โครงงานคอมพิวเตอร์
เกม People Funny
จดั ทาโดย
นางสาวปรารถนา เขียวราชา เลขที่ 16
นางสาวสรัลนุช พทุ ริ้ว เลขที่ 20
นางสาวนภเกตน์ เทศเกิด เลขท่ี 25
นางสาววรรณฉตั ร วราหะ เลขท่ี 28
นางสาวสุทธิดา พกุ นิล เลขท่ี 29
ช้นั มธั ยมศึกษาปี่ ท่ี 4/1
เสนอ
ครูชชั วาลย์ ฝ่ายกระโทก
ครูท่ีปรึกษาโครงงาน
รายงานโครงงานคอมพวิ เตอร์น้ี เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา
วิชา วิทยาการคานวณ (ว.31191)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562
โรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม
โครงงาน เรื่อง เกม People Funny
ประเภทของโครงงาน
ผ้จู ดั ทาโครงงาน โครงงานการพฒั นาเกมเพ่ือการศึกษา
ปี การศึกษา นางสาวปรารถนา เขียวราชา เลขท่ี 16
เลขที่ 20
นางสาวสรัลนุช พทุ ริ้ว เลขท่ี 25
เลขท่ี 28
นางสาวนภเกตน์ เทศเกิด เลขที่ 29
นางสาววรรณฉตั ร วราหะ
นางสาวสุทธิดา พกุ นิล
2562
บทคดั ย่อ
โครงงานพฒั นาเกม เรื่อง People Funny มีจุดมงุ่ หมายเพ่ือใหผ้ เู้ ล่นเกิดความสนุกเพลิดเพลิน
ปัจจุบนั เกมไดเ้ ขา้ มามีบทบาทต่อสังคมไทยและเยาวชนไทยมากข้นึ เน่ืองจากเกมสามารถเป็นเคร่ืองมือท่ี
ช่วยพฒั นาระบบวิธีการคิดวิเคราะห์ สร้างจินตนาการ หรือแมก้ ระทงั่ ขดั เกลาจิตใจ ผจู้ ดั ทาจึงเสนอแนวเกมที่
มุ่งเนน้ ออกแบบและริเริ่มสร้างสรรคเ์ น้ือหาของเกมใหอ้ อกมาในรูปแบบ 3 มิติออนไลนท์ ่ีสนุกสนานและมี
ความบนั เทิง สอดแทรกความรู้ต่างๆ เพ่ือใหม้ ีความเหมาะสมตอ่ ผเู้ ลน่ ทกุ คนมีจุดประสงคเ์ พ่อื ศึกษาเรื่อง
การพฒั นาเกมโดยใชโ้ ปรแกรม Kodu game lab และเพอ่ื เผยแพร่ความรู้เรื่อง การพฒั นาเกม People Funny
ใหผ้ ทู้ ่ีสนใจไดศ้ ึกษา
จากการท่ีเพอื่ นๆนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4/1 ปี การศึกษา 2562 ไดท้ ดลองเล่นเกม People funny
และไดก้ รอกแบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจท้งั หมดจานวน 25 คน พบวา่ เกม People funny ไดร้ ับตอบ
รับเป็นท่ีน่าพงึ พอใจอยา่ งมาก โดยไดร้ ับผลคะแนนเฉล่ีย อยทู่ ่ี 3.58 โดยจดั ขอ้ พิจารณาเป็น 3 ขอ้ ที่มี
ประชากรทดลองเล่น และพิจารณาใหอ้ ยใู่ นความสนใจของตวั เกม People Funny ท้งั หมด 3 อนั ดบั ดว้ ยกนั
อนั ดบั แรกท่ีมีผลการประเมินสูงที่สุด ไดแ้ ก่ ทา้ ทายความสามารถของผเู้ ล่น มีคา่ เฉลี่ย 3.88 รองลงมาคือ เกิด
ความสนุกสนานในการเล่น มีคา่ เฉลี่ย 3.74 และประสิทธิภาพของเกมโดยรวม มีคา่ เฉล่ีย 3.74 ส่วนขอ้ ที่มีผล
การประเมินนอ้ ยท่ีสุด ไดแ้ ก่ส่งเสริมทกั ษะดา้ นการวางแผน มีคา่ เฉลี่ย 3.34
บทท่ี 1
บทนา
1. ความเป็ นมาของโครงงาน
โลกในปัจจุบนั จะเรียกไดว้ า่ เกมเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต ในหมู่เดก็ ๆ รวมท้งั เยาวชนเลยทีเดียว
เนื่องจากเกมเป็นส่ิงที่หาเลน่ ไดไ้ มย่ าก ท่ีสาคญั เราจะตอ้ งเลือกสรรเล่นเกมท่ีดีและใหป้ ระโยชน์ จึงมี
ความคิดท่ีจะพฒั นาเกมที่สร้างสรรคแ์ ละมีประโยชน์กบั เยาวชน สมาชิกในกลุ่มน้นั ๆในการเล่นเกมท่ีมี
ลกั ษณะความคดิ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา โดยภายในเกมจะใหเ้ ราไดเ้ รียนรู้ในการขา้ มด่านหรือแกไ้ ขสิ่ง
ตา่ งๆ
เกมน้นั เป็นสิ่งท่ีทาใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละเกิดโทษดว้ ยกนั หากแต่เรานาประโยชนท์ ่ีไดร้ ับมาจากเกม
นามาใชอ้ ยา่ งถกู วธิ ีและเหมาะสม กจ็ ะสามารถเล่นเกมไดอ้ ยา่ งสนุกสนาน หากมีเน้ือหาที่ไม่เหมาะสมบา้ ง
ควรจะใชว้ ิจารณญาณในการเล่น
จึงทาใหก้ ลมุ่ ของขา้ พเจา้ สนใจท่ีจะทาโครงงานพฒั นาเกมเร่ือง People Funnyเพื่อเผยแพร่ความรู้ใน
เร่ืองPeople Funnyใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อผทู้ ี่สนใจศึกษาต่อไป
2.วตั ถุประสงค์ของโครงงาน
2.1 เพื่อศึกษาเร่ืองการพฒั นาเกม
2.2 เพ่อื พฒั นาเกมเรื่องPeople Funny
2.3 เพอ่ื เผยแพร่ความรู้เร่ืองการพฒั นาเกมPeople Funnyใหผ้ ทู้ ่ีสนใจไดศ้ ึกษา
2.4 เพอื่ นาความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรียนโปรแกรมการสร้างงานกราฟิ ก และโปรแกรมการสร้างเกมใน
วิชาคอมพวิ เตอร์ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นรูปแบบของโครงงาน
3.ขอบเขตของโครงงาน
3.1 เป็นโครงงานพฒั นาเกมเรื่องPeople Funny
3.2 โดยการใชโ้ ปรแกรมConstructในการพฒั นาเกม
3.3 ขอบเขตเน้ือหา เป็นโครงงานพฒั นาเกมในเรื่องPeople Funny ท่ีกลมุ่ สนใจ โดยจดั ทาเกมใน
หวั ขอ้ เรื่อง โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 3 หัวขอ้ ดงั น้ี
3.2.1 จดั ทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพฒั นาเกมดว้ ย Construct 2 เรื่อง People Funny
3.2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเช่ือมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
3.2.3 โปรแกรมConstruct 2
4.ประโยชน์ท่ีได้รับจากโครงงาน
4.1 มีโครงงานเร่ืองการพฒั นาเกม เรื่อง People Funny
4.2มีเกมเรื่อง People Funny
4.3เผยแพร่ความรู้เร่ืองPeople Funnyใหผ้ ทู้ ี่สนใจไดศ้ ึกษาในรูปแบบของเกม
4.4 มีทกั ษะในการสร้างงานกราฟิ ก และการสร้างเกมในวชิ าคอมพิวเตอร์ และสมารถนาความรู้มา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
5.วิธีดาเนนิ งาน
การดาเนินงานเพอ่ื จดั ทาโครงงานพฒั นาเกมน้ี มีวิธีการตามลาดบั ข้นั ตอนดงั น้ี
5.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพือ่ ศึกษา และเลือกหวั ขอ้ สนใจในการทาโครงงาน
5.2 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานที่ไดจ้ ากการเลือกหัวขอ้ ที่สนใจของกลุ่มทางานต่อครูที่ปรึกษา
โครงงาน
5.3 วางแผนการจดั ทาโครงงาน โดยเขยี นแบบร่างโครงงาน
5.4 นาแบบร่างโครงงานมาจดั ทาโครงงานท่ีสมบรู ณ์
5.5 นาโครงงานที่สมบรู ณ์แลว้ มาจดั ทาเกม โดยใชโ้ ปรแกรมสร้างเกมpeople funnyพฒั นาเกมตาม
หวั ขอ้ ตามโครงงาน
5.6 นาเสนอผลงานตามโครงงานในรูปแบบของเกม
5.7 ประเมินผลงานการจดั ทาโครงงาน
6.นยิ ามศัพท์
นกั เรียน หมายถึง นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/1
โรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม
Microsoft Word หมายถึง โปรแกรมการประมวลผลคาที่ออกแบบ มาเพอ่ื ช่วยให้เอกสารที่มีคุณภาพ
ระดบั มืออาชีพ
Construct 2 หมายถึง โปรแกรมสร้างเกม
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง
ในการทาโครงงานพฒั นาเกม เรื่องCycle speed water กลุ่มผศู้ ึกษาไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎีและ
หลกั การตา่ งๆจากเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 โปรแกรม kodu
2.1.1 Kodu เป็นภาษาโปรแกรมเชิงทศั น์ จากบริษทั Microsoft ท่ีทุกคนสามารถดาวน์โหลดไป
ใชไ้ ดฟ้ รีพฒั นาโดยทีมงาน
2.1.2 Kodu ถกู ออกแบบและสร้างข้ึนมาใหม้ ีกราฟฟิ กสวยงามเพ่อื ใหเ้ ดก็ ๆ ไดเ้ รียนรู้และฝึกทกั ษะ
การเขยี นโปรแกรมผา่ นการสร้างเกมโดยเฉพาะ
2.1.3 Kodu ใชก้ ารคลิกไอคอนในการโตต้ อบกบั โปรแกรม เช่น การสร้างพ้ืนท่ีในการเล่นเกม การ
ออกแบบสภาพแวดลอ้ มแบบ 3 มิติ การสร้างตวั ละครและวตั ถตุ ่าง ๆ ในเกม การสร้างกฎของเกมหรือการ
ตอบสนองต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในเกม
2.2 คุณสมบตั ขิ องโปรแกรม Kodu Game Lab
2.2.1 Kodu Game Lab คือโปรแกรมช่วยเขียนโปรแกรมมิ่งท่ีช่วยใหค้ ณุ สร้างเกมสามมิติ (3D) ได้
เอง แมจ้ ะไม่มีพ้ืนความรู้เร่ืองการเขยี นโปรแกรมเลยกต็ าม Kodu มีไอคอนท่ีคอยควบคมุ คาแรคเตอร์
(Character) และออ็ ปเจค (Object) ต่างๆ ดว้ ยการส่ังใหค้ าแรคเตอร์แสดงพฤติกรรมออกมาในรูปแบบที่จบั
ตอ้ งได้
2.3 หลกั การเขียนโปรแกรมเกม Kudo เป็ นโปรแกรมภาษาเฉพาะด้าน (Domain-specific language)
2.3.1 สร้างมาสาหรับการสร้างเกม โดยอาศยั ไวยากรณ์ภาษา (Grammar) ของ Kodu เป็นตวั กาหนด
วิธีการเขยี นโปรแกรมในเกม การเขยี นเกมใน Kodu เร่ิมจากการสร้างโลกของเกมข้นึ มาก่อน โดยสร้างพ้ืนท่ี
ในการเล่นเกม (Terrain) จากน้นั สร้างตวั ละคร หรือ วตั ถุต่างๆ เขา้ ไปบนพ้ืนที่น้นั ตอ่ มาคอื การสร้างกฎของ
เกม เพอ่ื ใหต้ วั ละครและวตั ถุตา่ งๆ ทางานร่วมกนั ตามที่เกมไดถ้ กู ออกแบบไว้
กฎต่างๆ ในเกม จะถูกกาหนดโดยการเขยี นโปรแกรมเขา้ ไปยงั ตวั ละคร หรือวตั ถุต่างๆ และลกั ษณะการ
เขยี นโปรแกรมใน Kodu คือการสงั่ ใหต้ วั ละคร หรือวตั ถุต่างๆ ทางานเม่ือเหตกุ ารณ์ต่างๆ เกิดข้ึน เช่นใน
ตวั อยา่ งตามรูปดา้ นบน เป็นการกาหนดกฎใหต้ วั ละคร Kodu มีท้งั หมด 4 เหตกุ ารณ์ แต่ทางาน 5 อยา่ ง
ไวยากรณ์ของ Kodu อยใู่ นรูปแบบงา่ ยๆ คือ แตล่ ะบรรทดั หรือแตล่ ะรายการ (มีตวั เลขกากบั อย)ู่ เป็นกฎ
หน่ึงๆ สาหรับตวั ละครหรือวตั ถุน้นั และกฎน้นั อยใู่ นรูปแบบตามไวยากรณ์ของ Kodu ดงั น้ี
When Condition Do Action
อธิบายไดว้ า่ เม่ือ (When) เหตุการณ์ที่เฝ้ารอเกิดข้ึน (Condition) ใหท้ า (Do) งานดงั น้ี (Action)
จากรูปดา้ นบน อธิบายกฎตามหลกั ไวยากรณ์ของ Kodu ไดด้ งั น้ี
1. เมื่อผเู้ ลน่ ใชจ้ อยสติ๊กดา้ นซา้ ยของเกมแพด ตวั ละคร Kodu จะเคล่ือนท่ีตามทิศทางของจอยสติ๊ก
2. เม่ือผเู้ ล่นใชค้ ียล์ กู ศรบนคียบ์ อร์ด ตวั ละคร Kodu จะเคลื่อนท่ีตามทิศทางของคียล์ ูกศร (เกมน้ีผเู้ ล่น
สามารถจะใชเ้ กมแพด หรือจะใชค้ ียบ์ อร์ดในการเลน่ กไ็ ด)้
3. เม่ือตวั Kodu ชน (bump) กบั แอปเปิ้ ล ใหต้ วั Kodu กินผลแอปเปิ้ ลน้นั (it)
4. ในกรณีท่ีกฎมีการยอ่ หนา้ และไม่มีเง่ือนไขของเหตกุ ารณ์กากบั อยู่ หมายความวา่ ให้ใชเ้ ง่ือนไขก่อนหนา้
น้นั ซ่ึงก็คือกฎในขอ้ 3 เมื่อตวั Kodu ชน กบั แอปเปิ้ ล ใหเ้ พ่ิมคะแนน 1 คะแนนแก่ผเู้ ล่น
5. เม่ือผเู้ ลน่ ทาคะแนนะไดค้ รบ 5 คะแนน ผเู้ ล่นชนะ
2.4 การสร้างเงื่อนไขในเกม Kudo
เกมใน Kodu ถูกขบั เคลื่อนดว้ ยเหตุการณ์ต่างๆ ระหวา่ งโปรแกรมทางาน หรือระหวา่ งการเล่นเกม
ดงั น้นั การเขียนโปรแกรมจึงข้ึนกบั เหตุการณ์เหลา่ น้นั และสามารถแสดงเป็นกฎไดด้ งั น้ี
When Condition (เง่ือนไขของเหตุการณ์) Do Action (ส่ิงทีจ่ ะทาเม่ือเกดิ เหตุการณ์ขนึ้ )
กฎดา้ นบนน้ีเป็นเพยี งแคก่ ฎเบ้ืองตน้ เพราะเบ้ืองหลงั ของแตล่ ะรายการคาสงั่ ในโปรแกรม Kodu ถูกกากบั
ดว้ ยไวยากรณ์ภาษา (Kodu Grammar) ที่ตอ้ งใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง เพ่อื ใหเ้ กมทางานไดถ้ ูกตอ้ งตามที่ไดอ้ อกแบบไว้
การเขา้ ใจไวยากรณ์ของเกมจะทาใหเ้ ขียนโปรแกรมใน Kodu ไดด้ ีข้นึ เหมือนเขา้ ใจในไวยากรณ์
ภาษาองั กฤษ กจ็ ะอา่ นเขยี นภาษาองั กฤษไดด้ ีข้นึ แตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ ตอ้ งเขา้ ใจไวยากรณ์ใน Kodu
ท้งั หมดก่อนถึงจะเร่ิมเขียนโปรแกรมบน Kodu ได้ ดงั น้นั มาเริ่มตน้ ศึกษาแบบง่ายๆ ก่อน
ส่วนประกอบสาคญั ของไวยากรณ์ คอื Production Rules เป็นกฎสาหรับสร้างภาษา ประกอบไปดว้ ย
Variables และ Terminals ซ่ึงอยใู่ นรูปแบบดงั น้ี
Variable –> Variables Terminals
Variable คือคาท่ีแปรเปลี่ยนไดต้ ามกฎ(อ่ืน) คาเหล่าน้ีจะข้นึ ตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญ่ เช่น Rule, Condition,
Action, Sensor, Filter, FilterSet, Actuator, Selector, Modifier เป็นตน้
Terminal คือคาท่ีสิ้นสุด ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตอ่ ไปไดอ้ ีกแลว้ คาเหลา่ น้ีจะข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั เลก็ เช่น
kodu, cycle, apple, see, move, red, eat, toward, quickly, hear เป็นตน้ คาเหล่าน้ีจะเป็นไอคอนตา่ งๆ ที่ใชใ้ น
การเขยี นโปรแกรมใน Kodu ซ่ึงไอคอนต่างๆ พอจะแบง่ เป็นกลมุ่ ๆ (ตวั อยา่ ง) ไดด้ งั น้ี
• ไอคอนตวั ละครหรือวตั ถุ
• ไอคอนแสดงการรับรู้
• ไอคอนที่เป็นการกระทา
Production Rules เป็นกฎที่ใชอ้ ธิบายตวั ภาษาเพื่อสร้างกฎของเกม ในขณะท่ีกฎของเกมท่ีใชต้ อนเขียน
โปรแกรม (When … D0 …) คือผลลพั ธ์สุดทา้ ยจากการใช้ Production Rules
ดา้ นซา้ ยมือของ Production Rules จะมีไดแ้ ต่ตวั แปร และมีแคต่ วั เดียว แต่ดา้ นขวามือ ตวั แปรและ Terminal
อาจมีตวั เดียว หลายตวั หรือไมม่ ีเลยกไ็ ด้
2.5 หลกั การใช้คาสั่งในเกม Kudo
Rules ที่ใชใ้ นการเขียนโปรแกรมคือ
1. Rule –> Condition Action
Rule คอื กฎของเกมท่ีตอ้ งการจะสร้าง Condition เป็นเง่ือนไขของเหตุการณ์ Action สิ่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไข
น้นั เป็นจริง กฎน้ียงั ใชง้ านไม่ได้ เน่ืองจากดา้ นขวามือมีแต่ตวั แปร (Variable) ซ่ึงไม่สามารถแทนที่ไดด้ ว้ ย
ไอคอนใน Kodu ดงั น้นั มาดูกฎขอ้ อ่ืนกนั ตอ่ วา่ ตวั แปรเหล่าน้ีเปลี่ยนไปเป็นอะไรไดบ้ า้ ง
2. Condition –> Sensor Filter
3. Action –> Actuator Selector Modifier
Sensor (การรับรู้) Filter (ตวั กรอง) Actuator (ตวั กระทา) Selector (ตวั เลือก) Modifier (ตวั ขยาย) ท้งั หมดน้ีก็
ยงั เป็นตวั แปรอยู่ แทนท่ีดว้ ยไอคอนไม่ได้ แต่สามารถแทนที่กนั เองได้
กฎการแทนท่ี เป็นกฎที่ทาใหไ้ วยากรณ์ขยายออกไปไดด้ ว้ ยการแทนคาจากกฎขอ้ หน่ึงไปแทนคาในกฎอีกขอ้
หน่ึง คือแทนคาท่ีเป็นตวั แปรทางซา้ ยมือ ดว้ ยคาทางขวามือ (อาจเป็น Variable หรือ Terminal กไ็ ด)้
ยกตวั อยา่ งในกรณีน้ี เราสามารถนา Sensor Filter ไปแทนตวั แปร Condition ในกฎขอ้ แรกได้ ดงั น้ี Rule –>
Sensor Filter Action
และเม่ือแทน Action ดว้ ย ก็จะไดก้ ฎใหมด่ งั น้ี Rule –> Sensor Filter Actuator Selector Modifier มาดูกฎขอ้
อ่ืนๆ กนั ต่อ
4. Sensor –> see | hear | bump
5. Filter –> apple | blue | health
6. Actuator –> move | shoot| add
7. Selector –> toward | me | avoid
8. Modifier –> 5 points | red | quickly
คราวน้ีเราจะเห็นคาที่เป็น Terminals กนั บา้ งแลว้ แทง่ (Vertical bar) ท่ีก้นั ระหวา่ งคาดา้ นขวามือ หมายความ
วา่ ใหเ้ ลือกใชค้ าใดคาหน่ึง ตวั อยา่ งเช่น เลือก hear แทน Sensor, apple แทน Filter, add แทน Actuator เป็น
ตน้
คราวน้ีมาลองดูตวั อยา่ งกฎในเกม ท่ีไดจ้ ากกฎสร้างภาษาดา้ นบน เพ่ือนาไปเขยี นโปรแกรมใน Kodu เช่น
ตอ้ งการเขยี นกฎใหต้ วั Kodu เมื่อเห็นผลแอปเปิ้ ลแลว้ ใหเ้ คล่ือนท่ีไปหาผลแอปเปิ้ ลน้นั อยา่ งรวดเร็ว เม่ือใช้
กฎสร้างภาษาที่กลา่ วมา ร่วมกบั กฎการแทนที่แลว้ จะไดก้ ฎคาส่งั สุดทา้ ยตามข้นั ตอนดงั น้ี
• Rule –> Condition Action
• Rule –> Sensor Filter Action
• Rule –> see Filter Action
• Rule –> see apple Action
• Rule –> see apple Actuator Selector Modifier
• Rule –> see apple move Selector Modifier
• Rule –> see apple move toward Modifier
• Rule –> see apple move toward quickly
กฎสุดทา้ ยจะมีแต่ Terminal ในดา้ นขวามือ ซ่ึงสามารถเขียนในโปรแกรม Kodu ไดด้ งั น้ี
When see apple Do move toward quickly
สังเกตวา่ When และ Do ไม่ไดอ้ ยใู่ นไวยากรณ์ของ Kodu แตเ่ ป็นส่วนหน่ึงในกฎของเกมที่ใชแ้ ยกระหวา่ ง
เหตุการณ์ กบั สิ่งท่ีจะทาเมื่อเหตุการณ์น้นั เกิดข้ึน รูปล่างน้ีแสดงการเขียนกฎสุดทา้ ยที่ไดจ้ ากตวั อยา่ งดา้ นบน
ใหต้ วั Kodu
2.6 วิธกี ารสร้างเกม
2.6.1 สร้างแผนที่ ที่ตวั ละครสามารถว่งิ ไดโ้ ดยใช้ Ground Brush
2.6.2 ตกแตง่ แมพดว้ ย ตน้ ไม้ ฯลฯ โดยใช้ Object Tool
2.6.3 สร้างตวั ละครท่ีสามารถเดินไดโ้ ดยใช้ Object Tool และใส่โปรแกรมให้ตวั ละครสามารถเดิน
ได้ และเมื่อโดนดาวที่เป็นเสน้ ชยั กจ็ ะชนะ คอื
2.6.4 ส่วนเส้นชยั คอื ดาวต้งั ค่าใหเ้ ม่ือโดน จะทาใหเ้ ปล่ียนด่าน
2.6.5. ในแตล่ ะด่านจะมีอุปสรรคต์ า่ งๆ เช่น ตวั ยงิ ปื น หรือหลมุ ดา จะใช้ Object Tool สร้างตวั ละคร
และตอ้ งคา่ ใส่โปรแกรมลงไป
2.7 วิธกี ารเล่น
2.7.1. ใช้ A W D S หรือ ข้นึ ลง ซา้ ย ขวา เป็นตวั ควบการเดินของตวั ละคร คอยหลบหลกั อปุ สรรค์
ต่างๆ ที่มีในแต่ละด่าน
บทท่ี 3
วิธดี าเนนิ โครงงาน
ในการทาโครงงานพฒั นาเกม เร่ือง People Fanny กลมุ่ ผศู้ ึกษามีวิธีการดาเนินโครงงานดงั ต่อไปน้ี
3.1 วิธกี ารดาเนินโครงงาน
3.1.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อศึกษา และเลือกหวั ขอ้ สนใจในการทาโครงงาน
3.1.2 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานที่ไดจ้ ากการเลือกหวั ขอ้ ท่ีสนใจของกลุ่มทางานต่อครูท่ีปรึกษา
โครงงาน
3.1.3 วางแผนการจดั ทาโครงงาน โดยเขยี นแบบร่างโครงงาน
3.1.4 นาแบบร่างโครงงานมาจดั ทาโครงงานที่สมบูรณ์
3.1.5 นาโครงงานที่สมบรู ณ์แลว้ มาจดั ทาเกม โดยใชโ้ ปรแกรมสร้างเกม (kodu) พฒั นาเกมตาม
หวั ขอ้ ตามโครงงาน
3.1.6 นาเสนอผลงานตามโครงงานในรูปแบบของเกม
3.1.7 ประเมินผลงานการจดั ทาโครงงาน
3.2 การสร้างส่วนตา่ ง ๆ ของเกม และการตกแต่งภาพ
3.2.1 ออกแบบการสร้างส่วนตา่ ง ๆ ของเกมโดยใชโ้ ปรแกรมkodu
3.3 การสร้างเกม
3.3.1 การสร้างเกมใชโ้ ปรแกรมการสร้างเกม ( kodu) พฒั นาเกมตามหวั ขอ้ ตามโครงงาน
บทที่ 4
ผลของการดาเนนิ โครงงาน
ในการทาโครงงานพฒั นาเกม เร่ืองPeople Funnyไดร้ ับผลของการดาเนินโครงงานดงั ตอ่ ไปน้ี
ระดบั ความคดิ เห็น การแปลความหมาย
รายการ มาก มาก ปานกลาง น้อย(1) x̄ ความหมาย อนั ดบั
(3) (2)
ทสี่ ดุ (4) 11 3 3.42 น้อย 8
31.43% - 8.57% 3.65 ปานกลาง 4
1.ความสอดคล้อง 21 3.74 มาก 2
12 3.65 ปานกลาง 4
ของเนอื ้ หา 60% 34.28% 3.4 น้อย 9
3.34 น้อย 10
2.การออกแบบเกมมี 23 9 3.45 ปานกลาง 7
25.71% 3.88 มาก 1
ความเข้าใจ 65.71% --
14 6
3.เกดิ ความ 26 40% 2
สนกุ สนานในการเลน่ 74.28% 13 --
37.14%
4.เวลาที่เลน่ มคี วาม 21 1
11 2.86% -
เหมาะสม 60% 31.43%
4
5.เกมสง่ เสริมทกั ษะ 18 13 11.43 -
37.14%
ความคดิ 51.43% 32
10 8.57% 5.71%
6.เกมสง่ เสริมทกั ษะ 19 28.57%
3
ด้านการวางแผน 54.28% 8.57% -
7.เกมชว่ ยให้เกิด 19 1
2.86% -
ทกั ษะด้านความจา 54.28%
8.เกมท้าทาย 26
ความสามารถของผู้ 74.28%
เลน่
9.เกมมคี วามสวยงาม 21 14
และเหมาะสม 60% 40% - - 3.6 ปานกลาง
10.ประสทิ ธิภาพของ 27 71
เกมโดยรวม 77.14% 20% 2.86% - 3.74 มาก
รวม 3.58
อภิปราย
ผลการประเมินความพงึ พอใจต่อเกมPeople funny พบวา่ ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากมีค่าเฉลี่ย 3.58เม่ือ
พจิ ารณาเป็นรายขอ้ 3 อนั ดบั แรกท่ีมีผลการประเมินสูงที่สุด ไดแ้ ก่ทา้ ทายความสามารถของผเู้ ล่น อยใู่ น
ระดบั มากมีคา่ เฉลี่ย 3.88 รองลงมาคือเกิดความสนุกสนานในการเลน่ อยใู่ นระดบั มากมีคา่ เฉล่ีย 3.74 และ
ประสิทธิภาพของเกมโดยรวม อยใู่ นระดบั มากมีค่าเฉล่ีย 3.74 ส่วนขอ้ ที่มีผลการประเมินนอ้ ยที่สุด ไดแ้ ก่
ส่งเสริมทกั ษะดา้ นการวางแผน อยใู่ นระดบั ปานกลางมีคา่ เฉลี่ย 3.34
บทที่ 5
สรุปการดาเนินโครงงาน
5.1สรุปผลการดาเนนิ โครงการ
5.1.1 ไดศ้ ึกษาเรื่อง การพฒั นาเกม ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีกลุม่ สนใจไดอ้ ยา่ งละเอียดลึกซ้ึงมากข้นึ ทาใหม้ ี
ความเขา้ ใจมากข้นึ
5.1.2ไดพ้ ฒั นาเกมเร่ือง People funny
5.1.3 ไดน้ าความรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนโปรแกรมการสร้างงานกราฟิ ก และโปรแกรมการสร้างเกมใน
วชิ าคอมพิวเตอร์ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นรูปแบบของโครงงาน
5.2ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง
การพฒั นาเกม ยงั เป็ นการพฒั นาที่เป็นงานง่ายๆ ยงั ตอ้ งอาศยั ความชานาญและเวลาในการจดั ทาให้
มากข้นึ เพอ่ื ใหง้ านที่ทามีความคลอบคลุมและมีคุณภาพมากยง่ิ ข้นึ
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา
เนื่องจากหวั ขอ้ ที่ใชท้ าโครงงานน้ีเป็นหวั ขอ้ ตามท่ีกล่มุ สนใจ ซ่ึงบางคร้ังอาจไม่เป็นหวั ขอ้ ทาง
วชิ าการมากนกั ควรนาหวั ขอ้ ทางวิชาการมาจดั ทาเป็นโครงงานเพ่ือประโยชน์ตอ่ การศึกษา
บรรณานุกรม
ดาวน์โหลดโปรแกรม Kodu Game Lab
https://www.microsoft.com/en-us/download/confirmation.aspx?id=10056
แหล่งอ้างองิ (เอกสารหรือแห่งข้อมูลต่างๆ ที่นามาใช้ในการทาโครงงาน)
https://th.wikipedia.org/wiki\
https://sites.google.com/site/kruonnzsorncom/hnwy-thi-1-reim-tn-kodu-game-lab
https://sites.google.com/a/suratham.ac.th/computer228/reuxng-thi-1-khwam-hmay-laea-rup-baeb-
khxng-khxmphiwtexr
https://www.ku.ac.th/icted2012/documents/KODU_Game.pdf
https://kidsangsan.com