The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lookairzii, 2022-05-16 11:22:27

แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ชิ าภาษาไทย
รายวิชาภาษาไทย

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑

จดั ทาโดย
นางสาวอรวี เปรนิ ทร์

แผนการจัดการเรยี นรู้
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิชาภาษาไทย

วชิ าภาษาไทย
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1

จดั ทำโดย
นางสาวอรวี เปรินทร์
เลขท่ี 3 รหสั นกั ศกึ ษา 6281124006 หมเู่ รยี น D7

เสนอ
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พัชรีภรณ์ บางเขยี ว

รายงานเล่มน้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของวิชา วิทยาการจัดการเรียนรู้
สาขาวชิ า วดั และประเมนิ ผลและวิจยั ทางการศึกษา(ค.บ. 4 ป)ี

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา
ภาคเรยี นท่ี2 ปีการศกึ ษา2565



คำนำ
รายงานฉบบั นี้เป็นสว่ นหนึง่ ของรายวชิ า “ วิทยาการจดั การเรียนร”ู้ รหสั วิชา 1190301 มีจุดประสงค์
เพอ่ื ศกึ ษากระบวนการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ ใหส้ อดคล้องกับ การจดั การเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 โดย
เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั พฒั นาทกั ษะสมรรถนะที่สำคญั ของผเู้ รยี นใหส้ ามารถนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ และ
ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม
ผจู้ ดั ทำขอขอบพระคณุ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. พชั รีภรณ์ บางเขียว เปน็ อยา่ งยงิ่ ทใี่ ห้คำแนะนำในการ
ดำเนินการจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ และหวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ แผนการจดั การเรยี นร้ฉู บบั นี้จะเปน็ ประโยชน์
กับการจัดการเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี น และเปน็ ประโยชนต์ ่อผทู้ ีส่ นใจศกึ ษาการทำแผนการจดั การเรียนรู้ที่ทำให
ผูเ้ รยี นไดพ้ ัฒนาศักยภาพได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

นางสาวอรวี เปรนิ ทร์
ผ้จู ดั ทำ

สารบัญ ข
เรอื่ ง
คำนำ หน้า
สารบญั ก
แผนการจดั การเรยี นรู้ ข

สาระ/มาตรฐานและตัวชี้วัด 1-3
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3
คำอธบิ ายรายวชิ า 4-6
ตารางโครงสร้างรายวิชา
ตารางโครงสร้างรายวิชา ภาคเรียนที่ 1 7-9
ตารางโครงสร้างรายวิชา ภาคเรียนที่ 2 10-13
แผนการจัดการเรียนรู้
เร่ือง อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วบทร้อยกรอง (แผน1) 14-16
เรื่อง อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วบทร้อยกรอง (แผน2) 17
เรื่อง อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วบทร้อยกรอง (แผน3) 17-18

-1-

แผนการจดั การเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าพนื้ ฐาน

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1-2 ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 120 ช่ัวโมง

ครผู สู้ อน นางสาวอรวี เปรินทร์

1. สาระ/มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพื่อนำไปตดั สินใจ แกป้ ัญหา

ในการดำเนนิ ชวี ติ และมีนิสัยรกั การอา่ น

สาระท่ี 2 การเขยี น

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นเพอ่ื สอ่ื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี น
เร่ืองราวในรปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ
ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆอย่างมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์

สาระท่ี 4 หลกั การใชภ้ าษา

มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ

สาระที่ 5 วรรณดคแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ ง
เหน็ คุณค่า และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ

-2-

ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพ่อื นำไปตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หา
ในการดำเนนิ ชีวิตและมีนสิ ัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนเพื่อสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียน
เร่อื งราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
ท 2.1 ม.1/1 คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด
ท 2.1 ม.1/2 เขียนส่ือสารโดยใช้ถอ้ ยคำถูกตอ้ ง ชัดเจนเหมาะสม และสละสลวย
ท 2.1 ม.1/3 เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบสุ าระสำคัญ และรายละเอียดสนับสนุน
ท 2.1 ม.1/4 เขยี นเรียงความ
ท 2.1 ม.1/5 เขียนยอ่ ความจากเรอ่ื งท่อี า่ น
ท 2.1 ม.1/6 เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสอ่ื ที่ได้รบั
ท 2.1 ม.1/7 เขยี นจดหมายสว่ นตัว และจดหมายกิจธุระ
ท 2.1 ม.1/8 เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน
ท 2.1 ม.1/9 มมี ารยาทในการเขยี น
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ
ความรสู้ ึก ในโอกาสต่างๆอย่างมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์
ท 3.1 ม.1/1 พูดสรปุ ใจความสำคญั ของเร่ืองที่ฟังและดู
ท 3.1 ม.1/2 เลา่ เรื่องย่อจากเร่อื งท่ฟี ังและดู
ท 3.1 ม.1/3 พดู แสดงความคดิ เหน็ อย่างสร้างสรรค์เกีย่ วกับเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู
ท 3.1 ม.1/4 ประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของสอื่ ท่มี เี นือ้ หาโน้มน้าวใจ
ท 3.1 ม.1/5 พูดรายงานเร่อื งหรือประเด็นทีศ่ ึกษาค้นควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา
ท 3.1 ม.1/6 มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู

-3-

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา
และพลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ

ท 4.1 ม.1/1 อธบิ ายลักษณะของเสยี งในภาษาไทย

ท 4.1 ม.1/2 สรา้ งคำในภาษาไทย

ท 4.1 ม.1/3 วิเคราะหช์ นดิ และหนา้ ทข่ี องคำในประโยชน์

ท 4.1 ม.1/4 วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน

ท 4.1 ม.1/5 แต่งบทรอ้ ยกรอง

ท 4.1 ม.1/6 จำแนกและใชส้ ำนวนท่ีเป็นคำพังเพย และสภุ าษติ

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ ง
เห็นคณุ คา่ และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง

ท 5.1 ม.1/1 สรุปเน้ือหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน

ท 5.1 ม.1/2 วเิ คราะหว์ รรณคดี และวรรณกรรมท่อี า่ น พร้อมยกเหตุผลประกอบ

ท 5.1 ม.1/3 อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อา่ น

ท 5.1 ม.1/4 สรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คิด จากการอ่าน เพอื่ ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง

ท 5.1 ม.1/5 ทอ่ งจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนด และบทรอ้ ยกลองทมี่ ีคุณคา่ ตามความสนใจ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ภาพรวมทงั้ หมด)

1. ดา้ นความรู้ (K)

- บอกหลักการถอดความจากบทรอ้ ยกลองได้

- ศึกษาคำศัพทส์ ำคญั ของเรือ่ งโคลงโลกนิติ

- บอกหลกั การสรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรือ่ งที่อา่ นได้

2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

- เขียนถอดความจากบทร้อยกรองเรอ่ื งโคลงโลกนิตไิ ด้

- สรุปเนื้อหาของโคลงโลกนติ ิได้

3. ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A)

- นำความรูท้ ไี่ ดไ้ ปปรับใชใ้ นการเรียนวชิ าภาษาไทย

- เหน็ คุณคา่ ของวรรณคดไี ทย - นำขอ้ คิดทไ่ี ดไ้ ปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต

-4-

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ท 21101 ภาษาไทย 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ภาคเรยี นที่ 1

ศกึ ษาหลกั การอา่ นออกเสยี งท้ังร้อยแกว้ และร้อยกรอง สรปุ ใจความสำคญั ระบุเหตผุ ลจากเรือ่ ง
ทอ่ี า่ น อธิบายคำ เปรียบเทยี บ ตีความคำยากในเอกสารวชิ าการ คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึง่ บรรทัด
เขียนสอ่ื สาร บรรยาย เรยี งความ ย่อความ พดู สรุปใจความสำคัญ พูดแสดงความคิดเห็นเชงิ สร้างสรรค์
เลา่ เรอ่ื งยอ่ อธิบายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย การสรา้ งคำประสม คำซ้ำ คำซอ้ น คำพ้อง คำ
ราชาศพั ท์ วิเคราะห์ชนิดและหนา้ ทข่ี องคำในประโยค สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น
วิเคราะห์และอธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน

โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา กระบวนการอา่ นคิดวเิ คราะห์ การสืบค้นความรู้ การจด
บนั ทึก ใชค้ วามสามารถในการคิด การอภปิ ราย การแสดงความคิดเหน็ การลงความคดิ เหน็ การตคี วาม
การสรุปความ ฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี น การฟังการดแู ละการพูด เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจใน
การเรยี นรู้ ใชค้ วามสามารถในการส่ือสารกบั ผู้อน่ื ให้เขา้ ใจตรงกนั เห็นคณุ ค่าของภาษาไทย

เพอ่ื ให้เปน็ ผูม้ ีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟงั การดูและการพดู
เหน็ คณุ ค่าภาษาไทยซ่ึงเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สัตย์สจุ รติ มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่
อยา่ งพอเพยี ง มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเปน็ ไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย และรักษาไว้เป็นสมบตั ิของชาติ เพือ่ นำความร้ไู ปประยุกตใ์ ชใ้ นการ
แก้ปัญหาให้เกดิ ประโยชน์ในชวี ิต

รหสั ตัวชว้ี ัด

ท 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5

ท 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/9

ท 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3

ท 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4

ท 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 รวม 21 ตัวช้ีวัด

-5-

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ท 21102 ภาษาไทย 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ภาคเรยี นที่ 2

ศึกษาหลกั การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ระบขุ ้อสงั เกตและความสมเหตสุ มผลจากการอา่ นงาน
เขียนประเภทชักจงู โน้มนา้ วใจ ปฏิบตั ิตามเอกสารคมู่ ือแนะนำตา่ ง ๆ เลอื กอ่านหนงั สือตามความสนใจ
วเิ คราะห์คุณค่าทไ่ี ด้รบั จากการอ่าน งานเขยี นต่าง ๆ เพ่ือนำไปใชแ้ กป้ ญั หาในชวี ิต เขยี นแสดงความ
คิดเหน็ จดหมาย รายงาน โครงงาน พูดประเมนิ ความนา่ เช่ือถอื ของสื่อ พูดรายงาน วิเคราะห์
ความแตกต่างของภาษาพดู และภาษาเขียน แต่งกาพย์ยานี จำแนกและใชส้ ำนวนทเี่ ป็นคำพังเพยและ
สุภาษติ สรปุ ความรู้ ขอ้ คิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม รวมทงั้ วรรณกรรมพน้ื บ้าน ท่องจำบท
อาขยานและบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา กระบวนการกลมุ่ สัมพันธ์ จดั การเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาความคดิ
เรียนรูแ้ บบโครงงาน ให้รวู้ ิธีการแก้ปญั หาอย่างเปน็ ระบบ วางแผน คดิ วิเคราะห์ ประเมนิ ผล การแสดง
ความคดิ เห็น การลงความคิดเห็น การตคี วาม การสรุปความ ฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียน การฟงั การดู
และการพูด เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจในการเรียนรู้ ฝกึ การเปน็ ผนู้ ำและผู้ตาม มคี วามสามารถในการ
ใชเ้ ทคโนโลยี สามารถสร้างองคค์ วามรู้ นำเสนอความรู้

เพือ่ ใหเ้ ป็นผู้มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟงั การดูและ
การพูด มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมมี ารยาทในการใชภ้ าษา เหน็ คุณคา่ ภาษาไทยซ่งึ เป็นเอกลักษณ์ของ
ชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สัตย์สจุ รติ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ มั่นในการทำงาน รัก
ความเปน็ ไทยและมจี ิตสาธารณะเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย และรกั ษา
ไว้เป็นสมบตั ิของชาติ เหน็ คุณค่าของการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน

รหสั ตัวชว้ี ัด

ท 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9

ท 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9

ท 3.1 ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6

-6-

ท 4.1 ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6
ท 5.1 ม.1/2, ม.1/4, ม.1/5
รวม 22 ตัวชวี้ ดั

-7-

ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง

หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ ช่วั โมง คะแนน
ที่ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด

1 นิราศภูเขา 1. สมบัติวรรณคดี 15

ทอง 2. การอา่ นและจับใจความสำคญั 2

3. การวเิ คราะห์วรรณคดี 2

4. ประวตั สิ นุ ทรภู่ 1

5. เรียนรู้คำประพนั ธ์ประเภท 1

กลอน

6. การแตง่ กลอน 2

รวม 9 5

2 โคลงโลกนติ ิ 1. การอ่านจับใจความสำคัญ 1 5

2. การศึกษาคำศัพท์ 1

3. การวเิ คราะหเ์ รอ่ื ง 2

4. การถอดความโคลง 2

5. สำนวนสภุ าษติ 1

6. เรียนรูค้ ำประพันธ์ประเภทโคลง 1

3 สภุ าษติ พระ 7. การแต่งโคลง 2 5
รว่ ง รวม 10 5
1
1. ความสำคญั และท่ีมาของเร่ือง 2
2. การอ่านจบั ใจความสำคัญ 1
3. การศกึ ษาคำศัพท์ 1
4. คำสอนในเร่ือง 2
5. สำนวนสภุ าษิต 2
6. เรียนรู้คำประพนั ธป์ ระเภทร่าย 9
รวม

-8-

หนว่ ย ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ ช่วั โมง คะแนน
ท่ี เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด
1. ความสำคญั และที่มาของเรื่อง 15
4 กาพยพ์ ระไชย 2. การอ่านออกเสยี ง 1
3. การแปลความ 2
สรุ ิยา 4. การทอ่ งอาขยาน 2
5. การอา่ นทำนองเสนาะ 2
สอบกลางภาคเรียน 6. การศกึ ษาคำศัพท์ 1
5 ราชาธิราช รวม 95
20
6 กาพย์เห่ชม 1. ที่มาและความสำคญั ของเรอื่ ง 15
เคร่ืองคาว 2. เลา่ เร่ืองราชาธริ าช 1
หวาน 3. การอ่านในใจและการจบั 2

7 นิทานพ้นื บา้ น ใจความ 2
4. การเขยี นย่อความ 1
5. การวเิ คราะหค์ ุณค่าของเรือ่ ง 1
6. การวเิ คราะห์คณุ ค่าของตวั
85
ละคร 15
รวม 1
1
1. ทม่ี าและความสำคัญของเรือ่ ง 2
2. ประวตั ผิ ้แู ตง่ 2
3. การอา่ นออกเสยี ง 1
4. การแปลความ 85
5. วเิ คราะหเ์ น้ือหา 12
6. วิถชี วี ิตในเรื่อง 2
รวม
1. ความสำคัญของนทิ าน
2. นิทานในท้องถนิ่ ตา่ งๆ

-9-

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ ชัว่ โมง คะแนน
ที่ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด 1
3. การอ่านและการจับใจความ
นทิ านบทเรียน 1
52
4. การเลา่ เรอื่ งนิทาน

รวม

คะแนนระหว่างป/ี ภาคเรียน 70
สอบปลายภาคเรยี น 30
รวมท้ังสิ้น 60 100

- 10 -

ตารางโครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ าพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง

หนว่ ย ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ ชว่ั โมง คะแนน
ที่ เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั
1. การอา่ นและการจบั ใจความ 12
1 ภาษามพี ลัง 2. การวเิ คราะหเ์ ร่ืองทีเ่ รียน 1
3. งานเขยี นประเภทเรยี งความ 1
2 วถิ ีงามความ 4. พยัญชนะทีไ่ มก่ ำกบั รปู สระ 1
พอเพียง รวม 42
1. การอา่ นและการจบั ใจความ 15
3 เพ่ือนกัน 2. การวเิ คราะหเ์ รอื่ งทเ่ี รยี น 1
3. งานเขยี นประเภทต่าง ๆ 1
4 แตง่ ให้งาม 4. คำเชือ่ ม 1
ตามท่ีเหมาะ 5. อกั ษรทไ่ี ม่ออกเสยี ง 1
6. การอ่านคำ ร เรผะ 1
7. คำพยางคห์ นัก-เบา 1
รวม 75
1. การอ่านและการจบั ใจความ 24
2. การวเิ คราะห์เรื่องทีเ่ รยี น 1
3. ภาษาพูด-ภาษาเขยี น 1
4. ชนดิ ของคำนาม 1
5. ชนิดของคำสรรพนาม 1
รวม 64
1. การอา่ นและการจบั ใจความ 12

2. การวเิ คราะหเ์ รอ่ื งทเี่ รยี น 1
3. การสรุปใจความสำคัญ 1
4. คำประสม 1
รวม
2

- 11 -

หนว่ ย ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ ชั่วโมง คะแนน
ท่ี เรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั
1. การอา่ นและการจบั ใจความ 14
5 รอให้นำ้ ลาย 2. การวเิ คราะหเ์ ร่อื งทเ่ี รยี น 1
3. การใชภ้ าษาวรรณศลิ ป์ 1
ไหลเสียก่อน 4. คำซอ้ น 1
5. คำซ้ำ 1
6 เกบ็ มาเล่า 6. สำนวน 1
เอามาคยุ รวม 64
1. การอ่านและการจบั ใจความ 13
7 เข้าเมอื งตา 2. การวิเคราะหเ์ รือ่ งทีเ่ รียน 1
หล่ิว ตอ้ งหลิ่ว 3. คำพ้องรูป 1
ตาตาม 4. คำพ้องเสียง 1
5. คำพ้องความหมาย 1
สอบกลางภาคเรียน รวม 53
8 เสียงเพลงกบั 1. การอ่านและการจับใจความ 12

เสียงกรีด๊ 2. การวเิ คราะหเ์ ร่ืองทเี่ รียน 1
3. สำนวนไทย 1
4. คุณค่าของสำนวน 1
รวม 12
20
1. การอา่ นและการจบั ใจความ 12
2. การวิเคราะหเ์ รื่องทเ่ี รียน 1
3. คำอทุ าน 1
4. มารยาทในการชมการแสดง 1
5. การเขียนบรรยาย 1
6. การใชค้ ำเปรยี บเทยี บ 1
รวม 62

- 12 -

หนว่ ย ชือ่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ ชัว่ โมง คะแนน
ท่ี เรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั
1. การอ่านและการจบั ใจความ 13
9 เท่ียวทา่ เรือ 2. การวเิ คราะหเ์ รอ่ื งทเ่ี รยี น 1
3. การเขยี นพรรณนา 1
10 คดิ ตา่ งกันแต่ 4. โวหารในงานเขยี น 1
อยูร่ ่วมกนั ได้ 5. คำวเิ ศษณ์ 1
6. การเรยี งรอ้ ยประโยค 1
11 บ.ก. ท่ีรัก รวม 63
1. การอ่านและการจับใจความ 13
12 ท่องเว็บเก็บ 2. การวเิ คราะหเ์ รือ่ งทเ่ี รียน 1
ความรู้ 3. การพูดแสดงความคิดเหน็ 1
4. มารยาทในการแสดงความ 1
13 โครงงานเด่น
เนน้ คิดเห็น 1
กระบวนการ 5. การใชภ้ าษาในการสื่อสาร 1
6. เจตนาในการสือ่ สาร 1
7. การโต้วาที 63
รวม 12
1. การอา่ นและการจับใจความ 1
2. การวิเคราะห์เรือ่ งทีเ่ รยี น 1
3. การเขียนจดหมาย 1
4. การเลอื กใช้คำในโอกาสตา่ งๆ 1
5. คำนำหน้านาม 52
รวม 12
1. การอา่ นและการจับใจความ
1
2. การใช้อินเทอรเ์ นต็ 1
3. ภาษาทางอินเทอรเ์ นต็ 32
รวม 12
1. การอ่านและการจับใจความ 1
2. การวเิ คราะหเ์ รื่องที่เรยี น 1
3. การทำโครงงาน

- 13 -

หน่วย ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ ชัว่ โมง คะแนน
ท่ี เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั
4. คำท่มี คี วามหมายใกล้กนั 1
14 คำเพราะ รวม 42
เสนาะทำนอง 12
1. การอ่านและการจบั ใจความ 1
2. คำประพนั ธ์ประเภทตา่ ง ๆ 1
3. การอ่านคำประพนั ธป์ ระเภท
1
ตา่ งๆ
4. การแตง่ คำประพนั ธป์ ระเภท 12

กาพยย์ านี 11
รวม

คะแนนระหว่างป/ี ภาคเรยี น 70
สอบปลายภาคเรียน 30
รวมทัง้ สน้ิ 60 100

- 14 -

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 (ออนไลน)์

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย วิชา ท21101 ภาษาไทย1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ช่ือหนว่ ย สดบั คำโคลงโลกนิติ เวลา 4 คาบ

เรื่อง อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วบทร้อยกรอง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

ผูส้ อน นางสาวอรวี เปรนิ ทร์

.......................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ

แก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวติ และมนี สิ ัยรกั การอ่าน
ตัวชว้ี ดั

ท 1.1 ม1/1 อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วบทร้อยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกบั เรอ่ื งท่ีอา่ น (6 คะแนน)

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
2.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge)
2.1.1 บอกหลกั เกณฑ์ในการอา่ นบทรอ้ ยแก้วบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง
2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (Process)
2.2.1 อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วบทร้อยกรองไดถ้ กู ตอ้ งและสอดคลอ้ งกบั เนอื้ เรือ่ งที่อ่าน
2.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude)
2.3.1 มีวนิ ัย
2.3.2 ใฝเ่ รียนรู้

3. คณุ ลกั ษณะอันพง่ึ ประสงค์ /คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ/หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
คณุ ลกั ษณะอันพงึ่ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซื่อสตั ย์
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

- 15 -

คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มอี ดุ มการณ์ในสงิ่ ท่ีดีงามเพือ่ สว่ นรวม
3. กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศึกษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดีตอ่ ผูอ้ ื่น เผื่อแผแ่ ละแบ่งปัน
7. เขา้ ใจเรยี นร้กู ารเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขท่ถี ูกตอ้ ง
8. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผ้นู อ้ ยรจู้ กั การเคารพผูใ้ หญ่
9. มสี ติรู้ตวั รคู้ ดิ รู้ทำ รู้ปฏบิ ัติตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว
10. รจู้ กั ดำรงตนอยู่โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดำรสั ของ พระบาทสมเด็จพระ

เจา้ อยหู่ ัว รู้จกั อดออมไว้ใชเ้ มื่อยามจำเปน็ มไี ว้พอกนิ พอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจา่ ยจำหน่าย และพรอ้ มทจี่ ะขยาย
กจิ การเมือ่ มีความพร้อม เมอ่ื มภี ูมคิ ุ้มกนั ท่ีดี

11. มีความเขม้ แขง็ ทง้ั ร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำหรอื กิเลส มีความละอายเกรง
กลวั ต่อบาปตามหลักของศาสนา

12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาตมิ ากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

1. ความพอประมาณ
2. ความมีเหตผุ ล
3. การมภี ูมิคมุ้ กันท่ีดี
4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5. สาระสำคญั
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว เป็นการอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน และมีลีลาการอ่านเหมาะสมกับ
เนอ้ื เรื่อง เพอ่ื ถ่ายทอดอารมณไ์ ปสผู่ ู้ฟงั ทำให้เกิดความคลอ้ ยตามไปกับเรื่องราว หรอื บทประพนั ธ์ที่อา่ น
การอ่านบทร้อยกรอง เป็นการอ่านที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย ที่ผู้อ่านจะต้องเข้าใจฉันทลักษณ์และ
อา่ นออกเสยี งให้สามารถถา่ ยทอดอารมณข์ องบทประพนั ธ์ส่ผู ฟู้ ังไดอ้ ย่างลึกซึง้ และเห็นคณุ คา่
6.สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

- 16 -

6.1 การอา่ นออกเสยี ง ประกอบดว้ ย
- บทร้อยแก้วท่เี ป็นบทบรรยาย
- บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 กาพย์

สรุ างคนางค์ 28 และโคลงส่ีสภุ าพ
7.สอื่ และแหล่งเรียนรู้

1. ใบความรูเ้ รือ่ งการอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว-รอ้ ยกรอง
2. โคลงสี่สุภาพ
3. คลปิ การอ่านทำนองเสนาะ
4. คลปิ โคลงสีส่ ุภาพจากโคลงโลกนิติ

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ช่ัวโมงที่ 1 การอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้

ขน้ั นำ

1. ครอู า่ นออกเสียงในบทร้อยแก้วใหน้ กั เรยี นฟงั สองรอบ โดยน้ำเสยี งและการเว้นวรรคต่างกัน
จากน้นั ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันวเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของการอา่ นท้ังสองรอบ

2. ครูกล่าวเชื่อมโยงเขา้ สู่บทเรยี นวา่ การอ่านออกเสียงเป็นการสอ่ื สารทส่ี ำคญั เพราะเปน็ การ
ถา่ ยทอดความรแู้ ละความคิดของผ้สู ง่ สารไปยงั ผรู้ บั สาร การจะทำใหผ้ ู้รับสารเข้าใจและเปน็ ไปตามเปา้ หมาย
ของผู้สง่ สาร ผู้อ่านจำเปน็ ต้องรู้หลักในการอ่านทถี่ ูกต้อง

ขนั้ สอน

1. ครูอธิบายเรื่องการอ่านออกเสียง ให้น่าฟังจะต้องอ่านออกเสียงให้ชัดเจน มีลีลาการอ่านที่
สอดคล้องกบั เนื้อเรอ่ื งทอี่ ่าน

2. ให้นักเรียนศึกษาหลกั เกณฑ์ในการอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้
3. ใหน้ ักเรยี นฝกึ อ่านบทความที่ครูแจกให้ เพอ่ื ฝกึ อา่ นตามหลักเกณฑ์ในการอ่านท่ไี ดศ้ ึกษามา
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนสรุปเน้อื หารว่ มกัน

- 17 -

ชว่ั โมงที่ 2 การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง

ขนั้ นำ
1. ครูผสู้ อนอา่ นบทร้อยกรองเป็นตัวอย่างหรอื เปิดคลปิ การอ่านทำนองเสนาะใหน้ กั เรยี นชม เพอ่ื ดงึ

ความสนใจ หลังจากนนั้ ครูผสู้ อนเชอื่ ยมโยงเข้าสู่บทเรยี น
ขนั้ สอน
2. ครชู แี้ จงใหน้ กั เรยี นทราบวา่ การอ่านข้อความเหลา่ นี้ จะต้องอ่านแบบเอือ้ สัมผัสเพื่อเป็นการเพ่ิม

ความไพเราะ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง สามารถอา่ นได้ 2 แบบ คือ
- การอ่านออกเสยี งธรรมดา
- การอา่ นทำนองเสนาะ
3. นำแผนผังของกาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 กาพย์สุรางคนางค์ 16 กลอนสุภาพ กลอนสักวา และ

โครงสสี่ ุภาพ มาให้นักเรียนศึกษาโครงสรา้ งของกาพยแ์ ต่ละชนดิ พรอ้ มอธิบายและยกตัวอยา่ งประกอบ
4. ให้นกั เรยี นศึกษาหลกั เกณฑ์ในการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรองเพิ่มเติม
ขน้ั สรุป
5. ครสู รปุ หลกั และวธิ ีการอ่านออกเสียงร้อยกรองร่วมกบั นักเรียน

ชั่วโมงที่ 3 การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง

ขัน้ นำ
1. ครูผู้สอนทบทวนเรื่องการอ่านบทร้อยกรอง และประเภทของบทร้อยกรองที่ได้ศึกษาไปในชั่วโมงท่ี

แล้ว ครูผสู้ อนเกริ่นเนอ้ื หาเกย่ี วกับโคลงโลกนติ ิ
ขน้ั สอน
2. ครูผู้สอนอธิบายถึงความเป็นมา ที่มาของโคลงโลกนิติ ครูผู้สอนอ่านออกเสียงบทโคลงสี่สุภาพเรื่อง

โคลงโลกนิติ จากหนังสอื วรรณคดวี ิจกั ษ์ ม.1 หนา้ ที่ 41 เปน็ ตัวอย่างให้นกั เรียนพรอ้ มทง้ั แปลความหมายให้
นกั เรยี น จำนวน 1 บท

3. เมอ่ื อ่านครบแล้ว ครไู ดแ้ ปลความหมายพรอ้ มบอกคำยากของโคลงบทที่ 1 ในหนงั สอื เป็นตวั อยา่ ง
4. ครสู ่มุ นกั เรยี นใหอ้ ่านโคลงส่ีสุภาพ 1 คนต่อ1บท พรอ้ มใหน้ กั เรียนถอดคำประพนั ธ์ พรอ้ มท้งั บอก
คำยาก
5. ครูให้นักเรยี นทำใบงานถอดคำประพนั ธ์จำนวน 10 บท

- 18 -

ขน้ั สรุป
6.ครูสรปุ หลกั และวิธกี ารอา่ นออกเสียงร้อยกรองแตล่ ะประเภทรว่ มกนั กบั นกั เรียน

9. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
- แผนภาพความคดิ เรอ่ื ง “โคลงโลกนิต”ิ
- ฝึกอา่ นบทร้อยกรอง
- ใบงาน

10.การประเมนิ ผลการเรียนรู้

สงิ่ ทปี่ ระเมนิ วธิ กี ารประเมนิ เครอื่ งมอื
คำถาม
ด้านความรู้
แบบประเมนิ / แบบฝกึ
๑. บอกหลักเกณฑ์ในการอา่ นบท ใช้คำถาม
แบบประเมนิ
รอ้ ยแก้วบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง แบบประเมิน

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ

๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วบท การฝึกอ่านในหอ้ งเรยี น

ร้อยกรองไดถ้ กู ต้องและสอดคล้อง

กับเนือ้ เรือ่ งที่อา่ น

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สงั เกตพฤติกรรม
๑.มีวินัย สงั เกตพฤติกรรม
๒.ใฝเ่ รยี นรู้

เกณฑก์ ารประเมิน

ระดบั คะแนน 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรงุ )
4 (ดมี าก)
อ่านออกเสยี งรอ้ ย อา่ นออกเสยี งร้อย อา่ นออกเสียงร้อย
เกณฑก์ ารประเมิน แกว้ ร้อยกรองได้ แก้ว ร้อยกรองได้ แกว้ รอ้ ยกรองได้
อ่านออกเสยี งบทรอ้ ย อา่ นออกเสียงรอ้ ย ถูกต้องเหมาะสม ถูกต้องเหมาะสม ถกู ตอ้ งเหมาะสม
แก้วบทร้อยกรอง แกว้ ร้อยกรองได้ ตามองคป์ ระกอบ ตามองคป์ ระกอบ ตามองค์ประกอบ
อนื่ 1 องค์ประกอบ อ่ืน 1องค์ประกอบ อ่นื 1
ถูกต้องเหมาะสม องคป์ ระกอบ
ตามองค์ประกอบ บกพรอ่ งใน
ต่อไปน้ี
1.อา่ นได้ถูกต้อง
ตามอกั ขรวิธี ชดั

- 19 -

ถ้อยชดั คำ โดย บกพร่องใน องคป์ ระกอบอ่นื 1 บกพรอ่ งใน
เฉพาะตัว ร ล หรือ องคป์ ระกอบอืน่ 1 องคป์ ระกอบ องค์ประกอบอ่ืน
คำควบกล้ำ องคป์ ระกอบ 1 องค์ประกอบ
2.อา่ นออกเสยี งดัง
พอเหมาะกับ
สถานท่แี ละจำนวน
ผฟู้ งั
3. มคี วามเปน็
ธรรมชาติสบตา
ผูฟ้ ังบ้าง
4.ใชเ้ สียงและ
จงั หวะให้เปน็ ไป
ตามเน้อื เร่ือง ใส
อารมณ์อยา่ ง
เหมาะสม

ระดบั คณุ ภาพ
7-9 คะแนน ระดับคุณภาพ ดี
4-6 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
1-3 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง

ได้คะแนนตงั้ แต่ 4-6 คะแนนขน้ึ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

- 20 -

1. บันทกึ ผลหลงั การสอน (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี1/1)
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

ปญั หา / อปุ สรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………

ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ผสู้ อน…………………………….ผสู้ อน
(…………….…………………………….)
……. / ……. / …….

ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…..…………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ………………………………
(นายกฤษฎา จนั ต๊ะวงค์)

ครพู เ่ี ล้ยี ง

- 21 -

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………..…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………..

ลงชอ่ื …………………………………
(..................................)
หวั หน้าฝา่ ยวชิ าการ

ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………..………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………..

ลงช่ือ……………………………………..
(อาจารยส์ าวติ รี จติ บรรจง )
อาจารยน์ เิ ทศ

- 22 -

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขียนแผนผงั โคลงส่สี ุภาพพรอ้ มโยงสัมผสั แลว้ เขียนโคลงสสี่ ุภาพจากเร่อื ง โคลงโลกนิติ มา
1 บทพรอ้ มโยงสัมผสั และแปลความหมายของโคลงน้นั

แผนผงั โคลงสส่ี ภุ าพ

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

......

โคลงสส่ี ภุ าพจากเรอื่ งโคลงโลกนิติ

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

......

ความหมาย

.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................

......

- 23 -

เรียบง่าย และชัดเจน และหากกวีแต่งเรื่องที่มีเนื้อหาลุ่มลึก แสดงความลึกซึ้งแยบคาย เช่น เรื่อง
เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ปรัชญา หรือเรื่องที่เกิดจากจินตนาการ วรรณกรรมร้อยแก้วชิ้นที่เลือกใช้ถ้อยคำได้
เหมาะสมเนื้อความ แต่งได้กระชับรัดกุมสละสลวยสื่อความหมายได้ชัดเจนวางเหตุการณ์ในเรื่องได้แนบเนียน
วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ ชิ้นน้ันจะมีความไพเราะงดงามและสะเทอื นอารมณผ์ อู้ ่านได้เปน็ อย่างดี แบ่งได้ ๒ ประเภท
คือ

๑. บันเทิงคดี คือ งานเขียนที่แต่งขึ้นโดยจินตนาการ มีความมุ่งหมายให้ผู้อ่านได้รับความบันเทิง
เป็นสำคัญ แต่ก็อาจใหค้ วามรู้ความจรรโลงใจ คติ และแง่คิดต่างๆ ด้วย งานเขียนประเภทน้ีได้แก่ นิทาน
เร่ืองส้นั นวนิยาย บทละครพดู นยิ ายองิ พงศาวดาร ตำนานตา่ งๆ เป็นตน้

๒. สารคดี คือ งานเขียนที่แต่งขึ้นจากข้อเท็จจริง เป็นงานเขียนที่มุ่งให้ความรู้และข้อเท็จจริงเป็น
สำคญั เชน่ สารคดเี ชงิ ท่องเท่ยี ว สารคดเี ชงิ ชีวประวัติ รายงานการประชมุ ความเรียง บทความ ตำราทาง
วิชาการ พงศาวดาร กฎหมาย จดหมายเหตุ พระราชหตั ถเลขา พระคัมภีร์ทางพระพทุ ธศาสนา เป็นต้น
บทร้อยแก้วตัวอย่าง “ย้อนหลังไปเพียง ๒ ปี คนอเมริกันส่วนใหญ่ไม่เคยได้ยินชื่อบารัค โอบามา เลยด้วยซ้ำ
แตว่ นั นเ้ี ขากลบั เป็นว่าทป่ี ระธานาธบิ ดีท่ีไดร้ ับความนยิ มทัว่ โลก และกำลังสรา้ งประวตั ศิ าสตร์หน้าใหม่ในฐานะ
ผนู้ ำผวิ สคี นแรกของสหรฐั อเมรกิ า ชยั ชนะของโอบามาบนเสน้ ทางสทู่ ำเนยี บขาวนนั้ สว่ นหน่ึงเป็นผลจากความ
เบือ่ หน่ายและผิดหวังทีป่ ระชาชนมีตอ่ พรรครพี บั ลิกันอันมปี ระธานาธบิ ดีบุชเป็นตัวแทน ย่งิ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
ซ้ำเติมด้วยแล้วก็ยิ่งเป็นการตอกย้ำความไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาลรีพับลิกัน แต่โอบามาจะประสบ
ความสำเร็จไม่ได้เลยหากปราศจากการรณรงค์หาเสียงที่มีการจัดตั้งอย่างเข้มแข็ง ทรงประสิทธิภาพและมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ชนิดที่เป็นแบบฉบับให้แก่นักการเมืองรุ่นหลังไปได้อีกนาน สิ่งหนึ่งที่ไม่เคยมีใครทำ
ได้มาก่อน ก็คือ การระดมอาสาสมัครมาช่วยหาเสียงให้เขานับล้าน ๆ คน อาสาสมัครเหล่านี้เปรียบเสมือน
“กองทัพมด” ที่กระจายกำลังไปทั่วประเทศ และช่วยระดมทุนให้เขาอย่างมากมายเป็นประวัติการณ์ ต่างคน
ต่างคิดและริเริ่มทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องรอคำสั่งจากส่วนหัว กล่าวได้ว่า การรณรงค์ของโอบามามี
ฐานจากประชาชนระดับรากหญ้าอย่างแทจ้ รงิ ”
บทรอ้ ยกรอง
บทร้อยกรอง คือ การสอดผูกให้ติดกัน ประดิษฐ์คำ แต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ ร้อยและเย็บดอกไม้ให้เปน็
รูปต่างๆ ” ซึ่งร้อยกรองเป็นงานเขียนที่ต้องใช้ความสามารถในการเลือกภาษาแล้วจัดวางตำแหน่งถ้อยคำให้
เหมาะสม ประกอบกับการฝึกบ่อยจนเกิดทักษะ ทั้งนี้เนื่องจากการเขยี นร้อยกรองนั้นใช้คำไดเ้ ทา่ ที่ฉันทลักษณ์
กำหนด ทั้งยังอาจเลยไปถึงการกำหนดคำตามเสียง / รูปวรรณยุกต์ และการกำหนดสัมผัสจึงเป็นเรื่องยุ่งยาก
สำหรับนักเขียนมือใหม่ แต่ขอบอกไว้ว่า เมื่อลองเขียนคำประพันธ์ชนิดใดก็ตามได้ด้วยตนเองสักบทหนึ่ง จะ
พบวา่ ร้อยกรองเป็นเรื่องไม่ยากและงดงามกว่า ใหค้ วามหมายกว้างและลกึ ซง้ึ กว่าการเขียนร้อยแก้วมากมายนกั
การอ่านบทร้อยกรอง สามารถแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทคือ การอ่านแบบมีทำนองเสนาะ และการอ่านออกเสียง
ธรรมดา

- 24 -

โดยบทร้อยกรองท่ีจะต้องเรยี นมดี ังน้ี คอื
๑. กาพยย์ านี ๑๑
๒. กาพย์ฉบัง ๑๖
๓. กาพยส์ ุรางคนางค์ ๓๒
๔. กลอนสุภาพ
๕. กลอนสักวา
๖. โคลงสสี่ ภุ าพ

- 25 -

กลอนสภุ าพ

โคลงสส่ี ภุ าพ

- 26 -


Click to View FlipBook Version