูลสนิ คา้

4. สร้างศักยภาพเชิงแข่งขนั ในตลาดต่างประเทศ รหัสแท่งเป็นเครื่องบง่ ช้ีถงึ สินค้าท่ีมีคุณภาพดี
เชื่อถือได้ การมีรหัสประจำตัวของแต่ละประเทศทำให้ผู้ที่สนใจซื้อสนิ คา้ สามารถทราบถงึ แหล่งผลิตและ
ตดิ ตอ่ ซ้ือ-ขายกนั ไดส้ ะดวกโดยตรง เป็นการพฒั นาบรรจภุ ัณฑ์เพ่ือการส่งออก

5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ข้อมูลจากระบบรหัสแท่ง จะช่วยให้ผู้ประกอบธุรกิจสามารถ
ตัดสินใจวางแผน และบริหารงานด้านการผลิต การจัดซื้อ และการตลาดได้อย่างรวดเร็ว และมี
ประสิทธิภาพ

6

1.6.บาร์โคด้ ใช้กบั ธุรกจิ ใดบ้าง

ดา้ นผูผ้ ลิต เลขหมายประจำตวั สนิ คา้ ก่อใหเ้ กิดวิวัฒนาการด้านบรรจุภณั ฑ์ ตามหลักการ "หีบห่อก่อ
ผลกำไรงาม" เลขหมายประจำตัวของผู้ผลิตแต่ละรายจะมีส่วนชว่ ยบง่ บอกถึงคุณภาพของสินค้าและแหล่ง
ติดตอ่ ของผู้ผลติ โอกาสทางการตลาดของผูผ้ ลติ จึงเปิดกว้างไปอีกมาก

สำหรบั ผู้คา้ ส่งหรือผู้นำเข้าในตา่ งประเทศ มขี ้อมูลเกี่ยวกบั ผ้ผู ลติ หรอื แหล่งผลิตทีจ่ ะสามารถจัดหา
สินคา้ ได้สะดวกและกวา้ งขวางออกไป ตลอดจนมโี อกาสซอื้ สนิ ค้าทีม่ ีคุณภาพไดม้ าตรฐาน รวมทัง้ สามารถ
ใช้ประโยชนด์ า้ นระบบขอ้ มูลเพื่อการบริหารงาน โดยเฉพาะขอ้ มลู ดา้ นการขายและสินค้าคงคลงั

กับระบบการค้าปลีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าปลีกขนาดใหญ่แบบ Supermarket หรือ Mass
market ระบบเลขหมายประจำตัวสนิ ค้าและสัญลกั ษณ์รหัสแทง่ จะช่วยใหก้ ารคิดเงนิ และการเกบ็ เงินของ
พนกั งานถกู ต้องและรวดเรว็ มาก จึงสามารถบริการลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว นอกจากนยี้ ังไม่ต้องตดิ ป้ายบอก
ราคาสินค้าซึ่งมีเป็นจำนวนมากบนสินค้าแต่ละชิ้น ทำให้ลดปริมาณงานลงและสะดวกต่อการปรับราคา
ขาย

รปู ภาพตวั อยา่ งการนำ "บาร์โค้ด" มาใช้งาน

7

Barcode Scanner (เครื่องอา่ นบารโ์ ค้ด)

2.1.Barcode Scanner (เครือ่ งอา่ นบารโ์ ค้ด)

Barcode Scanner (เครื่องอ่านบาร์โค้ด) คือ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลที่อยู่ในแท่งบาร์โค้ด
แล้วแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถเข้าใจไปยังคอมพิวเตอร์ เหมือนกับการใช้งานแป้นพิมพ์ เพื่อเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพในเร่ืองความเร็ว แมน่ ยำ ซ่งึ ชว่ ยลดความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์ข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์
ซง่ึ สว่ นใหญข่ ้อมูลทไ่ี ดจ้ ากเครอ่ื งอา่ นบาร์โค้ดจะนำไปใช้งานรว่ มกบั ระบบ ช่วยในการจดั การขอ้ มูลได้อย่าง
มีประสทิ ธิภาพสงู สุดในการทำงาน

2.2.ประเภทของเคร่อื งอ่านบาร์โค้ด

สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่
1. เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส : โดยตัวเครื่องจะสัมผัสกับพื้นผิวบาร์โค้ดโดยตรง ซึ่งเครื่องลักษณะ
ดังกลา่ วจะมีผลกระทบทำให้บารโ์ ค้ดเสยี หายจากการสมั ผัส หรือเสียดสี
2. เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบไม่สัมผัส : โดยตัวเครื่องจะใช้หลักการสะท้อนของแสง หรือการถ่ายภาพตัว
บาร์โค้ดเพื่อทำการประมวลผลเป็นข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ในที่นี้เราจะกล่าวถึงเฉพาะ
เครือ่ งอ่านบาร์โคด้ แบบสมั ผสั ซง่ึ สว่ นใหญ่ใช้งานกันอย่ใู นปัจจุบนั

2.3.ประเภทของหัวอ่าน เครือ่ งอา่ นบาร์โค้ดแบบไมส่ ัมผัส
แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คอื CCD, Laser, Omni-Directional และ Imager
1. CCD Scannerจะเป็นเครื่องอ่านบารโ์ ค้ดท่ีมีลกั ษณะเป็นตัวปืน ลำแสงมีความหนา มีข้อดีใน

การใช้งานกลางแจ้งบริเวณที่มีแสงสว่างมากๆ แต่ข้อเสียก็คือการยิงบาร์โค้ดด้วยเครื่องอ่านชนิดนี้
จำเป็นตอ้ งใชก้ บั บารโ์ ค้ดที่มลี กั ษณะพ้ืนผวิ แบนเรียบเท่านนั้ จำเปน็ ตอ้ งยิงในระยะที่ไม่หา่ งจากตัวบารโ์ ค้ด
มากเกนิ 1 นิว้ และความสามารถอ่านบาร์โคด้ ทมี่ ีความละเอยี ดของแทง่ บารโ์ ค้ดมากได้ลำบาก

8

2. Laser Scannerเป็นเครื่องอา่ นบาร์โค้ดทีม่ ีท้งั แบบพกพาติดตวั และการติดตั้งอยู่กับที่ มีข้อดีที่
สามารถอ่านข้อมูลบาร์โค้ดในระยะที่ห่างจากตัวบาร์โค้ดได้พอสมควร การยิงจะใช้แสงเลเซอร์ยิงผ่าน
กระจกและไปตกกระทบที่ตัวบาร์โค้ดเพื่ออ่านขอ้ มูลจากแสงสะท้อนท่ีย้อนกลับมาท่ีตัวรับแสง ในการยิง
จะเป็นการฉายแสงเลเซอร์ออกมาเป็นเส้นตรงเส้นเดียว มีขนาดเล็ก และความถี่เดียว แสงเลเซอร์จึงไม่
กระจายออกไปนอกพื้นที่ที่ต้องการอ่านข้อมูลทำให้สามารถอ่านรหัสที่มีขนาดเล็กได้ดี นอกจากนี้ใน
หลายๆรุ่นยังสามารถตั้งให้ทำงานโดยอัตโนมัติได้เมื่อมีแถบบาร์โค้ดเคลื่อนผ่านหน้าหัวอ่าน โดยจะ
ประยุกต์ใชร้ ่วมกับขาตั้งเคร่อื งอา่ นบารโ์ ค้ด

3. Omni-directional Scannerเป็นเครื่องอา่ นแบบเลเซอร์ ลักษณะการทำงานเหมือนกัน แต่มี
การฉายแสงเลเซอร์ออกมาลายเส้นหลายทิศทาง มลี ักษณะตัดกันไปมาเหมือนใยแมงมุม ซึ่งจะเหมาะกับ
การอ่านบารโ์ ค้ดบนสินค้าซึง่ ไมไ่ ด้มกี ารตดิ ตำแหน่งของบาร์โค้ดในจุดเดียวกัน ซึง่ จะช่วยเพิ่มความรวดเร็ว
ในการทำงาน แต่จะมีราคาที่สูงกวา่ เครือ่ ง Laser Scanner จึงมกั นิยมใช้ในหา้ งสรรพสินคา้ ขนาดใหญ่

4. Imager Scannerเป็นเครื่องอ่านที่ใช้หลักการในการจับภาพของตัวบาร์โค้ด เช่นเดียวกันกับ
กล้องถ่ายรูป และใช้เทคนคิ การประมวลผลภาพที่ทนั สมยั ในการถอดรหัสบาร์โคด้ สามารถอา่ นบาร์โค้ดท่ี
มีขนาดเล็กมากๆได้ และสามารถทำงานได้ในระยะห่างจากบาร์โค้ดมากยิ่งขึน้ แต่จะประมวลผลข้อมูลที่
ชา้ กวา่ เครอื่ งอ่านแบบเลเซอร์อยเู่ ล็กน้อย

นอกเหนือจากที่กล่าวมาในขั้นตอน หัวอ่านของเครื่องอ่านบาร์โค้ด ยังมีลักษณะพิเศษ
เพิ่มเติม เพ่ือให้สามารถประยุกต์ใชง้ าน กบั ความตอ้ งการทหี่ ลากหลายมากขึ้น

2.4.ประเภทของหวั อ่านลักษณะพิเศษ ของเครอ่ื งอา่ นบารโ์ ค้ด

2.4.1. SR (Standard Resolution) :คอื หัวอ่านสำหรบั อา่ นบาร์โคด้ ทว่ั ไป
2.4.2. FZ (Fuzzy Logic) :คอื หวั อา่ นสำหรบั อ่านบาร์โค้ดท่ีมีลักษณะซดี จาง หรอื สีของบารโ์ คด้ มี
ความเข้มน้อยกว่าปกติ

9

2.4.3. ER (Extra long range):คือ หัวอ่านสำหรับอ่านบาร์โค้ดในระยะไกล ระยะทางไกลที่สุด
ระยะตัวเครื่องอ่าน และบาร์โค้ดประมาณ 10 เมตร ในพื้นที่ปิด เช่นในโรงงาน และบาร์โค้ดที่อา่ นต้องมี
ความใหญ่ ตามระยะทาง ที่ตอ้ งการให้อา่ น

2.4.4. OCR(Optical Character Recognition) :คือหวั อ่าน สำหรบั อ่านตวั อักษร แทนทจี่ ะอ่าน
ได้เพยี ง แทง่ บารโ์ คด้ อยา่ งเดยี วแต่ตัวอกั ษรดงั กล่าวจะต้องเปน็ ประเภท หรือ (Fonts) ท่ีตวั เครื่องรับรอง
เท่านั้น ซึ่งข้อมูลดังกลา่ ว จะขึ้นอยู่กับผูผ้ ลิตเครื่องอ่านบารโ์ คด้ ว่าออกแบบว่าตัวเคร่ืองรองรับ ประเภท
หรือ Fonts ของตวั อกั ษรชนิดใดบา้ ง

2.4.5. HD (High Density) :คือหวั อา่ น สำหรับอา่ นบารโ์ คด้ ขนาดเลก็ ซ่งึ ส่วนใหญ่จะเลก็ เกินกวา่
4 มิล(mil)

2.4.6. DP/DPM (Direct Part Marks) :คือหัวอ่าน สำหรับอ่านบาร์โค้ดที่ฝังลงบนเนื้อวัตถุ ซึ่ง
ส่วนใหญ่ จะใช้งานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องมือราคาสูง เช่น เครื่องมือ
แพทย์

เพอ่ื ใหผ้ ู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งาน เคร่อื งอา่ นบารโ์ ค้ด ใหเ้ หมาะสมกับการใช้งานมากท่ีสุด
ขอแยกลักษณะการใชง้ าน เครือ่ งอ่านบาร์โคด้ ดังนี้

2.5.ประเภทเครื่องอา่ นบาร์โคด้ แยกตามลกั ษณะการใช้งาน

2.5.1. เคร่ืองอ่านบารโ์ ค้ด แยกตามสภาพแวดลอ้ ม แยกออกเป็น 3 ประเภท
1. เครื่องอ่านบาร์โค้ดสำหรับใช้งานทัว่ ไป เช่น ร้านค้าทั่วไป สำนักงาน เหมาะสำหรับใช้งานใน

สภาพแวดลอ้ มปกติ
2. เครื่องอ่านบารโ์ คด้ สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมท่ัว เช่น โรงงานตา่ งๆ เหมาะสำหรับใช้งานหนกั

ต้องการความทนทานการทำงานของตวั เคร่ืองสงู

10

3. เครื่องอ่านบาร์โค้ดสำหรับกลุ่มงานเฉพาะทาง เช่น โรงพยาบาล อุตสาหกรรมเคมี หรือ
อุตสาหกรรมที่เน้นเรื่องความวัตถุไวไฟ และระเบิด ซึ่งจะมี เครื่องอ่านบาร์โค้ดเฉพาะ สำหรับทนต่อ
สารเคมแี ละป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ประกายไฟ

2.6. เครือ่ งอ่านบารโ์ ค้ด แยกตามประเภทหวั อา่ นบารโ์ คด้ 2 ประเภท

2.6.1. เครื่องอา่ นบาร์โค้ด หัวอ่าน 1 มิติ(1D) : หัวอ่านแบบ 1 มิติ ข้อดีคืออ่านบาร์โค้ดไดเ้ ร็ว
และสามารถระบุชัดเจนว่าอ่านบาร์โค้ดตัวไหน หากในสินค้า 1 ตัว มีบาร์โค้ดติดอยู่หลายตัว ข้อเสียคือ
อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ(2D) ไม่ได้ และแสงเครื่องอ่าน ต้องอยู่บาร์โค้ดทุกเส้นทั้งหมด จึงจะสามารถอ่านได้
ตามตวั อยา่ ง

2.6.2. เคร่ืองอา่ นบาร์โคด้ หวั อ่าน 2 มติ ิ(2D) : หัวอา่ นแบบ 2 มิติ มขี อ้ ดีคอื สามารถอ่านไดท้ งั้
บาร์โค้ด 1 มิติและ2 มิติ และสามารถบาร์โค้ดไดง้ ่าย ขอเพียงบารโ์ ค้ดอยู่กรอบแสงของหัวอา่ น และอ่าน
บาร์โค้ดหลายตัวพร้อมกันได้ภายในการอ่านคร้ังเดียว แต่บาร์โค้ดที่อ่านตอ้ งอยู่ภายในกรอบแสงทั้งหมด
ข้อเสียคือ อ่านบาร์โค้ดได้ช้ากว่า และหากมีบาร์โค้ดหลายตัวในสินค้าตัวเดยี ว จะมีปัญหาเรื่องการอา่ น
บาร์โคด้ เฉพาะตวั ท่ตี อ้ งการและราคาเคร่ืองอ่าน 2D สงู กวา่ เครอ่ื งอ่าน 1 มิติ

11

2.7. เครือ่ งอา่ นบาร์โคด้ แยกตามประเภท การเชื่อมตอ่ 2 ประเภท

2.7.1. เครอื่ งอา่ นบาร์โค้ด แบบมีสาย: คอื เคร่อื งอา่ นบารโ์ ค้ดท่อี าศัยสายสญั ญาณในการรับส่ง
ข้อมูลไปยัง Host ตัวอย่าง สายสัญญาณ เช่น USB PS2 Serial Parallel or สายสัญญาณเฉพาะสำหรับ
เคร่ืองจกั ร เช่น RS485

2.7.2. เครื่องอา่ นบาร์โค้ด แบบไร้สาย: คือเคร่อื งอา่ นบาร์โคด้ ทีอ่ าศัยสัญญาณคลน่ื วทิ ยุ ในการ
รับส่งข้อมูลไปยัง Host เช่น Bluetooth ซึ่งระยะสัญญาณจะขึน้ อยู่กับ ความแรงสัญญาณ Bluetooth,
สภาพสิ่งแวดล้อม เช่น มีสัญญาณรบกวน สิ่งกีดขวาง รวมถึงความเหมาะสมของตำแหน่ง หรือลักษณะ
การวางของตวั ส่ง และตวั รบั อยา่ งเหมาะสม

2.8. เคร่ืองอ่านบารโ์ ค้ด แยกตามวิธีการใช้งาน

2.8.1 เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบมือจับ(Handheld) คือ เครื่องอ่านบาร์โค้ดทีต่ ้องอาศัยมือจบั
สำหรบั การใชง้ านสแกนบารโ์ คด้ บนสนิ คา้ หรอื วตั ถุ ซึง่ ปจั จุบัน เคร่ืองลักษณะดงั กล่าวน้ี จะมีขาตง้ั สำหรับ
สแกนบารโ์ ค้ดซงึ่ จะทำให้อ่านบาร์โค้ดได้อตั โนมตั เิ ชน่ กัน

12

2.8.2 เคร่อื งอ่านบารโ์ ค้ด แบบตัง้ โตะ๊ (Desktop) คือ เคร่อื งอ่านบารโ์ ค้ดทอี่ อกแบบสำหรับต้ัง
บนโต๊ะโดยเฉพาะ มคี วามไวในการอ่านบาร์โคด้ เมื่อมบี าร์โคด้ ผา่ นตำแหน่งทสี่ ามารถอ่านได้ เหมาะสำหรับ
งานทต่ี อ้ งการใช้มือในการหยบิ จบั สนิ ค้า ไมส่ ะดวกท่ีจะหยบิ เครอ่ื งอ่านบาร์โคด้ ขึน้ มาอ่าน ส่วนมากใช้งาน
ตามหา้ งสรรพสนิ ค้าและโรงแรม

2.8.3 เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบ Fix Mount คือ เครื่องอ่านบาร์โค้ดที่ออกแบบสำหรับกำหนด
ที่ตั้ง โดยไม่มีการเคลื่อนที่ของเครื่องอ่านบาร์โค้ด โดยบาร์โค้ดจะเคลื่อนที่มายังตำแหน่งระยะอ่านของ
เครื่องอ่านบาร์โค้ดที่ทำการกำหนดไว้ เป็นเครื่องอา่ นทีส่ ามารถอ่านบาร์โค้ดทีม่ ีการเคลือ่ นด้วยความเร็ว
สว่ นมากจะนำเครอ่ื งอา่ นบาร์โค้ดดังกล่าว ใชง้ านกบั โรงงานสายพานการผลิต เพ่ือคัดแยกสินคา้ หรือวัตถุ
จากสายพานลำเรียง

13

2.9. วิธีการเลอื กซอื้ เครอ่ื งอ่านบาร์โคด้ ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน

2.9.1. เลือกเครือ่ งอา่ นบาร์โค้ดตามสภาพแวดล้อม หรอื สถานทีใ่ นการใช้งาน เครอ่ื งอา่ นบารโ์ ค้ด
ควรมีความทนทานเหมาะสมสำหรบั การใชง้ าน

2.9.2. เลอื กหัวอ่านของเคร่อื งอ่านบาร์โค้ด ใหเ้ หมาะสมกบั บาร์โค้ดที่เราต้องการอ่าน 1D or 2D
อย่างท่ีได้กลา่ วเบื้องตน้ เกย่ี วข้อดี และขอ้ เสยี ระหว่างหวั อ่าน 1D และ 2D

2.9.3. เลอื กหัวอ่านเฉพาะ ให้เหมาะสมกับบาร์โคด้ ที่ต้องการใช้งาน เช่น เปน็ บาร์โคด้ ขนาดท่วั ไป
ขนาดเลก็ หรือเปน็ บารโ์ คด้ ทีฝ่ งั ลงไปในวตั ถุ เพอ่ื ให้งา่ ย และรวดเร็วในการใช้งาน

2.9.4. เลือกการเชือ่ มต่อใหเ้ หมาะสมการใช้งาน
- อันดับแรก เลือกแบบมีสาย หรือ ไร้สาย โดยดูจากลักษณะการทำงานจริง ว่าแบบ

ไหนเหมาะสำหรับการใชง้ านท่ีสุด
- อันดับสอง เลือกการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ Host หรือ Software ที่ใช้งานอยู่อย่าง

เหมาะสม เชน่ คอมพิวเตอรร์ องรับการเช่อื มต่อแบบไหนบ้าง แบบไหนเหมาะสมในการเชื่อมต่อ
หรอื Software รองรับการเช่ือมตอ่ แบบไหนไดบ้ า้ ง
2.9.5. เลือกเครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่เหมาะกับวิธีการใช้งานของเรา เช่น แบบมือจับ ตั้งโต๊ะ หรือ
Fix-mount
2.9.6. เลือกเครอื่ งอ่านบาร์โคด้ โดยดทู ีร่ าคา ยห่ี ้อ ทเ่ี หมาะสมกบั องค์กร หรือ งบประมาณที่มอี ยู่
2.9.7. เลือกเครื่องอ่านบาร์โค้ด จากผู้ขายที่ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถเลือกอุปกรณ์ที่
เหมาะสมกับองคก์ รของเรา ไม่ใชเ่ ลอื กแค่เพียงราคาสนิ ค้าเพียงอยา่ งเดยี ว เน่ืองจากเคร่ืองอ่านบาร์โค้ดใน
ปัจจบุ นั มีหลากหลาย
2.9.8. เลือกเครอื่ งอ่านบาร์โค้ด จากบริษัทที่พร้อมให้ความชว่ ยเหลือเรื่องการใชง้ าน และบริการ
หลงั การขาย

14

2.10. ข้อมูล เฉพาะ ท่ีควรทราบเก่ยี วกับ เครอ่ื งอ่านบารโ์ คด้ (Scanner Barcode)

- ขนาดของตวั บาร์โคด้ เราจะเรียกว่า มลิ (mil) : 1 มิล= 0.0254 มลิ ลิเมตร
- ขนาดของตัวบารโ์ ค้ดที่เรียกวา่ "มลิ " เราจะวดั ชอ่ งว่างระยะหา่ ง ของแทง่ บาร์โคด้ ทเ่ี ล็กมากท่ีสุด
ไม่ได้หมายถึงขนาดของตัวบาร์โค้ดทัง้ หมด ซึ่งค่า มิล ของบาร์โค้ด เท่ากับ ขนาดของบาร์โค้ดทั้งหมด +
ข้อมลู

จากภาพตัวอยา่ งดา้ นบน จะเหน็ ได้วา่ "ขนาดบาร์โคด้ 1.78 x 0.50 น้ิว มขี อ้ มลู (AIO12345678 Scanner
Barcode)" มคี ่า "มิล" น้อยกวา่ "ขนาดบารโ์ ค้ด 1.53 x 0.50 น้ิว มีขอ้ มลู (AIO12345678)"

ค่า "มลิ " จะมีผลโดยกับอา่ นบาร์โค้ด ของเครอ่ื งอ่านบาร์โคด้ ซง่ึ เครื่องอา่ นบารโ์ ค้ดแต่ละรุ่น
จะระบุคา่ "มิล" ที่สามารถอา่ นบารโ์ คด้ ตาม เอกสารคุณสมบัติ ของเคร่ืองอา่ นบาร์โค้ด

- Host หมายถึง อุปกรณ์ฝั่งรับข้อมูลจาก เครื่องอ่านบาร์โค้ด ซึ่งอาจจะหมายถึง คอมพิวเตอร์
เครื่องจักร สมาร์ทโฟน หรอื อุปกรณ์ทกุ ชนิดทส่ี ามารถรบั ขอ้ มลู จากเครือ่ งอา่ นบาร์โค้ดได้

- สายสัญญาณ RS232 or Serial เป็นสายสัญญาณชนดิ เดียวกัน และสายสัญญาณแบบ RS232
ท่ีใช้งานกับ เครื่องอ่านบารโ์ คด้ ส่วนใหญ่ จะต้องใชง้ านรว่ มกบั ตัวจ่ายไฟ หรือ Adapter เสมอ เนื่องจาก
Host ไมไ่ ด้จา่ ยไฟผา่ นสาย RS232

- การวัดระยะสัญญาณของเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบไร้สาย ที่ระบุตามคุณสมบัติของตัวเครื่อง
ข้อมูลระยะสัญญาณที่ทำการระบุไว้ หมายถึง การวัดระยะในห้องที่ควบคุมสิ่งแวดล้อม ไร้ซึ่งสัญญาณ
รบกวน และสิ่งกดี ขวางสัญญาณ หากนำมาใช้งานจรงิ ระยะสัญญาณอาจจะลดลงตามสภาพสิ่งแวดล้อม
และสง่ิ กดี ขวาง

15

Barcode Printer (เครือ่ งพิมพ์บารโ์ คด้ )

3.1. Barcode Printer (เครอื่ งพิมพบ์ าร์โค้ด)

เครอื่ งพิมพบ์ ารโ์ ค้ด คือ เคร่อื งพมิ พ์ สำหรับพิมพบ์ าร์โค้ดโดยเฉพาะ โดยลักษณะการทำงานของ
เครื่องพิมพ์ ใช้ความร้อนในการพิมพ์บาร์โค้ดลงบนสื่อต่างๆ ที่ทำขึ้นมาสำหรับใช้งานกับตัวเครื่องพิมพ์
บาร์โค้ดโดยเฉพาะ ซึ่งเครอ่ื งพมิ พ์บารโ์ ค้ดทวั่ ไป จะมีความละเอยี ดของหวั พมิ พ์นอ้ ยกว่าเครื่องพิมพ์ทั่วไป
คือมีความละเอียดของหวั พิมพ์อยู่ระหวา่ ง 200 - 600 Dpi และพิมพไ์ ดเ้ พียง 1 สีเท่านนั้ (Monotone)

แต่เน่ืองจากเครือ่ งพมิ พบ์ ารโ์ ค้ด มีความเร็วในการพมิ พส์ ูง และสามารถพมิ พ์บารโ์ คด้ ออกไดอ้ ย่าง
ชัดเจน และเหมาะสมกับการพิมพ์บาร์โค้ดสำหรับติดลงวัตถุ หรือสินค้า จึงนิยมใชก้ ันอย่างแพร่หลายใน
ปัจจบุ นั

3.2. เคร่อื งพิมพ์บาร์โคด้ แบ่ง 2 ระบบ คือ Thermal Transfer และ Direct Thermal

3.2.1. ระบบพมิ พผ์ า่ นผา้ หมกึ (Thermal Transfer) คอื ระบบการพมิ พ์ทตี่ ้องอาศัยผา้ หมึกใน
การพิมพ์ โดยตัวเครื่องพมิ พ์บาร์โค้ดจะส่งความรอ้ นไปยงั หวั พิมพ์เพื่อละลายหมึกบนผ้าหมึกใหต้ ิดสื่อท่ี
ตอ้ งการ ซง่ึ ผ้าหมกึ ทีเ่ ราใช้กับเคร่อื งพิมพบ์ าร์โค้ด เรยี กว่า รบิ บอน(Ribbon) ระบบการพิมพ์แบบผ่านริบ
บอนใหค้ วามคงทน

ริบบอน(Ribbon) เครื่องพิมพ์บารโ์ ค้ด
แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื Ribbon Wax, Ribbon Wax-Resin, และ Ribbon Resin
- Ribbon Wax คอื ผ้าหมกึ คุณภาพตำ่ สุด ความคงทนน้อย นำใช้ส่ือทั่วไป เช่น สต๊กิ เกอร์ดาษมัน
สต๊ิกเกอร์กง่ึ มันกึ่งดาษ
- Ribbon Wax-Resin คือ ผ้าหมึกคุณภาพกลาง มีความคงทน นำไปใช้กับสื่อที่ต้องการความ
คงทน เชน่ สติก๊ เกอร์เนื้อผสมพลาสตกิ ที่ใช้งานในหอ้ งเย็น

16

- Ribbon Resin คือ ผ้าหมึกคุณภาพสูง มีความทนทานสูง ทนรอยขีดข่วน ทนความร้อน
นำไปใชก้ ับส่อื ท่ีตอ้ งการความทนทานสูง เชน่ สติ๊กเกอรต์ ดิ อะไหล่ยนต์ สต๊ิกเกอร์ตดิ แผงวงจรไฟฟ้า หรือ
แมก้ ระทง่ั สตก๊ิ เกอรต์ ิดทรพั ย์สินท่ัวไปท่ตี ้องการระยะเวลาในการใช้งานหรือการเกบ็ เปน็ เวลานาน

3.2.2. ระบบพิมพ์โดยตรง (Direct Thermal) คือระบบการพิมพ์โดยไม่ต้องใช้ริบบอน โดย
ตวั เครอ่ื งจะสง่ ความรอ้ นไปยังหวั พิมพแ์ ละสัมผัสกับตวั ส่ือโดยตรง ระบบการพิมพโ์ ดยตรงตอ้ งใช้ควบคู่กับ
สื่อชนิดพิเศษ เป็นสื่อความร้อน คือ สื่อประเภทนี้จะเคลือบสารเคมีไว้ เมื่อสารเคมีโดนความร้อนจะ
ปรากฏข้อมูลที่พิมพ์ขึ้นมา ซึ่งการพิมพ์ลงบนสื่อดังกล่าว จะมีอายุการเก็บรักษาไว้ไม่ได้นาน สารเคมีที่
เคลือบอยู่จะสลายไปเองตามธรรมชาติ และไม่ทนต่อรอยขดี ข่วน ตัวอย่างเชน่ ฉลากยา ใบเสร็จค่าน้ำ –
ค่าไฟ

3.3. ประเภทของเครอ่ื งพมิ พ์บารโ์ คด้

แบ่งออก 3 ประเภท ตามลักษณะการใช้งาน คือ Desktop Printer, Mid-Rang Printer,
Industrial Printer

3.3.1. Desktop Printer : คือเครื่องพิมพ์บาร์โค้ดขนาดเล็ก ตัวเครื่องทำมาจากพลาสติก
เหมาะสำหรับใช้งานในสภาพทั่วไปปริมาณการพิมพ์ ไม่ควรเกิน 1,000 ดวงต่อวัน ความละเอียดของ
หัวพมิ พข์ องเครือ่ งพิมพ์ทั่วไป 200 - 300 dpi แต่อาจจะมีบางร่นุ ทร่ี องรบั หวั พิมพ์ 600 dpi ใช้งานทั่วไป
ตาม รา้ นคา้ โรงพยาบาล โรงภาพยนตร์ สนามบนิ

3.3.2. Mid-Rang Printer : คือเครื่องพิมพ์บาร์โค้ดขนาดกลาง ตัวเครื่องเป็นโลหะ สามารถ
นำไปใชง้ านโรงงานขนาดเลก็ ปรมิ าณการพิมพ์ ไมค่ วรเกนิ 3,000 ดวงต่อวัน ความละเอยี ดหัวพมิ พ์ 200,
300, 400 and 600 dpi ใชง้ านตามกลุม่ โรงงานขนาดเลก็ รา้ นค้าขนาดกลาง

17

3.3.3. Industrial Printer : คือเครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ ตัวเครื่องเป็นโลหะ ใช้งานในโรงงาน
ขนาดใหญ่ มคี วามทนทานสงู ปริมาณการพมิ พ์ 4,000 - 100,000 ดวงตอ่ วัน ความละเอยี ดหัวพิมพ์ 200,
300, 400 and 600 dpi และมีความพเิ ศษในส่วนหน้ากว้างการพมิ พ์ รองรับหน้ากวา้ งในการพิมพ์สูงสดุ
8 นวิ้ ซ่ึงเคร่ืองปกตทิ ั่วไป หน้ากวา้ งในการพิมพ์ไมเ่ กิน 4 นิ้ว ใช้งานตามกลุ่มโรงงานขนาดโรงงานผลิต

3.4. ประเภทของส่อื (Media Type) ท่ีใช้กบั เครือ่ งพิมพบ์ าร์โค้ด มีทัง้ หมด 3 ประเภท

3.4.1. Continue คอื สือ่ ท่เี ปน็ ลกั ษณะต่อเน่ือง
3.4.2. GAP/NOTCH คือสื่อที่ถูกตัดออกเป็นดวงๆ หรือเป็นลักษณะเป็นรู เพื่อให้เซ็นเซอร์จับ
ความสูงของสอื่ แตล่ ะดวงได้
3.4.3. Black Mark คอื สือ่ ท่ที ำเครอื่ งหมายสีดำไวด้ า้ นหลงั เพอ่ื ให้เซน็ เซอรจ์ บั ความสงู ของสื่อแต่
ละดวงได้

18

3.5. การเลือกช้ือเครอื่ งพมิ พ์บารโ์ คด้

3.5.1. เลือกเครื่องพิมพ์ให้เหมาะสมกับปริมาณการพิมพ์ในแต่ละวัน เพื่อเลือกเครื่องพิมพ์
บาร์โคด้ รุ่นทเ่ี หมาะสมกบั การใช้งาน และค้มุ คา่ กับ ธรุ กิจ

3.5.2. เลือกเครื่องพิมพ์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ใช้งาน เช่นหากนำไปใช้งานในบริษัท
หรอื สำนักงานทั่วไปสามารถเลือกใชง้ านเครอื่ งพมิ พบ์ ารโ์ ค้ดในกลุ่ม Desktop Printer ได้ แตห่ ากนำไปใช้
งานสภาพแวดล้อมทีม่ ีฝ่นุ และมีความรอ้ น เช่นโรงงาน ควรเลือกใช้งานเครื่องพมิ พ์บาร์โค้ดในกลุ่ม Mid-
Rang ขน้ึ ไป

3.5.3. เลือกขนาด ประเภทของสื่อที่สามารถใช้งานได้หลากกับสินค้า หรือวัตถุดิบ อย่างเช่น
บริษทั ผลิตสบู่ มขี นาดกลอ่ งใส่สบูข่ นาดต่างๆกัน ควรเลือกขนาดสื่อทม่ี ีขนาดสำหรับใช้งานได้กับกล่องใส่
สบู่หลายขนาดเพื่อประหยดั เวลาในการเปล่ยี นขนาดของสื่อกบั เครอื่ งพมิ พ์บารโ์ ค้ด

3..5.4. หากจำเป็นต้องใช้งานสือ่ หลายขนาด และประเภท แนะนำให้ใช้งานเครื่องพมิ พ์บาร์โคด้
แยกตามขนาด และประเภทของสื่อ ตัวอย่างเช่น มีสติ๊กเกอร์ใช้งานสองขนาด ปริมาณการพิมพ์ต่อวัน
ประมาณ 6,000 ดวงต่อวัน ปกติปริมาณการพิมพ์ประมาณนี้ต้องใช้งานเครื่องเกรด Industrial Printer
แต่กรณีนี้เราสามารถใชง้ านเครื่องเกรด Mid-Rang Printer 2 เครื่องทดแทน เพื่อเป็นการประหยัดเวลา
และง่ายตอ่ การใช้งาน

3.5.5. ประเภท หรอื ขนาดของส่ือ หากเปน็ งานเฉพาะทาง ถึงแม้ปริมาณการพิมพไ์ ม่มากนัก แต่
ตอ้ งเลือกเครอ่ื งขนาด Mid-Rang Printer ขึน้ ไป เพราะเน่อื งจากเครอ่ื งพมิ พ์ขนาดเลก็ มขี อ้ จำกดั เช่น

- สือ่ ประเภททต่ี อ้ งใชค้ วามรอ้ นของหวั พิมพ์สูง เชน่ ส่ือทนความร้อน

- สื่อขนาดเล็ก โดยขนาดความสูงน้อยกว่า 1.5 cm เช่น สื่อที่ติดในแผงวงจร พื้นที่ติดมี
ขนาดจำกดั

3.5.6. เลือกความละเอียดของหัวพิมพ์บาร์โค้ดให้เหมาะสมกับขนาดข้อมูลที่ต้องการพมิ พ์ลงบน
สื่อ โดยความละเอียดของหัวพิมพ์จะส่งผลโดยตรงกับขนาดของข้อมูลที่พิมพ์ หากใช้งานความละเอียด
ของหัวพิมพท์ ค่ี วามละเอยี ดต่ำข้อมลู พมิ พ์ข้อมูลท่มี ขี นาดเลก็ จะทำให้ขอ้ มลู ไมช่ ัดเจน อา่ นได้ลำบาก และ
บางครั้งจะอา่ นไม่ได้เลย รวมถึงตัวบาร์โค้ดด้วย หากหวั พมิ พ์มคี วามละเอียดน้อยกวา่ ขอ้ มูลของตวั บารโ์ ค้ด

19

จะทำให้บางโค้ดอ่านยาก หรืออ่านไม่ไดเ้ ลย โดยส่วนมากหากลูกค้าต้องการข้อมูลท่ีมีความละเอยี ดของ
ข้อมูลสูงหรือต้องพิมพ์สี หรือตราบริษัท จะทำการพิมพ์ข้อมูลเหล่านั้นมาจากโรงงาน และข้อมูลที่ใช้
เครือ่ งพิมพ์บาร์โคด้ พิมพเ์ พิม่ เตมิ จะเปน็ ขอ้ มลู ท่มี กี ารเปลย่ี นแปลง เช่น วันท่ใี นการผลิต วันหมดอายุ

3.5.7. เลอื กพอร์ตการเช่อื มต่อท่เี หมาะสมกับการใช้งานเครื่องพิมพ์บาร์โค้ด
- พอร์ตการเชอ่ื มต่อของ Host และ Interface ท่ีโปรแกรม หรือระบบรองรับ
- ระยะทางในการเชื่อมต่อ เช่น หากระยะทางเกินกว่า 5 เมตร ควรเลือกใช้งาน RS232,

Ethernet or Wi-Fi
3.5.8. เลอื กเครอื่ งพิมพบ์ ารโ์ ค้ด โดยดูทีร่ าคา ยี่ห้อ ที่เหมาะสมกบั องค์กรหรอื งบประมาณทม่ี อี ยู่
3.5.9. เลือกเครื่องพิมพ์บาร์โค้ด จากผู้ขายที่ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถเลือกอุปกรณ์ท่ี

เหมาะสมกบั องค์กร ของเรา ไมใ่ ช่เลือกแค่เพียงราคาสนิ ค้าเพยี งอย่างเดียว เนือ่ งจากเคร่ืองพิมพ์บาร์โค้ด
ในปัจจุบนั มหี ลากหลาย

3.5.10. เลือกเครื่องพิมพ์บาร์โค้ด จากบริษัทที่พร้อมให้ความช่วยเหลือเรื่องการใช้งาน และ
บริการหลังการขาย

3.6. ข้อมลู เฉพาะ ทค่ี วรทราบเกย่ี วกับ เคร่อื งอา่ นบารโ์ คด้ (Scanner Barcode)

- Host หมายถึงอุปกรณฝ์ ั่งรับส่ง ขอ้ มูลจากเครื่องพมิ พ์บารโ์ ค้ด ซึง่ อาจจะหมายถึง คอมพิวเตอร์
เครือ่ งจกั ร สมารท์ โฟน หรอื อปุ กรณท์ กุ ชนิดท่สี ามารถรับขอ้ มูลจากเครอ่ื งอ่านบารโ์ ค้ดได้

- สายสัญญาณ RS232 or Serial เปน็ สายสญั ญาณชนิด
- ความละเอียดของหัวพิมพ์เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด มีหน่วยเป็น dpi (Dot Per Inch) คือ หน่วยท่ี
บอกวา่ พ้นื ที่ 1 ตารางนิ้วสามารถมจี ุดสไี ด้ทัง้ หมดกี่จุด โดยการนำ Pixel มาแสดงผลในหน่วย นว้ิ (inch)
ยกตัวอยา่ งเชน่ จดุ ในพ้ืนท่ีขนาด 1 นิว้ 300 dpi หมายถงึ ในพืน้ ที่ 1 ตารางนว้ิ จะมเี ม็ด Pixel เรียงกันอยู่
300 x 300 เม็ด

20

QR Code

4.1.QR code คอื อะไร

บาร์โค้ด นั้นในปัจจุบันเป็นที่นิยมมาก ในธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ เป็นเพราะความรวดเร็ว
ถูกต้อง แม่นยำ เพราะเพียงแค่สแกนเท่านั้น ก็สามารถทราบรหัสสินค้าหรอื ขอ้ มูลสินค้าได้ บาร์โค้ดจึงมี
สว่ นในการทำให้เกดิ ลกั ษณะการทำงานในรปู แบบใหม่ทีแ่ ตกต่างมากข้นึ ได้ในปจั จบุ ัน

และดว้ ยความสะดวกสบายทำให้บาร์โค้ดจึงไดร้ บั การยอมรบั มากขน้ึ ในตลาด และเรม่ิ มีความคิด
ริเริ่มที่จะทำให้มันสามารถที่จะเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เก็บตัวอักษรได้มากขึ้น และสามารถที่จะถูกผลิต
ออกมาโดยใชพ้ ื้นท่ใี นการพิมพท์ ่ีนอ้ ยลง

ดังนั้นจึงเกิดความพยายามที่จะเพิ่มปริมาณการเก็บข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ดให้มากขึน้ เช่น ความ
พยายามที่จะเพิ่มตัวเลขให้ที่อยู่ในบาร์โค้ดให้มากขึ้น หรือ ความพยายามที่จะนำบาร์โค้ดหลายๆอันมา
เรียงตอ่ กนั เป็นตน้

แตก่ ารปรับปรงุ ก็ยังคงเกิดปัญหาตา่ งๆตาม เช่น การพยายามท่ีจะเพิ่มให้บารโ์ ค้ดสามารถบรรจุ
ตวั เลขไดม้ ากข้ึนนนั้ ทำให้บาร์ โค้ดมขี นาดที่ใหญเ่ กนิ ไป หรอื การนำบาร์โคด้ มาเรยี งต่อกันนั้นทำให้ต้องมี
การสรา้ งระบบการสแกนใหมซ่ ง่ึ ยงั ไม่สามารถทำใหม้ ปี ระสิทธภิ าพได้

4.2.QR Code

QR Code เป็นบาร์โค้ด 2 มิติ (2D CODE) ชนิดหนึ่งที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัทในประเทศญี่ปุ่น
นน่ั คือ DENSO WAVE (ปจั จบุ ัน เป็นแผนกหนึง่ ใน DENSO Corporation) มีการผลิตออกมาครง้ั แรกในปี
1994 มีวตั ถปุ ระสงคต์ ามชอ่ื QR น่นั คือ Quick response หรอื การตอบสนองทรี่ วดเร็ว

จากภาพ จะเห็นได้ว่า QR CODE (2D CODE) มีข้อมูลทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ในขณะที่
บาร์โค้ดธรรมดานั้น มีข้อมูลเพียงแค่แนวตั้งเพียงแนวเดียว ทำให้ QR CODE นั้นสามารถบรรจุข้อมูลได้
มากกว่าบารโ์ คด้ ธรรมดา

นอกจาก QR CODE ซึ่งเป็น 2D CODE ที่พัฒนาโดยประเทศญี่ปุ่นแล้ว ยังมี 2D CODE ชนิด
ตา่ งๆอกี ซึ่งคณุ สมบัตแิ ละลักษณะก็จะแตกตา่ งกันไป ซึง่ ในปจั จบุ ัน บารโ์ คด้ ชนดิ ดงั กลา่ ว กถ็ กู ใชก้ ัน แตย่ ัง

21

ไม่กว้างขวางเท่ากับ QR CODE เนือ่ งมาจาก ความสามารถในการเกบ็ ขอ้ มูลของ QR CODE น้ันมีมากกวา่
2D CODE อื่นๆ อีกทง้ั ขนาดนน้ั ก็สามารถท่จี ะทำให้เล็กได้ นอกไปจากนี้ ก็ยงั มีสามารถแสดงผลได้เร็วกว่า
2D CODE ตวั อน่ื ๆอีกดว้ ย

4.3.คุณสมบตั ขิ อง QR CODE

จากที่ได้เห็นในตารางการเปรียบเทียบคุณสมบัติของ 2D CODE ข้างต้น ทำให้เห็นได้ว่า QR
CODE นั้นมีประสิทธิภาพที่เหนือว่า 2D CODE ตัวอื่นๆอย่างโดดเด่น ซึ่งในหัวข้อนี้จะเป็นการอธิบาย
คุณสมบตั ิ QR CODE อย่างละเอยี ดยงิ่ ขึ้น

4.3.1. สามารถบรรจขุ อ้ มูลไดใ้ นปริมาณสงู

บาร์โค้ดแบบธรรมดานั้น สามารถบรรจุข้อมูลได้สุงสุดเพียง 20 Digits (ตัวเลขจำนวนเดียว 20
ตัว) แต่ QR CODE นั้นสามารถบรรจขุ ้อมูลได้มากกว่า บาร์โค้ดธรรมดาหลายเท่าตวั และการบรรจุข้อมูล
ของ QR CODE นั้น ก็ยังไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ ตัวเลขเท่านั้น แต่ยังสามารถบรรจุ ตัวอักษรเลข
(Alphanumeric) ตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น (ทั้ง Kanji และ Hiragana) สัญลักษณ์ ตัวเลขฐานสอง (binary)
และรหสั สี (colure code) อีกดว้ ย โดยทงั้ หมดน้ีสามารถจะบรรจไุ ว้ได้ในคราวเดียวกัน

4.3.2. ขนาดเลก็

QR CODE นั้นสามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ทำให้ความสามารถในการ
บรรจุข้อมูลเมื่อเปรียบเทียบกับบาร์โค้ดแบบธรรมดานั้น (ในจำนวนข้อมลู ที่เท่ากนั ) มีพื้นที่การบันทึกท่ี
น้อยกว่าอย่างเหน็ ได้ชัด ดังเช่นภาพดา้ นลา่ งนี้

4.3.3. ความสามารถในการบรรจุตวั อกั ษรภาษาญป่ี ุ่น

เนื่องจาก QR CODE นี้เป็นการพัฒนาทางสัญลักษณ์โดยประเทศญี่ปุ่น ทำให้ความสามารถใน
การบรรจตุ วั อกั ษณญปี่ นุ่ นถี้ กู บรรจุอยู่ในคณุ สมบัติเบื้อง ต้นดว้ ย และด้วยคุณสมบัตนิ ้ีเองทำให้ QR CODE
ได้รับ Japanese Industrial Standard (JIS) หรือมาตรฐานอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็น
สัญลกั ษณบ์ อกวา่ QR CODE นส้ี ามารถใชไ้ ดใ้ นกิจกรรมอุตสาหกรรมในประเทศญ่ีป่นุ ซึ่งการบรรจุข้อมูล
ในลกั ษณะตัวอกั ษรญีป่ นุ่ (Kanji และ hiragana ) ในตวั เตม็ รปู แบบนนั้ QR CODE สามารถทำได้สูงสุดถึง
13 bits( 26 ตวั อักษร) ซึ่งมากกวา่ 2D CODE แบบอนื่ ถงึ 20 %

22

4.3.4. ป้องกนั คราบสกปรกและการฉกี ขาด
QR CODE นั้นสามารถทีจ่ ะอ่านข้อมูลหรือกู้ข้อมูลได้แม้วา่ จะมีการฉีกขาดหรือมีคราบ สกปรก
เพียงบางส่วน โดยสามารถกู้คืนได้มากที่สุด 30% ของ CODEWORD (1 codeword= 8 bits หรือ 16
ตัวอักษร) อน่ึงความมากน้อยของข้อมลู ทถี่ ูกกู้คนื จะขน้ึ อยกู่ ับความเสียหายทเ่ี กิดข้ึน
4.3.5. สามารถอ่านขอ้ มูลได้ 360 องศา
QR CODE มีความสามารถในการอ่านข้อมูล 360 องศาด้วยความเร็วสูง โดยความสามารถ
ดังกล่าว ทำได้โดยผ่านรูปแบบของการตรวจสอบตำแหน่ง ที่อยู่ทั้ง 3 มุมของสัญลักษณ์ซึ่งรูปแบบการ
ตรวจสอบเหล่านี้ทำให้เครือ่ งอ่านมีความเสถียร ในเรื่องของความเร็วในการอ่าน และเป็นตัวป้องกันการ
รบกวนของพ้นื หลังอกี ด้วย
4.3.6. คณุ สมบตั ิในการควบรวม
QR CODE สามารถแบง่ ข้อมูลที่หน่งึ สัญลักษณ์ลงในหลายๆสัญลักษณไ์ ด้ และในขณะเดียวกันก็
สามารถจะนำสัญลักษณ์ดังกล่าวนั้นมาวางติดกันแล้วอ่าน ข้อมูลออกมาเป็นชิ้นเดียวกันได้ โดย 1
สญั ลกั ษณ์สามารถแบ่งได้ สูงสดุ ถงึ 16 สักญลกั ษณ์ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการใช้งานในพื้นทจ่ี ำกัด

4.4. Symbol Version

สัญลักษณ์ QR CODE นั่นปัจจุบันมีตั้งแต่ เวอร์ชั่น 1 ถึง เวอร์ชั่น 40 ซึ่งแต่ละเวอร์ชั่นนั้นก็มี
จำนวนหน่วยที่แตกต่างกัน ซึ่งจะเรียกว่า Module ซึ่งก็คือ สีขาว และสีดำ ที่อยู่บน QR CODE นั่นเอง
โดยที่ เวอร์ชั่นแรกของ QR CODE นั้น จะมีจำนวน Module = 21x21 modules และเวอร์ชั่นสุดท้าย
คือ เวอร์ช่ัน 40 จะมีจำนวน module = 177x177 modules โดยเวอร์ชั่นยิง่ สูง modules ก็จะยิ่งเพ่มิ
มากขน้ึ ตามได้ด้วย โดยจะเพม่ิ ขึ้น 4 modules ต่อเวอร์ชน่ั ดงั เชน่ รปู ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

23

4.5. การใช้งาน QR CODE

จากคุณสมบัติดังกล่าว QR CODE จึงได้มีการถูกนำไปใช้งานในหลายทั้งภาคอุตสาหกรรมและ
ภาคธรุ กจิ โดยในภาค ธุรกจิ น้นั QR CODE ถกู ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการสื่อสารการตลาดเป็นส่วนใหญ่ซึ่งใน
ปัจจุบัน กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในประเทศญี่ปุ่น ส่วนในไทยเองนั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในช่วง
เริ่มต้นของการใช้ QR CODE

ในเบื้องตน้ จะขออธิบายถงึ การนำ QR CODE ไปใช้งานในภาคอุตสาหกรรมก่อน ซึ่งการนำ QR
CODE ไปใชใ้ นภาคอตุ สาหกรรมนำ จำเปน็ จะต้องมกี ารสรา้ งระบบเสียก่อนเพื่อให้สามารถที่จะ พิมพ์ QR
CODE และอา่ น QR CODE ได้ โดยมี เครอ่ื งมือ 2 ชนิดดว้ ยกนั คอื software และเคร่อื งพมิ พ์ กบั เครื่อง
สแกน QR CODE แต่อยา่ งไรกต็ าม การพมิ พ์ QR CODE น้ันอาจไมส่ ามารถทำให้ QR CODE อ่านไดอ้ ย่าง
ถูกต้องเสมอไป เพราะการสร้าง QR CODE ขึ้นมาจำเป็นต้องคำนึงถึง ผู้รับว่า ทางผู้ที่รับเอกสารนั้นมี
เครอ่ื งอ่าน QR CODE ท่เี หมาะสมกับขนาดหรือไม่

4.6. QR CODE กบั อตุ สาหกรรม

อุตสาหกรรมกรรมยานยนตร์ในประเทศญี่ปุ่นใช้ QR CODE ในการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับลูกคา้
ขอ้ มูลการสง่ สินค้า ขอ้ มูลของปรมิ าณสินค้าที่จะส่ง รหสั ของสินคา้ และขอ้ มลู อน่ื ๆ ที่ใช้สำหรับการส่ังซ้ือ
และการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ประโยชน์ที่ได้รับก็คือ ผู้รับหรือผู้ส่งเองไม่จำเป็นจะต้องทำการ สแกน
หลายๆครั้งเพื่อบันทึกข้อมูลต่างๆให้มากมายทำให้เสียเวลา ซึ่งในหนึ่งวันนั้นจะมีรายการรับสินค้าและ
รายการสั่งซื้อสินค้ามากมายที่ ต้องถูกส่งออกไปทำให้ลดระยะเวลาการทำงาน และข้อผิดพลาดในการ
ตรวจสอบสินคา้ ลดลง นอกจากนย้ี งั สามารถทีจ่ ะลดคา่ ใชจ้ า่ ยของใบสัง่ ซอ้ื แบบเดมิ ๆ ไดอ้ ีกด้วย

อตุ สาหกรรมชน้ิ ส่วนอเิ ลกทรอนิกซ์ QR CODE ถูกใชใ้ นการบนั ทึกขอ้ มูลเก่ยี วกบั วนั ทีใ่ นการผลิต
สายการผลิต หมายเลขของสินค้า และข้อมูลอื่นๆที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการต่างๆและการตั้งค่า
อัตโนมัติ ซงึ่ เปน็ ประโยชน์มากต่อการบนั ทึกประวตั ิและควบคมุ การผลิต โดยเมื่อแขนกลอ่านคา่ ของสินค้า
ช้นิ น้แี ล้วมนั จะทำการบนั ทึกทนั ทวี ่าได้ทำการ ผลติ ไปแล้วกี่ครัง้ และการผลิตนน้ั ใชเ้ วลาเท่าไร ซึ่งจะส่งผล

24

ใหส้ ามารถคำนวนระยะเวลาการผลติ ได้เพ่ือใชว้ างแผนการผลติ ในอนาคต อกี ประการหน่ึงคอื QR CODE
สามารถสง่ั ให้เครือ่ งจกั รนัน้ สามารถทำงานไดโ้ ดยไม่ต้องมคี นสง่ั งาน

ในกิจกรรมด้านการขนส่ง ในอุตสาหกรรมด้านอาหาร QR CODE สามารถบันทึกรหัสของสนิ คา้
วันหมดอายุ วนั ทผี่ ลิต สถานที่การผลิตและข้อมูลอน่ื ๆที่เกี่ยวข้องได้ โดยจะเปน็ ประโยชนต์ ่อระบบ FIFO
อย่างมากในการควบคุมวนั หมดอายุ อีกทั้งยงั สามารถท่ีจะปรับปรุงและติดตามประวัติการผลิตได้อีกด้วย
เช่น สินคา้ ท่ีผลิตออกมา หากไม่มี QR CODE แตใ่ ช้การพมิ พว์ ันหมดอายุ วันท่ีผลิต และสถานท่ีการผลิต
จะทำใหเ้ สียเวลาในการตรวจสอบเพราะบางครง้ั ขอ้ ความดังกลา่ วกจ็ าง บางครั้งกไ็ ม่ชดั และต้องใช้วธิ กี าร
จดบันทกึ ซงึ่ การบนั ทึกก็อาจะเกดิ ข้อผิดพลาดได้ เมื่อบนั ทึกแลว้ ก็ต้องไปใส่ในระบบซึ่งกท็ ำให้เสียเวลาและ
ยากต่อการที่จะค้น หาประวัติว่า ชิ้นไหนเข้าก่อน ชิ้นไหนเข้าหลัง ซึ่งต้องเสียเวลาอย่างมากในการ
เปรียบเทยี บ แต่หากใช้ QR CODE เราสามารถท่ีจะแยกประเภทและวันท่ีของสินค้าได้อย่างงา่ ยดาย และ
ไมต่ อ้ งเสียเวลามาทำการบันทึกอกี ด้วย

ในการขนส่งสินค้าประเภทเสื้อผ้า QR CODE จะบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ปลายทางที่จะ
จัดส่ง ขนาดของเสื้อ จำนวน สี รหัสสินค้า และข้อมูลอื่นๆที่ใช้ในการควบคุมการขนส่ง เป็นประโยชน์
อย่างมากในการลดข้อผิดพลาดในการขนส่งสินค้า นอกจากนี้ยังช่วยรวบรวมการบนั ทกึ การขนส่งแทนท่ี
การใช้คนอีกด้วย เช่น เมื่อผลิตเสร็จแล้ว ผ้าจะไปกองรวมกันที่ฝ่ายจัดส่งสินค้า และจะมีใบจัดส่ง
สินค้าออกมาใบหนึ่งคนกท็ ำหน้าที่เพียงการสแกนแลว้ คำสั่งก็จะ ออกมาว่า จะต้องจัดเสื้อขนาดเท่าไร ก่ี
ตัว สีอะไรบา้ ง แล้วรหัสสินค้าใดบ้าง แล้วนำไปจัดส่งท่ีไหน และเมื่อมกี ารสแกนใบสั่งซ้ือแล้ว ข้อมูลก็จะ
ถูกส่งไปยังคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกว่า ได้ทำการเตรียมจัดส่งสินค้าแล้ว เป็นการลดการทำงานและลด
ขอ้ ผดิ พลาดไปในตวั

นอกจากนี้ QR CODE ยังถูกใช้ในห้องทดลองวิทยาศาสตร์ การตรวจสอบบุคคลเข้าออกและ
รักษาความปลอดภัย รวมไปถึงสินค้าอิเลกโทรนิกส์อื่นๆด้วย ซึ่งมีประโยชน์อย่างมากในการทำให้ทราบ
ข้อมลู ทีม่ า หรือข้อมูลอนื่ ๆท่สี ำคัญในสถานการณแ์ ละการใชง้ านนนั้ ๆดว้ ย

25

4.7. QR CODE กบั การสือ่ สารการตลาด

ในประเทศญ่ปี นุ่ นัน้ QR CODE นอกจากจะใชเ้ พ่อื ความสะดวกสบายในการขนส่ง การผลิต และ
การจัดเกบ็ สนิ ค้าแล้ว QR CODE ยงั กลายเปน็ เครื่องมอื ทางการตลาดชนั้ ยอดท่ีใช้ในการสอื่ สารข้อมูลทาง
การตลาด และสรา้ งความตน่ื เตน้ ใหก้ ับผู้บริโภคได้อยา่ งมาก

ดังเช่นในประเทศญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะพบเห็น QR CODE ในบรรจุภัณฑ์ของถุงขนม หนังสือ ป้าย
โฆษณาข้างทาง ต่างก็มีสัญลักษณ์แบบนี้ไว้เพื่อให้สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ทันที นอกจากนี้นิตยสาร
และบิลบอรด์ ต่างๆกย็ งั นำ QR CODE ไปตดิ อย่เู พ่ือนำไปใหเ้ ป็นการสื่อสารท่สี ่งถงึ มอื ผรู้ บั ได้โดยตรง

วธิ ีการสง่ สารของ QR CODE ในรูปแบบทางการตลาด ถูกเปลยี่ นแปลงจากการสแกนด้วยเคร่ือง
สแกนมอื ถอื มาเปน็ โทรศพั ท์มือถอื ที่ถา่ ย ภาพได้ โดยเพยี งแค่หยิบโทรศพั ทม์ อื ถือทีม่ ี Application รองรบั
ขึ้นมาถ่ายภาพเท่าน้ัน ผู้รับสื่อก็จะสามารถรับรูถ้ งึ โปรโมชั่น รายละเอียดสนิ คา้ สถานที่แนะนำ ข้อความ
หรือ URL ที่จะทำให้ผู้รับสอ่ื สามารถรบั รู้ได้มากกว่าการมองเหน็ เพียงอย่างเดียว

สงิ่ ท่เี ป็นประโยชนต์ ่อการส่ือสารทางการตลาดทใี่ ช้ QR CODE เป็นเครอื่ งมอื คอื การบันทึก URL
ทำใหผ้ ทู้ ีส่ ร้าง web site ข้นึ มานั้นไมจ่ ำเป็นจะต้องทำการเสยี ค่าใช้จา่ ยในการทำใหช้ ่ือ URL ของตัวเองให้
จดจำง่าย และผู้ที่สนใจก็ไมจ่ ำเป็นจะต้องจำ URL ที่ยาวมากอกี ต่อไป เพราะเพียงแคถ่ ่ายภาพ ผู้รับสื่อก็
จะสามารถเข้าถงึ Web site ทผ่ี ู้เปน็ เจา้ ของ URL ตอ้ งการจะสอ่ื สารไดแ้ ลว้ จึงไมแ่ ปลกที่เครื่องมือนี้เป็น
ส่งิ ทีน่ ยิ มกนั มากในต่างประเทศ

26

การสรา้ ง QR code

จะเห็นได้ว่าหลายธุรกิจในปัจจุบันมีการใช้ QR Code เพื่อเป็นช่องทางการสื่อสาร ทำกิจกรรม
โปรโมชั่น รวมถึงสร้างการรับรู้ด้านเทคโนโลยีของแบรนด์ ซึ่งการทำ QR Code นั้นไม่ใช่เรื่องยากเลย
เพราะมี Website ท่ีให้เราสร้าง QR Code ไดฟ้ รแี บบไมจ่ ำกัด ในบทความนี้จะขอยกตวั อยา่ ง www.qr-
code-generator.com มาประกอบการแนะนำ

5.1 ขน้ั ตอนการสร้าง QR Code

5.1.1. เข้ามาท่ีหน้าเวบ็ ไซต์ www.qr-code-generator.com

27

5.1.2. ทำตามขนั้ ตอนง่ายๆ ก็ได้ QR Code ไปใช้แล้วครับ

5.1.3. ถ้าจะให้ดีก็ดาวน์โหลดโปรแกรม QC Code Reader มาไว้ในโทรศัพท์มือถือเลย จะ
สะดวกขึ้นอีกมาก เพราะเวลาเราทดลองทำเสร็จ หรือไปเจอ QR Code จากที่ไหนที่น่าสนใจ เราก็
สามารถสแกนดูไดท้ นั ที (สามารถดาวน์โหลดจาก Google Play ได้เลย)

28

สำหรับเว็บนี้ ถ้าสมัครสมาชิก เราจะสามารถใช้คุณสมบัติต่างๆ เพิ่มเติมได้อีกด้วย เช่น การใส่
รปู ภาพหรอื โลโก้บน QR Code (สมัครเพือ่ ทดลองใชง้ านแบบครบทุกฟงั ก์ชนั่ ฟรี 14 วนั ) ซงึ่ นอกจากเว็บ
นีแ้ ลว้ ยังมีอกี หลายเว็บไซต์ท่ีให้บริการสรา้ ง QR Code โดยไมเ่ สียเงิน

1. http://goqr.me/#t=url
2. http://qrcode.kaywa.com
3. http://zxing.appspot.com/generator
4. http://www.qrstuff.com
5. http://delivr.com/qr-code-generator
6. http://www.mobile-barcodes.com/qr-code-generator
7. http://qrcode.thaiguild.com/

5.2. การนำไปใชใ้ หเ้ ข้ากบั การประกอบธุรกิจ

QR Code นยิ มใช้กับโทรศพั ท์มอื ถอื รนุ่ ที่มีกล้องถา่ ยภาพ ซง่ึ จากตวั อยา่ งทไ่ี ดท้ ำ QR Code ผ่าน
ทาง www.qr-code-generator.com จะเห็นวา่ เราสามารถสร้าง QR Code ได้หลากหลายรปู แบบ ท้ัง
ในแบบของ URL, Vcard, E-mail, Text, SMS, Facebook และอื่นๆ อีกมากมาย ขึ้นอยู่กับว่าเราจะ
นำไปใชอ้ ย่างไร ท้งั นี้ รปู แบบการนำไปใชส้ ่วนใหญจ่ ะมดี งั นี้

- นำ QR Code ไปปรนิ ท์ลงบนนามบัตร เพอ่ื ให้อีกฝ่ายสามารถสแกนดูเว็บไซต์หรอื เฟซบุ๊คของบริษัท
เราไดเ้ ลย

- สำหรบั หวั หน้าองค์กร หากมี QR Code แล้ว สามารถนำไปใช้ประกอบกับลายเซน็ ในอีเมลไ์ ด้ หรือ
ถ้ามีโอกาสไปพรีเซนตง์ านภายนอกบรษิ ัท ก็สามารถเอา QR Code ไปใส่ใน Power Point หรือเอกสาร
อนื่ ๆ ทส่ี ามารถใช้กบั เครื่องฉายโปรเจคเตอรไ์ ด้

29

- ในต่างประเทศ บางองค์กรจะประชาสัมพนั ธ์งาน หรือเปิดตัวแบรนด์ด้วยการนำ QR Code ไปติด
บนปา้ ยบิลบอรด์ ในจดุ ท่มี ีคนผ่านไปผ่านมาเยอะๆ หรือนำ QR Code ไปตดิ บนรถส่งของของบริษัทด้วยก็
มี

- หากเป็นบรษิ ทั ขนาดใหญ่ อาจปรินท์ QR Code ลงบนแก้ว หมวก เสอื้ ยืด ของทีร่ ะลึกอื่นๆ เพ่ือทำ
ขายหรอื แจก ซงึ่ จะชว่ ยประชาสัมพนั ธ์หนว่ ยงานหรอื บรษิ ัทได้เป็นอยา่ งดี

- เราสามารถสร้าง QR Code เพอ่ื สง่ ขอ้ ความเชงิ ประชาสัมพันธไ์ ดด้ ้วย แตต่ ้องไม่ยาวมากเกินไป
(ไมง่ น้ั Error นะ) เชน่

- ล่าสุด งาน Thailand Innovation and Design EXPO 2015 ได้หยิบยกนำ QR Code มาใช้
สำหรับลงทะเบียนเข้าร่วมงาน โดยให้ผู้สนใจเข้าร่วมงานลงทะเบียนออนไลน์ จากนั้นระบบจะส่ง QR
Code สำหรับลงทะเบยี นเขา้ ร่วมงานมาท่เี มล์ของเรา เราก็ถา่ ยรปู เก็บไวเ้ พื่อนำไปสแกนในวนั เขา้ งาน

30

- หากเป็นการสร้าง QR Code ประเภทอีเมล์ เราสามารถใส่ อีเมล์ขององค์กรลงไป เพื่อให้ผู้
สแกนส่งข้อความมาหาเราได้ทันทีโดยไม่ต้องพิมพ์อะไรให้มาก ซึ่งสามารถใช้ร่วมกับการลงทะเบียนเขา้
รว่ มงานได้ ยกตวั อยา่ งเชน่ เราตอ้ งการใหม้ ผี ลู้ งทะเบยี นเข้ารว่ มงาน SME Thailand EXPO 2016 ก็สร้าง
QR Code ประเภทอีเมลข์ ึน้ มา โดยใส่อีเมล์ขององค์กรลงไป พร้อม Subject ว่า ลงทะเบียนเขา้ ร่วมงาน
จากนั้นหาชอ่ งทางการใชง้ านไปสู่กลุ่มเปา้ หมาย เม่ือกลุ่มเปา้ หมายสแกน QR Code กส็ ามารถใส่ชื่อ แล้ว
กดสง่ อีเมล์เพ่อื ลงทะเบียนเข้าร่วมงานไดท้ ันที สะดวกและง่ายกบั ทัง้ 2 ฝ่ายอย่างแท้จรงิ

31

จริงๆ แล้ว วิธีการนำ QR Code ไปใช้นั้นมีอีกมากมายหลากวิธี แต่จะให้บรรยายในบทความนี้
ท้ังหมด คงต้องใช้พน้ื ทอี่ ีกยาวเลย เอาเปน็ วา่ ลองเอาวธิ ีการใชไ้ ปดัดแปลงให้เหมาะสมกับแต่ละงาน แต่ละ
กิจกรรม แต่ละประเภทธุรกิจ เพื่อให้เกิดความสะดวกสบายกับท้ังองค์กรและลูกค้าได้อยา่ งเต็มที่ น่าจะ
เปน็ อะไรท่ดี ีทสี่ ดุ

ขอ้ ควรระวงั ในการสร้าง QR Code กค็ ือ อยา่ ใส่ข้อมลู มากจนเกนิ ไป เพราะอาจส่งผลให้การอ่าน
QR Code รวมถึงการทำงานช้าลง ในขั้นที่เลวร้ายที่สุดคืออ่านไม่ได้ งานที่ทำมาทั้งหมดก็สูญเปล่า
เพราะฉะนั้น การสรา้ ง QR Code ในรปู แบบ URL จึงปลอดภยั และมีการใชเ้ ปน็ ปรมิ าณทส่ี งู ทีส่ ุด

32

บทสรุป

Barcode เป็นระบบเทคโนโลยบี ารโ์ ค้ด หรือ รหัสแทง่ ระบบบ่งชอี้ ัตโนมตั ิข้อมูลท่ีเปน็ มาตราฐาน
มีอุปกรณ์เครื่องอ่านช่วยถอดรหัสเป็นอักษร หรือ ตัวเลข เพิ่มความสะดวกและเพื่อสอดคล้องกับระบบ
เศรษฐกิจในปัจจุบนั ให้เกิดความรวดเร็ว ถกู ต้อง แมน่ ย าสูงสดุ และถา่ ยทอดขอ้ มูลที่สามารถ4ติดตามได้
ทกุ ระยะเปน็ มาตราฐานเดยี วกนั สอดคลอ้ งระดับสากล ทง้ั น้ีกระบวนการท างานต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้า
มาช่วยเพื่อให้เกิดประโยชน์และเกิดประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนการท างานและลดความผิดพลาด ลด
คา่ ใชจ้ า่ ย ท าใหอ้ งคก์ รบรรลุเป้าหมายสูงสดุ ตามทไ่ี ดว้ างแผนไว

จะเห็นได้ว่า QR CODE นั้นจากเดิมถูกใช้อยู่ในอุตสาหกรรมและการขนส่ง แต่ปัจจุบันด้วย
ความสามารถในการบรรจุขอ้ มลู ได้ในปรมิ าณจำนวนมาก ก็ได้ถกู พฒั นาให้มาเปน็ เคร่อื งมือในการสื่อสาร
ให้กับผู้บริโภคได้รับรู้ และเข้าถึงสิ่งที่เจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องการจะให้รับรู้ได้อย่างดี ซึ่งก็ตอบสนองต่อ
พฤติกรรมของผู้บริโภคในเรื่องของความอยากรู้อยากเหน็ ได้ เพราะ QR CODE นั้นเป็น CODE ที่ดูเพียง
แคต่ านัน้ ไมส่ ามารถทีจ่ ะแปลค่าได้

กลไกการเรยี นรู้ของมนษุ ยน์ ้ันเร่มิ ท่ีการรบั รู้แลว้ ก็พยายามที่จะเรียนรู้ เพราะมนุษยท์ กุ คนมีความ
อยากรู้อยากเหน็ QR CODE จงึ ทำหนา้ ทเ่ี ป็นสงิ่ เรา้ ให้ผู้บริโภคน้นั อยากจะเข้าไปคน้ หา อยากจะแปลรหัส
ว่าสงิ่ ทีเ่ ห็นอยู่นั้นมนั คืออะไร ถึงแม้วา่ ส่งิ นั้นจะไม่ใช่สิง่ ที่ตัวเองอยากรูก้ ็ตาม QR CODE จึงเป็นเครื่องมือ
ในการเพิม่ โอกาสของการประชาสัมพนั ธ์ Brand ออกไปให้กบั ผบู้ รโิ ภคซงึ่ เปน็ สว่ นแรกท่สี ำคัญในการสร้าง
Brand

นอกจากนี้ QR CODE ยังอาจจะกลายเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยนลดต้นทุนของธุรกิจบริการอีก
ด้วย เช่น ธุรกิจโรงภาพยนตร์ ธุรกิจสายการบิน เป็นต้น ยิ่งไปกว่านั้น อาจนำมาใช้ในการรักษาความลบั
และความปลอดภัยในธรุ กจิ การเงนิ กเ็ ป็นได้

และดว้ ย QR CODE เองนั้นเป็นรปู ภาพและในปจั จบุ ันนเี้ องก็สามารถทีจ่ ะสร้างให้เกิดสสี นั ได้แล้ว
ซงึ่ สง่ ผลให้ผลติ ภัณฑ์ต่างๆสามารถสื่อสารความเปน็ ตัวตนของตัวเองได้ โดยผา่ น QR CODE ได้มากยิ่งข้ึน
และมากไปกวา่ น้นั กอ็ าจกอ่ ให้เกดิ ธุรกจิ รบั ออกแบบ QR CODE ขน้ึ ไดใ้ นประเทศไทย ซ่งึ ในอนาคตบรษิ ัท
และส่ือโฆษณาตา่ งๆ น่าจะมีปริมาณการใช้ QR CODE ทม่ี ากกวา่ เดมิ ธรุ กิจนจ้ี ึงน่าจะมีโอกาสเกิดข้ึนและ
เติบโตไดใ้ นประเทศไทย

33

เทคโนโลยที ำใหช้ ีวติ ของมนษุ ยง์ ่ายขึ้นและลดขั้นตอนการทำงานลง ซ่งึ เป็นประโยชน์ในเชิงธุรกิจ
และในดา้ นการใช้ชวี ติ แต่เทคโนโลยีทกุ อยา่ งก็มขี ้อผดิ พลาดและมีบางอยา่ งทไ่ี ม่สามารถจะทดแทนมนุษย์
ได้ มนุษย์เองจงึ จำเป็นต้องเรียนรู้และรู้จักใช้เทคโนโลยี ในปริมาณที่เหมาะสมและรูจ้ ักที่จะพึ่งพาตนเอง
บ้างในบางครั้ง เพราะการพึ่งพาเทคโนโลยีเพยี งอย่างเดียวจะทำใหม้ นุษยเ์ องไม่รู้จักทีจ่ ะคิด และสุดท้าย
มนุษย์อาจจะถกู ครอบงำทางความคิดโดยเทคโนโลยเี หมือนในภาพยนต์ก็เปน็ ได้

34

บรรณานุกรม

บรษิ ัท ออลอินวนั ซสิ เทม็ แอนด์ ซพั พลาย จำกดั . (2560). รหสั คิวอาร์ (QR code). [ออนไลน]์ . ไดจ้ าก:
http://www.aio-ss.com [สืบคน้ เมือ่ 1 พฤษภาคม 2564].

E-Learning เกศินี เนาสวุ รรณ์. จำกัด. (2561). บาร์โคด้ (Barcode). [ออนไลน์]. ไดจ้ าก:
https://sites.google.com/a/srm.ac.th [สบื ค้นเม่อื 3 พฤษภาคม 2564].


Click to View FlipBook Version