The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นภัทร ร., 2022-07-14 13:18:24

D948A114-0270-46C5-954F-4ED114402C60

D948A114-0270-46C5-954F-4ED114402C60

เรื่อง

การใส่สายางเพื่อสวนล้างและการสวนล้างกระเพาะอาหาร

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี

การสวนล้างกระเพาะอาหาร

การใส่สายยางหรือสายพลาสติกใส (Levin
tube) ชนิดสั้นเข้าทางจมูกหรือปากผ่านทาง
ลำคอและหลอดอาหารจนถึงกระเพราะอาหาร

การใส่ Nasogastric tube

NG tube ย่อมาจาก Nasogastric
tube หมายถึง ท่อสายยางผ่านระหว่าง
รูจมูกลงไปยังกระเพาะอาหาร เป็นทาง
เลือกแรกเมื่อจำเป็นต้องให้อาหารในผู้ที่ไม่
สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
เพียงพอ และยังมีการทำงานของระบบ
ทางเดินอาหารปกติ โดยมักให้ในระยะสั้น

ไม่เกิน 4 สัปดาห์

วัตถุประสงค์(Objective) 1. ให้ให้อาหารเหลวยาน้ำเข้าสู่ทางเดินอาหาร
2. ระบายอาหาร น้ำ อากาศและสารที่ไม่พึงประสงค์ออก
จากกระเพาะอาหาร
3. บรรเทาหรือป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
4. ส่งเสริมการบำบัดหลังผ่าตัดลำไส้
5. เป็นทางสำหรับล้างกระเพาะอาหารเมื่อผู้ป่วยกินสารพิษ
6. เป็นทางห้ามเลือด เมื่อมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร

อุปกรณ์ 6.แก้วใส่น้ำ

1. สาย NG Tube

2. Syringe feeding 50 cc 7. Micropore

3. KY jelly 8. ไฟฉาย

4. Stethoscope 9. กรรไกร

5.ผ้าสะอาดและกระดาษเช็ดปาก 10. ชามรูปไต

การประเมิน (Assessment) ข้อวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis)

ประเมินช่องจมูกของผู้ป่วย โดยให้ผู้ป่วย 1.ภาวะโภชนาการสมดุลน้อยกว่าความ
หายใจปกติเลือกรูจมูกที่อากาศผ่านได้ง่ายดูใน ต้องการของร่างกาย ( Imbalance nutrition less
จมูกว่า มีติ่ง เนื้อหรือไม่อุดตันหรือไม่ประเมินผู้ than body requirements)
ป่วยที่มีประวัติการบาดเจ็บใบหน้าหรือได้รับการ 2. ความเสี่ยงต่อการ
ผ่าตัดที่ใบหน้า ตรวจสอบช่องท้องถึงความโป่ง สำลัก(Riskforaspiration) 3. การกลืน
และความแน่นแสดงถึงความดันในกระเพาะ ลำบาก ( Impaired swallowinBgo)dy is
อาหารเพิ่มขึ้นตรวจเสียงลำไส้ เพื่อประเมินการ 4. ปวดเฉียบพลัน (Acute pain)More Fit
เคลื่อนไหวของลาไส้สัมผัสท้องว่า พองหรือนุ่ม ถ้า 5. ขาดความรู้ (Deficient knowledge)
ท้องโตพิจารณาการวัดเส้นรอบวงท้องที่ สะดือไว้ 6. สูญเสียภาพลักษณ์ ( Body image
อป็นข้อมูลพื้นฐาน disturbance )
7.ไม่สุขสบาย คลื่นไส้ NauseaCheck Here

ขั้นตอนการปฏิบัติ 7. สวมถุงมือ
8. วัดความยาวของสาย NG Tube ที่จะใสจากปลายจมูก
1. ล้างมือกอนและหลังการใส NG Tube ถึงติ่งหูและจากติ่งหูจนถึงลิ้นปี่ (Xiphoid Process)
2. นําอุปกรณในการใส่สายให้พรอม 9. หล่อลื่นปลายสาย NG tube ประมาณ 4 นิ้ว
3. อธิบายใหผู้ปวยทราบถึงขั้นตอนและเหตุผล 10. สอดปลายสาย NG tube เข้าทางรูจมูกข้างใดข้างหนึ่ง
การใส่ NG Tube โดยสังเขป แล้วประมาณว่าปลายสายถึงคอหอยให้ผู้ป่วยช่วยกลืน
4. จัดท่าใหผูปวยนอนในทาหงาย ศีรษะสูง 30 – พร้อมกับผู้ใส่ดันสาย NG Tube เบBาoๆdจyนisถึงตําแหน่งที่วัด
45 องศา ได้ถ้าผู้ป่วยมีอาการไอหรือสําลักให้หMยุoดrใeสF่แitละดึงสายออก
5. ประเมินสภาพผู้ปวยโดยการตรวจดูรูจมูกขางที่ ก่อนเพราะปลายสายอาจจะเข้าไปในหลอดลมได้และให้
จะใสสายวามีสิ่งอุดตัน หรือมีความผิดปกติของ เริ่มต้นใส่ใหม่
Nasal septum หรือไม ถามีใหหลีกเลี่ยง 11. ตรวจสอบปลายสายว่าเขาไปในกระเพาะอาหารโดยให้
6. บีบสารหลอลื่นลงบนก๊อซ
Check Here

ผู้ป่วยอ้าปากดูว่ามีสายขดม้วนอยู่ในปากหรือไม่

12. ใช้ Syringe Irrigate ดูดสิ่งตกคางหรือน้ำ Body is
อยู่จากกระเพาะอาหารพร้อมทั้งตรวจสอบโดยใช้ More Fit
หูฟัง (Stethoscope) ฟังที่บริเวณลิ้นปี่ของผู้
ป่วยโดยใช้ Syringe Irrigate ดันลมประมาณ Check Here
10 – 30 มล. ผ่านสาย NG Tube เร็วๆ จะ
ได้ยินเสียงแสดงว่าปลายสายอยู่ในกระเพาะ
อาหาร
13. ติดพลาสเตอร์ยึดสาย NG tube กับสันจมูก
14. จัดให้ผู้ป่วยนอนในทำศีรษะสูงเล็กน้อย
15. เก็บอุปกรณ์และบันทึกลงในบันทึกทางการ
พยาบาล

วิธีการปฏิบัติการใส่ NG-Tube

1. ล้างมือ
2. เตรียมเครื่องใช้ยกมาวางข้างเตียงผู้ป่วย ถ้าพยาบาลถนัดขวายืนข้างขวาถ้าถนัดซ้ายยืนค้างซ้าย
3. ปิดประตูหรือกั้นม่าน
4. จัดท่าผู้ป่วยนั่งหรือนอนศีรษะสูง ถ้าจำเป็นนอนราบได้
5. ตรวจดูจมูก ผนังกั้นรูจมูก โดยให้ผู้ป่วยหายใจออกแรง ๆ ดูการผ่านของลมหายใจ
6. วัดระยะที่ควรใส่สายเข้าในตัวผู้ป่วยทุกครั้ง โดยวัดจากปลายจมูกหรือปากถึงติ่งหู และจาก
ติ่งหูถึงปลายกระดูกอก (Xyphoid process) ทำเครื่องหมาย
7. เตรียมกระดาษชำระไว้ในมือผู้ป่วย และชามรูปไตไว้ใต้คาง ให้ผู้ป่วยถือเองถ้าทำได้
8. หล่อลื่นปลายสายด้านที่จะใส่
9. ให้ผู้ป่วยตั้งศีรษะตรงหรือเงยหน้าขึ้นเล็กน้อย
10. ค่อย ๆ สอดสายยางเข้าทางรูจมูก โคยให้แนวโค้งของสายเข้าสู่แนวโค้งตามธรรมชาติของคอ ในเด็กสอดใส่เข้า
ปากตรงกลางโคนลิ้น

วิธีการปฏิบัติการใส่ NG-Tube

11. เมื่อสายยางผ่านถึงคอ ให้ผู้ป่วยกัมศีรษะลงบอกผู้ป่วยให้ช่วยกลืนสาย โดยกลืนน้ำลายหรือดูดน้ำที่เตรียมไว้ พร้อมดันสาย
อย่างนุ่มนวล ทำเป็นระยะจนถึงตำแหน่งที่ทำเครื่องหมายไว้
12. ถ้าผู้ป่วยไอหรือขย้อน หยุดดันสาย รอสักพักจนอาการสงบดีจึงใส่ต่ออาจต้องดึงสายออก
เล็กน้อย ถ้ามีน้ำตา น้ำมูก น้ำลายไหลเช็ดให้ผู้ป่วย/ให้ผู้ป่วยอ้าปากและกดลิ้นดู
13. ถ้าผู้ป่วยสำลัก ไอมาก หายใจไม่สะดวก ร้องไม่ออก รีบดึงสายออก รอให้อาการสงบแล้วเริ่มใส่ใหม่ทางรูจมูกอีกข้าง
14. ตรวจสอบว่าใส่สายเข้าถึงกระเพาะอาหารโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ต่อไปนี้

14.1 ใช้กระบอกฉีดยาต่อกับปลายสายค้านนอกคูคจะได้น้ำ
14.2 ใช้เครื่องฟังตรวจ ฟังบริเวณหน้าท้องส่วนบนและดันลมประมาณ 10 มล.เด็กทารกใช้
ประมาณ 1-3 มล, ผ่านกระบอกฉีดยาเร็ว ๆ แรง ๆ จะได้ยินเสียง
14.3 จุ่มปลายสายด้านนอกลงน้ำ
14.4 ให้ผู้ป่วยออกเสียงหรือพูด (ถ้าเข้าหลอดลมจะพูดไม่ได้)

15. เมื่อต้องการใส่สายถึงกระเพาะอาหาร ใช้พลาสเตอร์พันสายติดกับจมูก ให้สายอยู่ตรงกลางรูจมูกโค้งสายติดด้วยพลาส
เตอร์ข้างโหนกแก้ม หรือกล้องที่ใบหูแล้วกลัดด้วยเข็มกลัดติดกับเสื้อ

วิธีการปฏิบัติการใส่ NG-Tube

16. ถ้าต้องการใส่สายค้างไว้ ปิดสายด้วยตัวหนีบและปิดปลายสายด้วยผ้าก๊อสรัดไว้หรือใช้จุกปิด
17. เมื่อหมดความจำเป็นในการใส่สาย ดันลมผ่านสาย แกะพลาสเตอร์ที่ติดจมูกให้ผู้ป่วยหายใจออก พยาบาลใช้
กระดาษชำระจับสายส่วนที่ใกล้จมูก ดึงออกอย่างนุ่มนวลต่อเนื่องกันจังหวะเดียวเพื่อไม่ให้มีน้ำค้างในสาย ป้องกัน
การสำลักเข้าหลอดลม
18. ทำความสะอาดปาก จมูก
19. นำเครื่องใช้ไปล้างทำความสะอาด

1. gastric lavage

ความหมาย การล้างกระเพาะอาหาร โดยการใส่น้ำเกลือลงไปในกระเพาะโดยผ่านสายNasogastric tube (
NG tube ) เพื่อล้างเอาเลือด เศษอาหารหรือสิ่งตกค้างออกมาจากกระเพาะ

วัตถุประสงค์ เพื่อล้างกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่กินยาพิษ

อุปกรณ์ที่ใช้

1. สายยาง 8. น้ำละลายผงถ่าน, น้ำก๊อก

2. Set Irrigate 1 ชุด 9. พลาสเตอร์และกรรไกร

3. K-Y Jelly และผ้าก๊อส 1 ผืน 10. กระดาษเช็ดปาก

4. หูฟัง, ชามรูปไต 1 ใบ

5. ถังสำหรับใส่น้ำที่ล้างออกมา 1 ใบ

6. ผ้ายางและผ้าขวางเตียง

7. สารละลาย ได้แก่ NSS, 2% NaHCO3, KMno4

วิธีปฏิบัติ 1. ล้างมือก่อนและหลังการสวนล้างกระเพาะอาหาร
2. เตรียมอุปกรณ์ในการLavageให้พร้อม
3. อธิบายผู้ป่วยให้ทราบถึงขั้นตอนเหตุผลการสวนล้างกระเพาะ
อาหารโดยสังเขป
4. การใส่ NG Tubeตามวิธีปฏิบัติการใส่สายNGTube
5. ดูดContentออกมาให้หมดพร้อมทั้งสังเกตสีปริมาณลักษณะ
ของContentที่ได้
6. ใส่น้ำเกลือลงไปและทําการสวนล้าง ใส่ NSS เข้าไปคร้ังละ
ประมาณ 20 – 200 cc. และดูดออกมาทําแบบนี้หลายๆ รอบ จน
กว่าน้ําที่ดูดออกมาจะใสดี
7. เก็บอุปกรณและบันทึกสี ลักษณะ ปริมาณของ Contentและ
ปริมาณNSSที่ใช้สวนล้างกระเพาะ

การพยาบาลขณะ Gastric lavage

ข้อห้ามและข้อควรคำนึงในการล้างกระเพาะอาหาร 2. สารพิษพวกไอระเหย เช่น น้ำมันรถยนต์ ไอระเหยจะ
ระคายเคืองต่อปอดอย่างรุนแรงเมื่อสูดคมเข้าไป จึงควร
1. ห้ามล้างกระเพาะอาหารในผู้ป่วยที่กินสารพิษประเภทกัดกร่อนอย่างแรง ปล่อยให้อยู่ในกระเพาะอาหาร และหาวิธีการรักษาที่เหมาะ
(strong corrosive) เพราะ การใส่สายเข้าไปในหลอดอาหารอาจทำให้ สมต่อไป
เกิดบาดแผลหรือทะลุได้ หรือเกิดการขย้อนสารพิษขึ้นมาทำลาย
หลอดอาหารซึ่งมีการทำลายอยู่ก่อนแล้วให้เพิ่มมากขึ้น ควรปล่อยให้สาร
พิษเหล่านั้นอยู่ในกระเพาะอาหารและหาวิธีการรักษาให้เหมาะสมต่อไป

3. ในกรณีที่กินยานอนหลับ (barbiturate) เกินขนาด การล้าง
กระเพาะอาหารอาจไม่ได้ผล และยังทำให้การดูดซึมของยาเร็ว
ขึ้น เนื่องจากน้ำที่ใส่เข้าไปล้างทำให้ยาเจือจางขึ้น

4. ในกรณีที่กินยานอนหลับ (barbiturate) ไม่ควร 5. การล้างกระเพาะอาหารอาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิด
ทำการล้างกระเพาะอาหาร เพราะการใส่สายเข้าไป ขึ้นได้ เช่น เกิดบาดแผล มีเลือดออกในกระเพาะ
จะกระตุ้นให้ทางเดินอาหารเกร็งตัวตีบแคบลง
อาหาร สำลักสิ่งที่ออกมาจากกระเพาะอาหาร



6. การล้างกระเพาะอาหารในผู้ป่วยที่รับปร
ะทานยาเกินขนาดหรือรับประทานสารพิษนั้นไม่จำเป็นต้องทำในผู้ป่วยทุกราย และห้ามทำในผู้ป่วยที่
รับประทานกรด ด่าง หรือสารในกลุ่ม hydrocarbon ซึ่งมีโอกาสที่ทำให้เกิดอาการสำลักได้ง่าย และควรระวังในกลุ่มของผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง
ต่อการเกิดการสำลัก โดยการใส่ท่อเพื่อทำการล้างกระเพาะอาหารนั้น ควรจะใส่ทางปากมากกว่าทางจมูกเนื่องจากสามารถใส่ท่อได้ในขนาดที่
ใหญ่กว่าทางจมูก เพื่อให้สามารถล้างเม็ดยาที่มีขนาดใหญ่ออกมาได้ โดยขนาดท่อที่ใช้ในการทำ orogastric lavage ในผู้ใหญ่ควรเป็นขนาด
36-40 French และ ในเด็กจะใช้ขนาด 22-28 French ในการทำการล้างกระเพาะอาหารสามารถทำได้ภายใน 60 นาทีหลังจากผู้ป่วยรับ
ประทานยาเกินขนาด โดยช่วงวงเวลาที่มีประสิทธิภาพในการทำการล้างกระเพาะอาหารผู้ป่วยจะอยู่ประมาณ 5-30 นาทีหลังจากผู้ป่วยรับ
ประทานยาเกินขนาด

2. gastric irrigation

การสวนล้างสายยาง หมายถึง การใส่สารละลายปริมาณน้อย คือ ประมาณ
50 - 100 cc เข้าไปในสายยางแล้วดูดสารละลายออกมา

วัตถุประสงค์ เพื่อสวนล้างกระเพาะอาหารอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และไม่มีภาวะ
แทรกซ้อน

อุปกรณ์ที่ใช้

1. ถุงมือสะอาด
2. ชามสําหรับ Lavage–ถาดสําหรับวางอุปกรณ์
3. ผ้าสี่เหลี่ยม
4. SyringeIrrigate
5. NSS

ขั้นตอนการปฏิบัติ

1. ล้างมือก่อนและหลังการสวนล้างกระเพาะอาหาร
2. เตรียมอุปกรณ์ในการLavageให้พร้อม
3. อธิบายผู้ป่วยให้ทราบถึงขั้นตอนเหตุผลการสวนล้างกระเพาะ
อาหารโดยสังเขป
4. การใส่ NGTube ตามวิธีปฏิบัติการใส่สาย NGTube
5. ดูด Content ออกมาให้หมดพรัอมทั้งสังเกตสีปริมาณ
ลักษณะของContentที่ได้
6. ใส่น้ําเกลือลงไปและทําการสวนล้าง ใส่ NSS เขาไปครั้งละ
ประมาณ 20 – 200 cc. และดูดออกมา
ทําแบบนี้หลายๆ รอบ จนกวาน้ําที่ดูดออกมาจะใสดี
7. เก็บอุปกรณและบันทึกสีลักษณะปริมาณของ Content และ
ปริมาณNSS ที่ใช้สวนล้าง กระเพาะอาหารลงในแบบฟอร์มของ
แต่ละหน่วยงาน

3. gastric suction

การใส่สายให้อาหารเพื่อระบายและต่อกับเครื่อง
ควบคุมความดันสุญญากาศเพื่อระบายสารคัดหลั่งแก๊ส
ออกจากกระเพาะอาหารเพื่อลดอาการแน่นท้อง

เอกสารอ้างอิง

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา. (2559). การล้างกระเพาะอาหาร.
http://learnnshare.bcnpy.ac.th/index.php/Toolsset-Flushing

โรงพยาบาลหางดง. (2562). การสวนล้างกระเพาะอาหาร.
https://www.hangdonghospital.go.th/hd/upload/nurse/WI-NUR-19

โรงพยาบาลหัวหิน.(2553). การใส่สายทางปากและจมูกเข้าสู่กระเพาะอาหาร.
https://www.huahinhospital.go.th/file_doc/files-10094.pdf
siriornk-ple. (2018). การสวนล้างกระเพาะอาหาร.

โรงพยาบาลหางดง. (2562). การใส่สาย NG Tube. https://pubhtml5.com/homepage/dqid
https://www.hangdonghospital.go.th/hd/upload/nurse/WI-NUR-
22_%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AA%E0%B9%88_NG_Tube.pdf

จัดทำโดย

1.น.ส.กัญญารัตน์ นาเมืองรักษ์ ห้อง B เลขที่ 4 รหัส 64118301008
2.น.ส.ชนากานต์ บุญทา ห้อง B เลขที่ 11 รหัส 64118301023
3.น.ส.ฐนิชา ชุมแวงวาปี ห้อง B เลขที่ 15 รหัส 64118301030
4 น.ส.ณัฐธิดา พรมรักษา ห้อง B เลขที่ 17 รหัส 64118301034
5.น.ส.นภัทรลดา ทัพบุญตา ห้อง B เลขที่ 23 รหัส 64118301049


Click to View FlipBook Version