หน่วยที่ 2
รหสั วิชา ง 32101
ช่ือวิชา การงานอาชีพ
เรอ่ื ง เคร่ืองมอื วดั ละเอยี ดในงานช่าง
ก
คำนำ
ชุดกิจกรรมฝกึ ทักษะงานชา่ ง เรอ่ื ง เคร่อื งมือวัดละเอียดในงานชา่ ง รายวิชา การงานอาชีพ
5 รหัสวิชา ง32101 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 จำทำข้ึนเพ่ือเร่ียนรแู้ ละฝึกทักษะงานช่าง ซึ่งช่วยให้
ผู้เรยี นสามารถเกิดการเรยี นรู้ และทกั ษะทค่ี งทนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นที่ดขี ้ึน สามารถนำไปใช้
เป็นแนวทางในการประกอบอาชพี ในอนาคตตอ่ ไป
ชุดกิจกรรมฝกึ ทกั ษะงานชา่ ง เร่ือง เคร่ืองมือวัดละเอียดในงานช่าง รายวชิ า การงานอาชีพ
5 รหัสวชิ า ง32101 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชว่ั โมง ซึ่งเปน็ เล่มที่ 2 เร่ือง ชนิด
บรรทัดเหลก็ การอา่ นสเกลบรรทดั เหล็ก การบำรุงรักษาบรรทัดเหลก็ ใบกจิ กรรม และ
แบบทดสอบหลังเรียน นักเรียนควรอ่านคำแนะนำการใชแ้ บบฝกึ ทักษะใหเ้ ข้าใจและปฏิบัตติ าม
คำแนะนำ เพ่ือให้เกิดผลดีตอ่ การเรียนรู้
ผู้ทำหวังว่าชุดกิจกรรมฝกึ ทักษะงานชา่ ง เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อนักเรียน
นายสริ พิ ล เหมือนพะวงศ์
ข
สารบญั
เร่อื ง หนา้
ค
คำชแ้ี จงเก่ียวกับชุดกจิ กรรม
ชดุ กจิ กรรมฝึกทกั ษะงานชา่ ง เรอ่ื ง เครอ่ื งมือวดั ละเอียดในงานช่าง รายวชิ า การงานอาชีพ
5 รหสั วชิ า ง32101 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ประกอบดว้ ย
คำชแี้ จง
คำแนะนำสำหรบั ครู
คำแนะนำสำหรับนักเรียน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
แบบทดสอบก่อนเรยี น
กระดาษคำตอบ
ใบกจิ กรรม
แบบทดสอบหลงั เรียน
กระดาษคำตอบหลังเรียน
เฉลยใบกจิ กรรม
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ฆ
คำแนะนำการใชง้ านชดุ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะสำหรับครู
1.ครูควรศึกษาและทำความเข้าใจวธิ ีการใชช้ ุดกิจกรรม ขั้นตอนการดำเนนิ กจิ กรรมการ
เรียนรู้ วิธกี ารวดั และประเมนิ ผลของแบบฝกึ ทักษะให้ชัดเจน
2.ครชู ้แี จงการใชช้ ุดกิจกรรมแบบฝึกทักษะและให้ผเู้ รียนอา่ นคำแนะนำในการใชแ้ บบฝกึ
ทักษะสำหรบั นักเรยี นให้เข้าใจกอ่ นลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
3.ในขณะนกั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรม ครูควรดูแลและใหค้ ำแนะนำแกผ่ ู้เรียนในกจิ กรรมท่ียงั ไม่
เข้าใจ
4.ครคู วรสังเกตพฤติกรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี น และส่งเสริมให้มกี ารคิด
วเิ คราะหท์ ด่ี ี ตามศักยภาพของผู้เรียน
5.ครจู ัดกิจกรรมโดยเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ กระต้นุ และแนะนำใหผ้ ้เู รยี นมคี วาม
กระตือรอื รน้ มีความสนใจเรียนรู้ และทำงานรว่ มกับผู้อนื่ ได้
6.ครตู รวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หลงั เรียน แบบวดั ประเมินผลการจดั กจิ กรรมและบนั ทึก
ผลการประเมนิ
7.ครแู จง้ ผลการทดสอบและชมเชยใหก้ ำลังใจผู้เรยี น
ง
คำแนะนำการใช้แบบฝกึ ทกั ษะสำหรับผู้เรยี น
1.ผเู้ รยี นฟังคำชี้แจงการใช้ชดุ กจิ กรรมฝึกทกั ษะ อ่านคำแนะนำการใชแ้ บบฝึกทักษะ
สำหรับผู้เรยี นใหเ้ ข้าใจ
2.ผู้เรียนศกึ ษาจุดประสงค์การเรียนร้ขู องแบบฝกึ ทักษะให้เข้าใจก่อนลงมอื ปฏิบตั ิกจิ กรรม
3.ผู้เรียนตอ้ งปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของแบบฝึกทกั ษะอยา่ งมวี นิ ยั และต้ังใจ ตามลำดับขั้นตอน
4.ขณะศึกษาแบบฝึกทักษะ หากผ้เู รยี นยงั ไม่เขา้ ใจ สามารถปรึกษาหารอื กบั คนอนื่ และ
จากครผู ู้สอน
5.เม่ือศกึ ษาฝึกทักษะครบแล้วใหท้ ำแบบทดสอบหลังเรยี น หลังจากนั้นให้ส่งครูเพ่อื บันทึก
คะแนน และสามารถตรวจสอบกบั เฉลยคำตอบได้ เมื่อปฏิบตั กิ จิ กรรมเสรจ็ แล้วเพือ่ ดผู ล
ความกา้ วหน้าของตนเอง
จ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1.ดา้ นความรู้ (K)
1.1 นกั เรยี นสามารถอ่านคา่ สเกลบนบรรทัดเหล็กได้
1.2นักเรียนอธบิ ายการตรวจสอบขนาดของช้นิ งานด้วยบรรทัดเหล็ก และการ
บำรงุ รกั ษาได้
2.ทักษะกระบวนการ (P)
2.1 ทกั ษะการคิด การตัดสนิ ใจและการแกป้ ญั หา
3.ด้านคุณลักษณะอังพงึ ประสงค์ (A)
3.1 ใฝเ่ รียนรู้
3.2 มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
4.ด้านสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (C)
4.1 มีความสามารถในการส่อื สาร
4.2 มีความสามารถในการคิด
5.ความสามารถด้านการวิเคราะห์
5.1.นกั เรียนสามารถอา่ นค่าสเกลบนบรรทัดเหลก็ ได้
5.2.นกั เรียนเข้าใจการบำรงุ รักษาเครอ่ื งมอื วัดละเอียดแบบมีสเกล
5.3.นกั เรียนอธิบายการตรวจสอบขนาดของชิ้นงานด้วยบรรทัดเหล็กใน
ชีวิตประจำวนั โดยใช้เกณฑท์ ่กี ำหนดให้
5.4.ประเมินชนิ้ งานของตนเองและผ้อู ื่นโดยใช้เกณฑท์ ่กี ำหนดให้
สาระสำคญั
เคร่ืองมือวัดละเอยี ดแบบมีสเกล บรรทัดเหลก็ เป็นเครื่องมือวดั ที่มคี วาม ละเอยี ดไมส่ ูงมาก
นักแต่ยังคงเป็นเครื่องมือวัดที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในงานอุตสาหกรรมและงานท่ัว ๆ ไป ดังน้ัน
ในการศึกษาเกี่ยวกับ การวัดละเอียดจึงยังคงมีความจำ เป็นที่จะต้องศึกษารายละเอียดต่างๆ
เกี่ยวกับ เครื่องมือวัดละเอียดแบบมีสเกลด้วย และมีความคิดสร้างสรรค์แก้ปัญหาในการทำงาน
อย่างมีคณุ ธรรมและลักษณะนสิ ัยในการทำงานท่ีดี เพอ่ื ใช้ในการดำรงชวี ิต
แบบฝกึ ทักษะงานช่าง 1
เรื่อง เคร่ืองมอื วัดละเอยี ดในงานชา่ ง
คำชี้แจง แบบทดสอบกอ่ นเรียน
1.แบบทดสอบมี 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน ใชเ้ วลา 10 นาที
2.ใหเ้ ลอื กขอ้ ท่ีถกู ท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดียว
1.บรรทดั เหล็ก (Steel rule) ทำมาจากวสั ดชุ นดิ ใด
ก.เหล็กเหนยี ว
ข.อะลมู เิ นยี ม
ค.เหล็กกลา้
ง.สแตนเลส
2.ข้อใดกลา่ วถึงลกั ษณะของบรรทัดเหลก็ ได้ถูกตอ้ งที่สดุ
ก. มีลักษณะเป็นแผ่นหนา สนั้ ยาว บดิ งอตัวได้เลก็ น้อย
ข. มลี ักษณะเป็นแผน่ บาง ยาว บิดงอตวั ได้เล็กนอ้ ย
ค. มีลกั ษณะเปน็ แผ่นบาง ยาว บดิ งอตวั ได้เล็กนอ้ ย มี ขีดมาตราระบบเมตริกและระบบอังกฤษ
ง. มีลักษณะเปน็ แผ่นสายวัดโลหะแผน่ บาง เคลือบสีใน ตลับโลหะ มขี ดี มาตราระบบเมตริกและระบบองั กฤษ
3.ข้อใดสำคญั ท่ีสุดในการวดั
ก.เครือ่ งมือวดั
ข.ชนิ้ งานท่ตี อ้ งการวัด
ค.ความเขา้ ใจและการใชเ้ ครอื่ งมอื วดั
ง.ถูกทัง้ ก และ ข
4.ขีดมาตราจะเริ่มจากทางใดของผู้อ่าน
ก.เรม่ิ จากด้านขวามอื
ข.เรมิ่ จากด้านซา้ ยมือ
ค.แลว้ แต่บรษิ ทั ผผู้ ลิต
ง.ตามมาตราฐานของประเทศน้นั ๆ
5.บรรทัดเหล็กในระบบเมตริก มคี ่าความละเอียดเท่าใด
ก. 0.1 มลิ ลเิ มตร
ข. 0.5 มลิ ลเิ มตร
ค. 0.05 มิลลเิ มตร
ง. 1 มิลลเิ มตร
6.ข้อใดต่อไปนี้กลา่ วผดิ
ก. บรรทดั เหล็กมีใชอ้ ยู่ 3 ชนดิ
ข. ความหนาของบรรทัดเหลก็ เท่ากับ 1 มิลลเิ มตร
ค.บรรทดั เหล็กไมต่ อ้ งระวังความหนา
ง.แนวของงานกบั แนวของบรรทดั เหลก็ ต้องตรงกันเสมอ
2
แบบฝกึ ทักษะงานชา่ ง
เรือ่ ง เคร่ืองมอื วดั ละเอียดในงานชา่ ง
จากรปู ด้านล่าง จงใช้ตอบคำถามข้อ 7-8
7. จากขอบดา้ นซา้ ยของบรรทัดเหล็กถึงหมายเลข 1 มี ขนาดเทา่ กับเทา่ ใด
ก. 55.50 มิลลเิ มตร
ข. 50.55 มิลลเิ มตร
ค. 5.55 มลิ ลิเมตร
ง. 5.11 มิลลเิ มตร
8. จากขอบดา้ นซ้ายของบรรทดั เหล็กถงึ หมายเลข 2 มี ขนาดเทา่ กบั เทา่ ใด
ก. 29 น้ิว
ข. 30 นิ้ว
32
ค. 29น้วิ
32
ง. 0.29 นิ้ว
9.ขอ้ ควรระวงั ในการใช้บรรทัดเหลก็ ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ ง
ก.วางบรรทัดเหลก็ ให้ยดึ สเกลตรงขีดสองเสมอ
ข.ตั้งใจวัดและไมเ่ ข้าข้างตนเอง
ค.แนวรองงานกับแนวของบรรทดั เหล็กขณะวัดตอ้ งตรงกัน
ง.ถกู ท้ังข้อ ข และ ค
10.ข้อใดไมใ่ ช้การแบ่งสเกลบนบรรทัดเหล็ก
ก.1นว้ิ แบ่งเป็น 128 สว่ น
ข.1น้ิวแบง่ เปน็ 8 ส่วน
ค.1นวิ้ แบ่งเปน็ 32 สว่ น
ง.1นิ้วแบง่ เปน็ 64 ส่วน
3
กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ชอื่ ……………………………………ชน้ั ……………………….เลขที่………………..
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนนเต็ม 10
คะแนนที่ได้ คือ …………
4
ใบความรู้ เรื่อง เครอื่ งมือวดั ละเอยี ดแบบมสี เกล
เครอื่ งมอื วัดละเอยี ดแบบมสี เกลคอื เครื่องมือวัดทมี่ ีขีดสเกลติดอยู่ทเี่ คร่ืองมือวัด และสเกลไม่ สามารถ
เล่ือนได้ เครื่องมือวัดละเอยี ดแบบมสี เกลนี้สามารถอา่ นคา่ ได้โดยตรง ส่วนมากจะนำ ไปใช้ใน การวัดขนาด
ชนิ้ งานท่ีไม่ต้องการความละเอยี ดและเท่ียงตรงสูงมากนัก เครอ่ื งมือประเภทนี้ได้แก่ บรรทัดเหล็ก สายวดั และ
ตลับเมตร โดยมรี ายละเอียดดังนี้
1.บรรทัดเหลก็
บรรทดั เหล็ก (Steel Rules) หรือบรรทัดวัดโลหะเป็นเคร่ืองมอื วัดขนั้ พน้ื ฐานทน่ี ยิ มใชก้ ันอย่าง
แพร่หลายในโรงงานอตุ สาหกรรมเก่ียวกับเคร่ืองกลและงานโลหะใชว้ ดั ขนาดของชน้ิ งานได้อย่างรวดเร็วและยงั
ใช้เปน็ บรรทัด สำหรบั ขดี ระยะบนช้นิ งานรา่ งแบบหรือออกแบบช้นิ งาน โดยทั่วไปบรรทัดเหล็กจะทำ จากเหล็ก
สแตนเลส (Stainless Steel) หรอื เหลก็ กล้าชุบผวิ สามารถวัดคา่ ได้ทงั้ ระบบเมตริกมหี น่วยวัด เปน็ มลิ ลเิ มตร
และระบบอังกฤษมหี นว่ ยวัดเปน็ นิ้วหรอื อาจมรี ะบบเดยี วอย่างใดอย่างหน่ึงก็ได้
1.1 ชนิดของบรรทัดเหลก็
บรรทดั เหล็กมีหลายลักษณะเพ่อื ใหเ้ ลือกใช้งานได้ตามความเหมาะสม ดังน้ัน บรรทดั เหล็กจงึ สามารถ
แยกประเภทตามลักษณะการใช้งานได้หลายชนิด ได้แก่ บรรทัดแผ่นเรียบ (Plane Rules) บรรทัดส้ัน
(Shot Rule) บรรทัดวัดลึก (Rule Depth Gauge) บรรทัดปากเลื่อน (Slide Caliper Rule) และบรรทัดพับ
(Zig-Zag Rules) เปน็ ต้น
ภาพที่ 1 ตวั อย่างบรรทัดเหล็กชนิดตา่ ง ๆ
(ทม่ี า : วฒั นา ขันธะ,2553)
1.1.1 บรรทดั วดั แบบแผน่ เรยี บ บรรทดั แบบแผ่นเรยี บเป็นบรรทัดทีม่ ีลกัษณะเป็นแผ่น แบน
เรยี บขนาน ที่มีขีดสเกลบนแผ่นบรรทัดทงั้ แบบขดี สเกลด้านเดียวและแบบขีดสเกล 2 ดา้ น โดยแยกเป็นระบบ
เมตริก และระบบองั กฤษ หรืออาจทั้ง 2 ระบบอยูในตัวเดียวกัน ปกติขนาดของบรรทัดเหลก็ ชนิดนี้จะมขี นาด
ความหนา 0.3 มลิ ลเิ มตร ถงึ 1 มลิ ลเิ มตร มคี วามกว้างตง้ั แต่ 12 มลิ ลเิ มตร ถงึ 25 มลิ ลิเมตร และความยาว
150 มิลลิเมตรถึง 1600 มลิ ลเิ มตรการสรา้ งของบรรทดั แบบแผ่น เรียบจะมหี ลายลักษณะ ดงั ภาพที่ 2
5
ภาพที่ 2 ตัวอย่างบรรทดั วัดแบบแผน่ เรียบ
(ทีม่ า : วัฒนา ขนั ธะ,2553)
1.1.1.1บรรทัดเหล็กแบบแคบ (Narrow Rules) บรรทัดชนดิ น้ีมคี วามกวา้ งประมาณ 12
มิลลิเมตรและมีความยาวประมาณ 150 มลิ ลิเมตร มีขีดสเกลอยู่ขอบด้านเดยี วของแผ่นบรรทัด สามารถ บดิ งอ
ได้ใช้วดั ไดท้ ั้งแนวตรงและแนวโค้งของช้นิ งานได้ดังภาพที่ 3
ภาพที่ 3 บรรทดั เหล็กแบบแคบ
(ท่ีมา : วฒั นา ขันธะ,2553)
1.1.1.2 บรรทัดเหล็กแบบปลายตดั ฉาก (Square End Rules) บรรทดั เหล็กชนดิ นี้มลี กั ษณะ
เปน็ ปลายตัดเปน็ มุมฉากท้ัง 2 ด้าน มีทง้ั แบบแผ่นแข็งเกรง็ และแบบบดิ งอได้เลก็ น้อย มขี นาดความยาว ชว่ งวัด
ต้ังแต1่ 50 มิลลิเมตร (6 นิ้ว) ถึง 300 มลิ ลิเมตร (18 นิว้ ) มีขีดสเกลวัดเรมิ่ จากขอบปลายตัดของ บรรทดั เพ่ือใช้
กับการวัดทว่ั ๆ ไป สามารถวัดช้นิ งานได้ทง้ั สองข้าง ดังภาพท่ี 4
ภาพท่ี 4 บรรทดั เหลก็ ปลายตัดฉาก
(ทีม่ า : https://www.imarketthailand.com/shops/steel-ruler/)
6
1.1.1.3 บรรทัดเหล็กแบบหัวมนปลายตัดฉาก (Round End Rules) บรรทัดเหล็กชนิดน้ีมี
ลักษณะคล้ายกับแบบปลายตัดฉากแต่แตกต่างกันตรงที่ปลายอีกด้านหนึ่งหัวมนและมีรูเจาะไว้สำหรับ ห้อย
หรือแขวน ขีดสเกล ของบรรทัดเหล็กแบบนี้สามารถวัดได้จากขอบปลายเพียงด้านเดียว มีท้ังแบบ แผ่น แข็ง
เกร็งและแบบบิดงอได้เล็กน้อย ส่วนความยาวมีขนาดความยาวช่วงวัดตั้งแต่150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว) ถึง 600
มลิ ลิเมตร(39 นว้ิ ) ดังภาพที่ 5
ภาพที่ 5 บรรทัดเหลก็ ปลายตัดฉาก
(ที่มา : http://www.amazon.com/SE-0706569926682-6-Inch-Double-2-
Pack/dp/B000TSWOLQ/ref=pd_sbs_indust_1)
1.1.1.4 บรรทดั เหล็กแบบปลายตัดเอยี ง (Fillet Rules) บรรทดั เหล็กชนิดน้ีมลี ักษณะคล้าย
กับแบบปลายตัด ฉากแต่แตกต่างกัน ตรงที่ปลายอีกด้านหนงึ่ เอียง เพอ่ื ให้สามารถสอดวัดเขา้ ไปในบ่า หรือร่อง
ของช้นิ งานและวัดระยะช้ินงานท่ีมีบ่าโค้งไดด้ ังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 บรรทดั เหล็กปลายตัดเอียง
(ท่ีมา : http://www.amazon.com/Starrett-C310T-6-
FlexibleGraduationsThickness/dp/B000VDZF1U)
1.1.1.5 บรรทัดเหลก็ แบบขอเกย่ี ว (Hook Rules) บรรทดั เหลก็ ชนดิ น้ีมลี กั ษณะคลา้ ยกับ
บรรทัดเหลก็ แบบปลายตัด ฉากแตแ่ ตกต่างกัน ตรงที่มีด้านหนึ่งมีตะขอเก่ียวยดึ ติดอยู่ เพ่ือใชเ้ ป็นหน้า อา้ งองิ
เกี่ยวหรือวัดชนิ้ งาน ซึ่งขอเกี่ยวนี้มีทง้ั แบบยึดติดแนน่ และปรบั เลอื่ นระยะได้ดังภาพท่ี 1.7
ภาพที่ 7 บรรทัดเหล็กแบบขอเกีย่ ว
(ทีม่ า : http://www.amazon.com/Fowler-12-Rigid-Hook-Rule/dp/B00AACJFXG/
ref=sr_1_42?s=hi&ie=UTF8&qid=1354740281&sr=1-42&keywords=Hook+Rules)
7
2. สเกลและการอ่านค่าสเกลของบรรทัดเหล็ก
สเกลของบรรทดั เหลก็ ทผ่ี ลติ จำหนา่ ยกนั โดยทั่วไปจะมขี ีดสเกลอยู่ 2 ระบบ คอื ระบบเมตรกิ มสี เกล
เป็นมิลลเิ มตร และระบบอังกฤษที่มีสเกลเป็นนิ้วโดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
2.1 ระบบเมตริก ขีดสเกลระบบเมตริกมีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร โดยจุดที่มี
ความยาว ครบ 1 เซนติเมตร หรือ 10 มิลลิเมตรจะมีตัวเลขกำกับไว้และตัวเลขเริ่มต้นจาก 1, 2, 3... ต่อไป
เรื่อยๆ ถ้าบรรทัดเหล็กที่มีความยาวถึงหรือเกินกว่า 1 เมตรก็จะมีตัวเลข1 เมตรกำกับไว้แสดงระยะ 1 เมตร
สว่ นช่องสเกลจะแบง่ เป็นช่องๆ โดยทช่ี อ่ งหนึ่ง ๆ มีความยาวเทา่ กบั 1 มลิ ลเิ มตร และสามารถแบ่ง ละเอียดได้
อกี คือ 0.5 มิลลิเมตร ดงั ภาพท่ี 8
ภาพที่ 8 ขดี สเกลของบรรทดั เหล็กระบบเมตริก
(ทม่ี า : วัฒนา ขนั ธะ,2553)
2.2 ระบบองั กฤษ ขดี สเกลระบบองั กฤษแบ่งขีดความยาวออกเป็น 2 แบบ คือแบบเศษส่วน และ
แบบ ทศนิยม การแบ่งขีดความยาวเป็นเศษส่วนความยาว1 นิ้วแบ่งออกเป็น 8 ส่วน แล้วแบ่งละเอียดขึ้นอีก
เปน็ 16, 32 และ64 สว่ น ตามลำดบั ดังภาพท่ี 9
ภาพที่ 9 ขีดสเกลของบรรทดั เหลก็ ระบบอังกฤษแบบเศษส่วน
(ทม่ี า : http://www.schlenkerenterprises.net/products/20%22%7B47% 7D500-mm-
Heavy-Duty-Hardened-Stainless-Steel-Ruler.html)
8
สำหรับการแบ่งขีดสเกลระบบอังกฤษแบบทศนิยมจะแบ่งความยาว 1 นิ้วออกเป็น 10 ช่องใหญ่และ
แบ่งละเอียดออกเป็น 50 ช่อง และ 100 ช่อง ตามลำดับ ดังนั้นความยาว 1 นิ้ว แบ่ง ออกเป็น 10 ช่องความ
ยาว 1 ช่อง มีค่าเท่ากับ 0.10 นิ้ว และแบ่งความยาว 1 นิ้ว ออกเป็น 50 ช่องความ ยาว 1 ช่องมีค่าเท่ากับ
0.02 นว้ิ และหากแบง่ ความยาว 1 นว้ิ ออกเปน็ 100 ช่องความยาว1 ชอ่ ง มคี ่าเทา่ กับ 0.01 น้ิว ดงั ภาพที่ 10
(ที่มา : http://www.ebay.com/itm/USA-PEC-6-Flexible-Stainless-5R-Machinistruler-rule-1-64-1-
32-1-10-1-100-/130669052153)
ภาพที่ 10 การแบ่งขีดสเกลระบบอังกฤษแบบทศนยิ ม 0.1 น้ิว0.02 น้ิวและ0.01 น้วิ
2.3 การอา่ นคา่ สเกลบรรทดั เหล็กระบบเมตรกิ
หน่วยการวัดระบบเมตริกเปน็ ระบบการวัดที่มีสเกลหลักเป็นเซนตเิ มตร และสเกลรอง เป็นมลิ ลิเมตร
โดยทีส่ เกลตัวเลขแตล่ ะตวั จะมีคา่ เท่ากบั 1 เซนติเมตร ไปจนถึงความยาวของบรรทัด เหลก็ เช่น 15, 30
เซนติเมตร เป็นตน้ การอา่ นค่าสเกลบรรทัดเหลก็ ระบบเมตริกสามารถอ่านได้ 2 แบบ ตามคา่ ความละเอียด
ของบรรทัดเหล็กคือ บรรทัดเหลก็ สเกลคา่ ความละเอียด 0.5 มลิ ลเิ มตรและบรรทัด เหล็กสเกลคา่ ความ
ละเอยี ด 1 มิลลเิ มตร โดยมวี ิธิกี ารอา่ นคา่ ดังน้ี
1) บรรทดั เหลก็ สเกลค่าความละเอยี ด 0.5 มลิ ลเิ มตร การอ่านคา่ บรรทัดเหลก็ สเกลคา่ ความ
ละเอียด 0.5 มิลลเิ มตร ดังภาพที่ 11
ภาพท่ี 11 บรรทดั เหล็กสเกลคา่ ความละเอียด 0.5 มิลลิเมตร
(ทีม่ า : วฒั นา ขันธะ, 2553)
9
จากภาพที่ 11 บรรทดั เหล็กสเกลค่าความละเอียด 0.5 มิลลิเมตรอา่ นค่าได้ดังน้ี
ตำแหนง่ A มคี ่าเท่ากับ 0.70 เซ็นตเิ มตร หรือ 7.0 มิลิเมตร
ตำแหนง่ B มีค่าเทา่ กบั 1.35 เซน็ ติเมตร หรอื 13.5 มลิ ิเมตร
ตำแหน่ง C มคี ่าเท่ากับ 2.45 เซน็ ตเิ มตร หรอื 24.5 มลิ ิเมตร
ตำแหนง่ D มีค่าเท่ากบั 3.70 เซ็นตเิ มตร หรอื 37.0 มลิ ิเมตร
ตำแหน่ง E มีค่าเท่ากบั 4.55 เซ็นติเมตร หรอื 45.5 มลิ ิเมตร
2) บรรทัดเหลก็ สเกลค่าความละเอยี ด 1 มลิ ลเิ มตร การอ่านคา่ บรรทัดเหลก็ สเกลคา่ ความ
ละเอียด 1 มิลลิเมตร ดังภาพที่ 12
ภาพท่ี 12 บรรทดั เหล็กสเกลคา่ ความละเอียด 1 มลิ ลเิ มตร
(ท่มี า : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
จากภาพท่ี 12 บรรทดั เหลก็ สเกลคา่ ความละเอียด 1 มิลลิเมตรอ่านค่าได้ดังนี้
ตำแหนง่ A มคี ่าเทา่ กบั 4.50 เซ็นติเมตร หรือ 45.0 มลิ ิเมตร
ตำแหน่ง B มีค่าเทา่ กบั 5.20 เซ็นตเิ มตร หรือ 52.0 มิลิเมตร
ตำแหน่ง C มีคา่ เท่ากบั 5.70 เซน็ ติเมตร หรอื 57.0 มิลิเมตร
ตำแหนง่ D มคี ่าเท่ากบั 6.40 เซน็ ตเิ มตร หรือ 64.0 มิลิเมตร
ตำแหน่ง E มคี า่ เท่ากบั 7.30 เซ็นติเมตร หรือ 73.0 มิลิเมตร
2.4 การอ่านคา่ สเกลบรรทดั เหลก็ ระบบอังกฤษ
หน่วยการวัดระบบอังกฤษที่อยูบ่ นบรรทัดเหลก็ เป็นหน่วยการวัดทอี่ ่านคา่ เปน็ นิว้ ซึง่ การอา่ นค่าสเกล
บรรทดั เหล็กระบบอังกฤษสามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ แบบเศษส่วน และแบบทศนยิ ม โดยมีวิธกีิ ารอา่ นค่าดังนี้
2.4.1 แบบเศษส่วน การอ่านคา่ สเกลบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษแบบเศษสว่ นนั้น ขดี สเกลทใ่ี ช้
บนบรรทัดเหลก็ จะถูกแบง่ ออกเปน็ ส่วนๆ เชน่ ถา้ ภายใน 1 นิว้ ถูกแบง่ ออกเป็น 2 ส่วน ก็จะเปน็ 1 นว้ิ และ ถ้า
2
ภายใน 1 น้วิ ถกู แบ่งออกเปน็ 16 ส่วน กจ็ ะเปน็ 1
น้ิวเปน็ ต้น เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจได้งา่ ยจะขออธิบายการ
16
อา่ นคา่ การวัด โดยเรมิ่ จากสเกลหลักก่อน และถัดไปจะเป็นสเกลรองหลักตา่ งๆ ดังนี้
2.4.1.1 สเกลหลัก หน่วยการวัดเป็นน้ิว สเกลหลักของหน่วยการวัดระบบอังกฤษน้ีเป็นสเกล
ท่มี กั จะมตี ัวเลขกำกับอยเู่ สมอ โดยทัว่ ไปจะเร่ิมตน้ จาก 0 ถึง ความยาวสดุ ท้ายของบรรทดั เหล็ก ซึ่งข้ึนอยกู่ ับ
ความยาวของบรรทัดเหลก็ โดยมลี กั ษณะดงั ภาพที่ 13
10
ภาพท่ี 13 สเกลหลกั บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษแบบเศษส่วน
(ทม่ี า : วัฒนา ขนั ธะ, 2553)
จากภาพที่ 13 สเกลหลกั บนบรรทัดเหลก็ ระบบอังกฤษ อ่านคา่ ไดด้ ังน้ี
ตำแหนง่ A มีคา่ เทา่ กับ 1 น้วิ
ตำแหนง่ B มีค่าเทา่ กบั 2 นิว้
ตำแหน่ง C มคี า่ เท่ากับ 3 นิ้ว
ตำแหนง่ D มีค่าเท่ากบั 4 นิ้ว
ตำแหนง่ E มีคา่ เท่ากบั 5 นวิ้
2.4.1.2 สเกลรอง นว้ิ สเกลรอง 1 น้ิวเป็นช่องระยะทม่ี ีการแบ่งออกมาจากความยาว 1นิ้ว
2
โดยแบง่ ออกมาเปน็ 2 สว่ นเทา่ ๆ กนั หรอื คร่งึ หน่งึ ของความยาว 1 นวิ้ ภาพที่ 14
ภาพที่ 14 สเกลรอง 1 นวิ้ บนบรรทัดเหลก็ ระบบอังกฤษแบบเศษสว่ น
2
(ทีม่ า : วัฒนา ขันธะ, 2553)
จากภาพท่ี 14 สเกลรอง 1 นว้ิ บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษ อ่านคา่ ได้ดังน้ี
2
ตำแหนง่ A 1 น้วิ
มคี ่าเทา่ กับ
2
ตำแหนง่ B มคี ่าเทา่ กบั 1 1 นิ้ว
ตำแหนง่ C มีค่าเทา่ กับ 2 21 นวิ้
2
ตำแหนง่ D มคี ่าเทา่ กบั 3 1 น้วิ
ตำแหนง่ E มคี ่าเท่ากบั 4 12 นวิ้
2
11
2.4.1.3 สเกลรอง นิว้ สเกลรอง 1 น้ิว เป็นสเกลท่ีถูกแบง่ ออกมาจากสเกล 1 นิว้ โดยแบง่
4 2
ความ ยาว 1 นว้ิ ออกเปน็ 4 ส่วนเท่า ๆ กนั โดยแต่ละส่วนจะมีคา่ เทา่ กับ 1 น้ิว ดังภาพท่ี 15
4
ภาพท่ี 15 สเกลรอง 1 น้วิ บนบรรทัดเหล็กระบบองั กฤษแบบเศษส่วน
4
(ทม่ี า : วัฒนา ขนั ธะ, 2553)
จากภาพที่ 15 สเกลรอง 1 นิว้ บนบรรทัดเหลก็ ระบบอังกฤษ อา่ นคา่ ได้ดังน้ี
4
ตำแหน่ง A มคี า่ เท่ากับ 3 น้วิ
4
ตำแหน่ง B มีค่าเท่ากบั 1 น้วิ
1
4
ตำแหนง่ C มีค่าเท่ากับ 1 3 นว้ิ
4
ตำแหน่ง D มคี ่าเทา่ กบั 2 1 นวิ้
4
ตำแหน่ง E มคี า่ เท่ากบั 2 3 นิว้
4
2.4.1.4 สเกลรอง นิ้ว สเกลรอง 1 นิว้ เป็น สเกลที่ถูกแบง่ ออกมาจากสเกล 1 นิ้ว โดยการ
8 4
แบง่ ครึ่ง ของ 1 นิ้ว ออกเปน็ อีกหน่ึงส่วนเทา่ ๆ กนั หรอื โดยการแบ่งความยาว 1 น้วิ ออกเป็น 8 ส่วนเทา่ ๆ
4
กันซึง่ แตล่ ะสว่ นจะมคี ่าเท่ากับ 1 นว้ิ ดงั ภาพที่ 16
8
ภาพที่ 16 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทัดเหลก็ ระบบอังกฤษแบบเศษสว่ น
8
(ท่ีมา : วฒั นา ขันธะ, 2553)
12
จากภาพที่ 16 สเกลรอง 1 นิว้ บนบรรทัดเหลก็ ระบบองั กฤษ อา่ นคา่ ได้ดังนี้
8
ตำแหน่ง A มคี ่าเท่ากับ 1 นิว้
8
ตำแหนง่ B มีค่าเทา่ กบั 5 นิ้ว
8
ตำแหน่ง C มคี ่าเท่ากับ 1 3 นวิ้
8
ตำแหน่ง D มีค่าเทา่ กบั 1 7 น้วิ
8
ตำแหน่ง E มคี า่ เท่ากบั 2 3 น้วิ
8
2.4.1.5 สเกลรอง นิว้ สเกลรอง 1 น้วิ เป็นสเกลทถ่ี กู แบง่ ออกมาจากสเกล 1 นว้ิ โดย
16 8
การแบง่ ครึ่งของ 1 น้วิ ออกเป็นอีกหน่ึงส่วนเท่าๆ กนั หรือโดยการแบง่ ความยาว 1 นว้ิ ออกเปน็ 16 ส่วนเท่า ๆ
8
กัน ซ่ึงแตล่ ะส่วนจะมคี า่ เทา่ กบั 1 นว้ิ ดังภาพท่ี 17
16
ภาพที่ 17 สเกลรอง 1 นว้ิ บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษแบบเศษสว่ น
16
(ท่มี า : วัฒนา ขนั ธะ, 2553)
จากภาพท่ี 17 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษ อ่านค่าได้ดงั น้ี
16
ตำแหน่ง A มีค่าเทา่ กับ 5 นว้ิ
16
ตำแหนง่ B มีค่าเทา่ กบั 15นว้ิ
16
ตำแหน่ง C มคี ่าเท่ากับ 1 7 นิว้
16
ตำแหน่ง D มคี ่าเท่ากบั 2 3 นว้ิ
16
ตำแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 2 11 นิว้
16
13
2.4.1.6 สเกลรอง นว้ิ สเกล 1 นว้ิ เป็นสเกลท่ีถูกแบ่งออกมาจากสเกล 1 นิว้ โดยการ
32 16
แบง่ ครึ่งของ 1 นว้ิ ออกเปน็ อีกหนึ่งสว่ นเทา่ ๆ กันหรือโดยการแบง่ ความยาว 1 นิ้วออกเป็น 32 ส่วนเท่า ๆ
16
กันซง่ึ แต่ละสว่ นจะมีค่าเทา่ กับ 1 นิ้ว ดงั ภาพท่ี 18
32
ภาพที่ 18 สเกลรอง 1 น้วิ บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษแบบเศษส่วน
32
(ทม่ี า : วัฒนา ขนั ธะ, 2553)
จากภาพที่ 18 สเกลรอง 1 นิว้ บนบรรทดั เหล็กระบบอังกฤษ อ่านคา่ ได้ดงั น้ี
32
ตำแหน่ง A มคี า่ เทา่ กับ 5 นิ้ว
32
ตำแหนง่ B มีค่าเทา่ กบั 25 นิ้ว
32
ตำแหนง่ C มคี ่าเท่ากับ 1 11 นวิ้
32
29
ตำแหน่ง D มีค่าเท่ากบั 1 32 นวิ้
ตำแหน่ง E มีคา่ เท่ากบั 2 14 นิ้ว
32
2.4.1.7 สเกลรอง น้วิ สเกล 1 น้วิ เปน็ สเกลท่ถี กู แบง่ ออกมาจากสเกล 1 น้ิว โดยการ
64 32
แบ่งครึ่ง ของ 1 น้วิ ออกเป็นอีกหน่ึงส่วนเท่าๆ กนั หรือโดยการแบง่ ความยาว 1 นว้ิ ออกเปน็ 64 สว่ นเท่าๆ
32
กัน ซง่ึ แตล่ ะส่วนจะมคี า่ เทา่ กับ 1 นิว้ ดังภาพ ที่ 19
64
ภาพท่ี 19 สเกลรอง 1 นิ้ว บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษแบบเศษสว่ น
64
(ทีม่ า : วัฒนา ขนั ธะ, 2553)
14
จากภาพท่ี 19 สเกลรอง 1 น้วิ บนบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษ อา่ นค่าได้ดงั นี้
64
ตำแหนง่ A มีคา่ เท่ากับ 2 1 น้ิว
64
ตำแหน่ง B มีค่าเท่ากับ 2 13น้วิ
64
ตำแหน่ง C มคี า่ เท่ากับ 2 29 น้วิ
64
ตำแหนง่ D มคี ่าเท่ากบั 2 41 นิ้ว
64
ตำแหนง่ E มีค่าเท่ากบั 2 54 น้วิ
64
3. หลกั การและวธิ กี ารใช้บรรทัดเหล็ก การวัดขนาดของชน้ิ งานด้วยบรรทัดเหล็กนน้ั สามารถวัด
ไดท้ งั้ ช้นิ งานทรงกลม และส่เี หล่ียม ซง่ึ มเี ทคนิคในการวดั ที่ผู้ใชง้ านจำเปน็ จะต้องทราบเพอื่ ให้ไดผ้ ลการวดั ท่ี
ถูกต้อง โดยมีหลักการและ วธิ กี ารใช้บรรทัดเหล็กวัดขนาดชิ้นงานต่างๆ ดังนี้
3.1 การวัดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง การวัดขนาดบริเวณพ้ืนท่ีหนา้ ตัดของช้ินงานกลมเพ่ือหาขนาด
ของเสน้ ผ่านศูนย์กลาง ส่ิงที่ต้องคา นงึ คือแนวการวัดของบรรทัดเหลก็ จะต้องอยู่ตรงบรเิ วณเส้นผ่านศนู ย์กลาง
ของช้นิ งานพอดี เนื่องจากว่า ตรงเสน้ ผ่านศูนย์กลางนน้ั จะเปน็ ส่วนทชี่ ้ินงานมีขนาดโตทสี่ ุด ดังนั้น ในการวัด
ขนาดบรเิ วณ พน้ื ทห่ี นา้ ตัดของชิ้นงานกลม ใหผ้ ู้วดั หาจุดอา้ งอิงในการวัดโดยใช้แท่งเหลก็ ท่มี คี วามฉากกัน ที่บ่า
ของ ช้ินงานเพ่อื ใหเ้ ป็นจุดอ้างองิ ดงั ภาพที่ 20 (ก) หรือใช้หัวหาศนู ย(์ Center Head)ของชุดฉากผสม
(Combination Set) ชว่ ยในการวดั ดังภาพท่ี 20 (ข)
ภาพท่ี 20 การวัดเส้นผ่านศนู ย์กลางด้วยบรรทดั เหล็ก
(ท่มี า : วัฒนา ขันธะ, 2553)
15
3.2 การวดั ความยาวชิน้ งานมีบ่าฉาก การวัดขนาดความยาวของช้ินงาน ในกรณีท่ชี ้ินงาน
น้ันมบี า่ ท่ตี งั้ ฉากของช้นิ งานอยู่ แลว้ สามารถทำ การวัดได้เลย โดยการใช้บา่ ของชน้ิ งานนั้น เปน็ ตัวกำหนด
จดุ อา้ งองิ ในการวัดช้นิ งาน ดังภาพที่ 21
ภาพที่ 21 การวัดความยาวช้ินงานมีบ่าฉาก
(ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)
3.3 การวัดความยาวชิน้ งานมีบ่าไม่ฉาก การวัดขนาดความยาวของช้ินงาน ในกรณีท่ีชิ้นงาน
น้ัน มบี า่ ไม่ฉากของชน้ิ งานอยู่แล้ว ก็สามารถทำการวัดไดเ้ ลยแตจ่ ะต้องเลอื กใช้บรรทดั เหล็กแบบปลายตัดเอียง
แต่ยงั คงใช้บ่างานในส่วน อ่นื เป็นตัวกำหนดจุดอ้างองิ ในการวัดชิน้ งาน ดังภาพที่ 22
ภาพท่ี 22 การวดั ความยาวช้ินงานมบี า่ ไม่ฉาก
(ท่มี า : วัฒนา ขนั ธะ, 2553)
16
3.4 การวดั ความยาวชิน้ งานไม่มีบ่า การวัดขนาดความยาวของชิน้ งาน ในกรณที ีช่ น้ิ งานน้ัน
ไมม่ บี ่าผู้ทำการวัดจะต้องหา จดุ อา้ งองิ ในการวัด โดยใช้แท่งเหลก็ ทม่ี ีความฉากกั้นที่ขอบของชน้ิ งานเพ่ือให้เปน็
จุดอ่างองิ ดงั ภาพที่ 23
ภาพที่ 23 การวัดขนาดความยาวของชิ้นงานไมม่ ีบา่ โดยใช้แท่งเหล็กกน้ั
(ที่มา : วฒั นา ขันธะ, 2553)
4. ข้อควรระวังในการใช้บรรทัดเหลก็
การใชบ้ รรทดั เหล็กวัดขนาดของชนิ้ งานให้ได้ผลการวัดทถี่ ูกต้อง นอกจากวิธกี ารใชบ้ รรทดั เหล็กที่
ถูกต้องแล้วผู้ใช้จะต้องทราบถึงข้อปฏิบัตหิ รือข้อควรระวังในการใช้ดงั นี้
4.1 เลือกประเภทบรรทัดเหล็กให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่ตอ้ งการวัด
4.2 ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของสเกลก่อนใช้ทุกคร้ัง
4.3 ก่อนทำการวดั ขนาดของชิ้นงานจะตอ้ งทำความสะอาดบรรทัดเหล็ก และลบ คมช้ินงาน
ให้เรยี บร้อย
4.4 การวัดพื้นทีห่ น้าตัดของชิน้ งาน ควรมีการขยับและทำการอา่ นค่า 2-3ครง้ั เพือ่ ต้องการ
หาขนาดท่ีถูกต้องของชนิ้ งาน โดยจะต้องกำหนดจดุ เรมิ่ ต้นท่ีชัดเจนและในระหว่างการขยับนัน้ จะตอ้ งระวัง
ไมใ่ หจ้ ดุ เรม่ิ ต้นของการวัดนั้นขยับ ซ่งึ จะส่งผลต่อขนาดทว่ี ัดไดด้ ังภาพท่ี 24
ภาพที่ 24 แนวการวดั ขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางของช้นิ งานกลม
(ท่มี า : วัฒนา ขันธะ, 2553)
17
4.5 การวดั ความยาวชิ้นงาน แนวการวางของบรรทัดเหล็กจะตอ้ งวางแนวขนานกับผิวของ
ชิ้นงานพอดีไมเ่ อียงไปด้านใดด้านหน่ึงมากเกนิ ไป เพราะจะทำให้ค่าที่ได้จากการวัดนั้นไม่ตรง กับขนาดจริงของ
ชน้ิ งาน ดังภาพท่ี 25
ภาพท่ี 25 แสดงแนวการวางบรรทัดเหลก็ วดั ความยาวชน้ิ งาน
(ทม่ี า : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf)
4.6 การวดั ชิ้นงานด้วยบรรทัดเหลก็ ทีต่ รงปลายบรรทัดสึกควรวัดโดยเรม่ิ ต้น ทเ่ี ลข จำนวน
เตม็ บรรทัดเหลก็ เชน่ 1 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร หรือ 1 นิว้ 2 นิ้ว เปน็ ตน้ ดงั ภาพที่ 26
ภาพที่ 26 การวดั ช้นิ งานด้วยบรรทัดเหลก็ ทต่ี รงปลายบรรทัดสึกหรือมีรอยเยนิ
(ท่มี า : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf)
18
4.7 การวางบรรทดั เหล็กเพือ่ ทำการวดั จะต้องให้ขดี สเกลของบรรทัดเหลก็ ติดกบั สว่ นท่ีถกู
วดั หรือชนิ้ งาน ดังภาพท่ี 27
ภาพที่ 27 การวางบรรทัดเหล็กเพื่อทำการวดั
(ท่มี า : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf)
4.8 การอ่านค่าท่ีได้จากการวัด ช้ินงานดว้ ยบรรทัดเหลก็ ตอ้ งให้สายตาอยู่ในแนว ตรงกับ
ตำแหนง่ ท่ีอา่ นคา่ ของบรรทัดเหลก็ เพื่อให้การอา่ นสเกลบนบรรทัดเหลก็ ถูกต้อง ดงั ภาพที่ 28
ภาพท่ี 28 ตำแหน่งการอ่านค่าท่ีได้จากการวัดชน้ิ งานด้วยบรรทัดเหล็ก
(ทีม่ า : http://littlemachineshop.com/Instructions/SteelRules.pdf)
19
5. การบำรงุ รกั ษาบรรทัดเหล็ก
เพ่อื ให้บรรทดั เหล็กมีอายุการใชง้ านได้ยาวนานและให้ผลการวดั ทีถ่ ูกต้อง ผู้ใชบ้ รรทัดเหลก็ ควรทำ
การดูแลและบำรงุ รักษาบรรทัดเหลก็ ดังน้ี
5.1 ตรวจสภาพการใช้งานของบรรทัดเหล็กอยู่เสมอ เช่น รอยเยิน ทขี่ อบและการ บดิ งอของ
บรรทดั เหลก็ เปน็ ตน้
5.2 ทำความสะอาดและทาน้ำมนั กนั สนิมเม่ือเลิกใช้งานก่อนเกบ็ เขา้ ชอ่ งเกบ็ ทุกครั้ง ฃ
5.3 เก็บบรรทัดเหลก็ ในทเี่ กบ็ ที่เหมาะสม เชน่ มชี อ่ งเสยี บเก็บ หรือห้อยกบั ขอเกยี่ ว
5.4 ถ้าต้องวางบรรทัดเหล็กกับ พนื้ ให้วางบรรทดั เหล็กในแนวระนาบเสมอ
5.5 อย่าวางบรรทัดเหลก็ รวมกบั เครื่องมือชนิดอืน่ โดยเฉพาะเครื่องมือที่มคี ม
5.6 หา้ มใชบ้ รรทัดเหล็กแทนเครอ่ื งมือชนดิ อ่ืน เช่น ไขควงและค้อน เปน็ ต้น
สรปุ ท้ายหน่วย
บรรทดั เหล็ก เป็นเคร่ืองมือวดั ความยาวพืน้ ฐานท่ีนยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลาย มีลกั ษณะเป็น แผ่นบาง
ยาวบดิ งอได้เล็กนอ้ ย ทำ จากเหลก็ ไรส้ นมิ มหี ลายชนิด ได้แก่
– บรรทดั เหล็กแบบธรรมดา
– บรรทดั เหลก็ แบบหน้าแคบ
– บรรทัดแบบขอเกี่ยว
– บรรทัดแบบมีปากเล่ือนวัด
– บรรทัดสน้ั
– บรรทดั วัดลกึ
ค่าขนาดขดี มาตราบนบรรทดั เหล็กแบบทว่ั ไปจะมสี องดา้ น ด้านหนึง่ จะเป็นระบบเมตริก ค่า ความ
ละเอียด 0.05 มลิ ลิเมตร สว่ นอีกตำแหน่งจะเป็นระบบอังกฤษ คา่ ความละเอยี ด 1 น้ิว 1 นิ้ว 1 นิ้ว เป็น
64 32 16
ตน้
การใชง้ านบรรทัดเหลก็ แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ
– การใช้บรรทดั เหล็กวัดขนาดความยาวของชนิ้ งาน
– การใช้บรรทัดเหล็กถ่ายขนาดวัด
20
ใบกิจกรรมท่ี 1
จดุ ประสงค์ ผู้เรียนสามารถใชบ้ รรทดั เหลก็ วัดขนาดชน้ิ งานได้
คำสัง่ ใหผ้ ูเ้ รียนใช้บรรทัดเหลก็ วัดขนาดช้ินงานทั้งระบบเมตริก และระบบองั กฤษบนั ทกึ คา่ ลงในตารางบนั ทกึ ผล
เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ H I
1. บรรทัดเหล็กคา่ ความละอียด 0.5 มิลลเิ มตร และค่าความละเอียด 1 น้วิ R
64
2. ชิ้นงานตัวอย่างมาตราส่วนจริง 1:1
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. ทำความสะอาดบรรทัดเหล็กและชนิ้ งาน
2. วัดขนาดชนิ้ งานด้วยบรรทดั เหล็ก ต้งั แต่ A จนถงึ R ทั้งระบบเมตริกและอังกฤษ
3. บนั ทกึ ผลการวัดลงในตารางบนั ทึกผล
หนว่ ยวดั A B C D E F G
ซ.ม./ม.ม.
นิ้ว
หน่วยวัด J K L M N O Q
ซ.ม./ม.ม.
นว้ิ
21
ใบกจิ กรรมท่ี 2
จดุ ประสงค์ ผูเ้ รียนสามารถใช้บรรทัดเหลก็ วัดขนาดช้ินงานได้
คำส่งั ให้ผเู้ รียนใชบ้ รรทัดเหล็กวัดขนาดชิ้นงานทั้งระบบเมตรกิ และระบบอังกฤษบันทึกคา่ ลงในตารางบนั ทึกผล
L
K
เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ I J
1. บรรทดั เหล็กค่าความละอียด 0.5 มลิ ลเิ มตร และคา่ ความละเอยี ด 1 น้วิ
64
2. ช้นิ งานตัวอย่างมาตราสว่ นจรงิ 1:1
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. ทำความสะอาดบรรทดั เหล็กและชิ้นงาน
2. วดั ขนาดชน้ิ งานด้วยบรรทัดเหลก็ ต้งั แต่ A จนถงึ L ท้ังระบบเมตริกและอังกฤษ
3. บันทึกผลการวัดลงในตารางบันทกึ ผล
หน่วยวดั A B C E F G H
ซ.ม./ม.ม.
นิว้
หน่วยวัด K L
ซ.ม./ม.ม.
นิ้ว
22
ใบกจิ กรรมท่ี 3
จุดประสงค์ ผเู้ รยี นสามารถใชบ้ รรทัดเหล็กวัดขนาดช้ินงานจรงิ ได้
คำส่ัง ใหผ้ ูเ้ รยี นใชบ้ รรทัดเหล็กวัดขนาดชิ้นงานจรงิ ตามมราสนใจท้งั ระบบเมตริก ระบบอังกฤษ ทำการร่างแบบลงใน
พน้ื ท่ีวา่ งพร้อมกำหนดตำแหน่ง และบนั ทึกคา่ ลงในตารางบันทกึ ผล
เครื่องมอื และอุปกรณ์
1. บรรทดั เหลก็ คา่ ความละอียด 0.5 มิลลเิ มตร และค่าความละเอียด 1 นิ้ว
64
2. ช้นิ งานตวั อยา่ งตามทีส่ นใจ
ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. ทำความสะอาดบรรทดั เหล็กและชน้ิ งาน
2. วดั ขนาดชน้ิ งานด้วยบรรทัดเหล็ก ตัง้ แต่ตำแหน่ง…….จนถึงตำแหนง่ …… ทง้ั ระบบเมตริกและองั กฤษ
3. บนั ทกึ ผลการวัดลงในตารางบันทึกผล
หนว่ ยวดั
ซ.ม./ม.ม.
นิว้
หน่วยวดั
ซ.ม./ม.ม.
น้ิว
แบบฝกึ ทักษะงานช่าง 23
เรื่อง เคร่ืองมือวัดละเอยี ดในงานชา่ ง
คำชี้แจง แบบทดสอบหลังเรยี น
1.แบบทดสอบมี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2.ใหเ้ ลือกขอ้ ที่ถูกทสี่ ุดเพยี งข้อเดียว
1.บรรทดั เหลก็ (Steel rule) ทำมาจากวัสดุชนิดใด
ก.เหล็กเหนียว
ข.อะลมู ิเนยี ม
ค.เหล็กกล้า
ง.สแตนเลส
2.ข้อใดกลา่ วถงึ ลักษณะของบรรทัดเหลก็ ไดถ้ กู ตอ้ งทีส่ ุด
ก. มลี ักษณะเป็นแผน่ หนา สั้น ยาว บดิ งอตัวได้เล็กนอ้ ย
ข. มีลักษณะเปน็ แผ่นบาง ยาว บิดงอตวั ไดเ้ ลก็ น้อย
ค. มลี ักษณะเปน็ แผน่ บาง ยาว บดิ งอตวั ได้เล็กน้อย มี ขดี มาตราระบบเมตริกและระบบองั กฤษ
ง. มลี กั ษณะเป็นแผน่ สายวัดโลหะแผ่นบาง เคลอื บสใี น ตลบั โลหะ มขี ีดมาตราระบบเมตริกและระบบอังกฤษ
3.ขอ้ ใดสำคัญที่สดุ ในการวัด
ก.เครือ่ งมอื วดั
ข.ชิ้นงานที่ต้องการวดั
ค.ความเขา้ ใจและการใชเ้ คร่ืองมือวดั
ง.ถูกท้ัง ก และ ข
4.ขดี มาตราจะเรมิ่ จากทางใดของผ้อู ่าน
ก.เรม่ิ จากดา้ นขวามอื
ข.เริ่มจากด้านซา้ ยมือ
ค.แลว้ แต่บริษัทผผู้ ลติ
ง.ตามมาตราฐานของประเทศนน้ั ๆ
5.บรรทัดเหลก็ ในระบบเมตริก มคี ่าความละเอยี ดเท่าใด
ก. 0.1 มลิ ลิเมตร
ข. 0.5 มลิ ลิเมตร
ค. 0.05 มลิ ลเิ มตร
ง. 1 มลิ ลเิ มตร
6.ข้อใดต่อไปนก้ี ลา่ วผิด
ก. บรรทดั เหล็กมีใชอ้ ยู่ 3 ชนดิ
ข. ความหนาของบรรทัดเหล็กเทา่ กับ 1 มลิ ลิเมตร
ค.บรรทัดเหล็กไมต่ อ้ งระวงั ความหนา
ง.แนวของงานกบั แนวของบรรทดั เหลก็ ต้องตรงกนั เสมอ
จากรูปดา้ นลา่ ง จงใชต้ อบคำถามข้อ 7-8 23
7. จากขอบดา้ นซ้ายของบรรทัดเหลก็ ถึงหมายเลข 1 มี ขนาดเท่ากับเท่าใด
ก. 55.50 มลิ ลิเมตร
ข. 50.55 มิลลิเมตร
ค. 5.55 มลิ ลเิ มตร
ง. 5.11 มิลลิเมตร
8. จากขอบดา้ นซา้ ยของบรรทัดเหล็กถงึ หมายเลข 2 มี ขนาดเท่ากบั เทา่ ใด
ก. 29 น้ิว
ข. 30 นว้ิ
32
ค. 29นวิ้
32
ง. 0.29 นว้ิ
9.ขอ้ ควรระวังในการใชบ้ รรทัดเหลก็ ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง
ก.วางบรรทดั เหล็กใหย้ ดึ สเกลตรงขดี สองเสมอ
ข.ตง้ั ใจวัดและไมเ่ ข้าขา้ งตนเอง
ค.แนวรองงานกบั แนวของบรรทดั เหลก็ ขณะวดั ตอ้ งตรงกัน
ง.ถกู ท้งั ขอ้ ข และ ค
10.ขอ้ ใดไม่ใชก้ ารแบ่งสเกลบนบรรทัดเหลก็
ก.1น้วิ แบง่ เป็น 128 สว่ น
ข.1นิว้ แบ่งเป็น 8 สว่ น
ค.1น้ิวแบ่งเป็น 32 สว่ น
ง.1นิว้ แบ่งเปน็ 64 ส่วน
24
กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรยี น
ช่ือ……………………………………ชน้ั ……………………….เลขที่………………..
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนนเต็ม 10
คะแนนทีไ่ ด้ คือ …………
25
เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1
จุดประสงค์ ผเู้ รียนสามารถใช้บรรทดั เหลก็ วดั ขนาดช้นิ งานได้
คำส่งั ใหผ้ เู้ รียนใช้บรรทดั เหล็กวัดขนาดชิน้ งานทัง้ ระบบเมตรกิ และระบบองั กฤษบนั ทกึ คา่ ลงในตารางบันทึกผล
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. บรรทดั เหลก็ คา่ ความละอียด 0.5 มิลลิเมตร และค่าความละเอียด 1 นิ้ว
64
2. ช้นิ งานตัวอยา่ งมาตราสว่ นจริง 1:1
ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ
1. ทำความสะอาดบรรทดั เหล็กและช้ินงาน
2. วัดขนาดชน้ิ งานดว้ ยบรรทดั เหล็ก ตั้งแต่ A จนถึง R ทง้ั ระบบเมตริกและองั กฤษ
3. บันทกึ ผลการวดั ลงในตารางบันทึกผล
หน่วยวดั A B C D E F G H I
ซ.ม./ม.ม. 1.70/17.0 2.25/22.5 1.70/17.0 2.00/20.0 2.80/28.0 2.80/28.0 1.70/17.0 2.25/22.5 1.7/17.0
นิ้ว
หน่วยวดั J K L M N O Q R
ซ.ม./ม.ม. 1.15/11.5 4.50/45.0 1.15/11.5 1.25/12.5 2.25/22.5 2.80/28.0 0.60/6.0 0.60/6.0
นิ้ว
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 2 26
จุดประสงค์ ผเู้ รยี นสามารถใชบ้ รรทัดเหล็กวัดขนาดชิ้นงานได้
คำสัง่ ใหผ้ ูเ้ รยี นใชบ้ รรทัดเหลก็ วัดขนาดชิ้นงานท้ังระบบเมตริก และระบบอังกฤษบันทึกคา่ ลงในตารางบนั ทกึ ผล
L
K
เคร่อื งมอื และอุปกรณ์
1. บรรทัดเหลก็ คา่ ความละอียด 0.5 มลิ ลิเมตร และค่าความละเอียด 1 น้วิ
64
2. ช้ินงานตัวอยา่ งมาตราสว่ นจริง 1:1
ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ
1. ทำความสะอาดบรรทัดเหล็กและชน้ิ งาน
2. วัดขนาดชิ้นงานด้วยบรรทัดเหลก็ ต้ังแต่ A จนถึง L ท้ังระบบเมตริกและอังกฤษ
3. บนั ทกึ ผลการวัดลงในตารางบนั ทกึ ผล
หน่วยวัด A B C E F G H I J
ซ.ม./ม.ม. 3.75/37/5 5.50/55.0 3.75/37.5 1.30/13.0 2.20/22.0 2.75/27.5 5.40/54.0 1.6/16.0 2.75/27.5
นว้ิ
หน่วยวัด K L
ซ.ม./ม.ม. 5.40/54.0 7.50/75.0
นวิ้
27
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3
จุดประสงค์ ผู้เรยี นสามารถใชบ้ รรทดั เหล็กวัดขนาดชิน้ งานจริงได้
คำส่งั ใหผ้ เู้ รยี นใชบ้ รรทัดเหลก็ วดั ขนาดชิน้ งานจรงิ ตามมราสนใจทงั้ ระบบเมตรกิ ระบบอังกฤษ ทำการร่างแบบลงใน
พน้ื ที่วา่ งพรอ้ มกำหนดตำแหน่ง และบนั ทึกค่าลงในตารางบันทกึ ผล
ข้นึ อยกู่ ับลักษณะชิ้นงานนักเรียน
เครอื่ งมอื และอุปกรณ์
1. บรรทัดเหลก็ ค่าความละอียด 0.5 มิลลิเมตร และคา่ ความละเอียด 1 นิ้ว
64
2. ชิน้ งานตัวอย่างตามที่สนใจ
ขนั้ ตอนการปฏิบัติ
1. ทำความสะอาดบรรทดั เหล็กและชิ้นงาน
2. วดั ขนาดช้นิ งานด้วยบรรทัดเหล็ก ตงั้ แต่ตำแหน่ง…….จนถงึ ตำแหน่ง…… ทง้ั ระบบเมตริกและองั กฤษ
3. บนั ทึกผลการวัดลงในตารางบันทกึ ผล
หนว่ ยวัด
ซ.ม./ม.ม.
น้วิ
หน่วยวัด
ซ.ม./ม.ม.
นวิ้
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 28
ช่อื ……………………………………ชั้น……………………….เลขที่………………..
ข้อ ก ข ค ง
1x
2x
3x
4x
5x
6x
7x
8x
9x
10 x
29
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
ช่อื ……………………………………ชน้ั ……………………….เลขท่ี………………..
ขอ้ ก ข ค ง
1x
2x
3x
4x
5x
6x
7x
8x
9x
10 x