The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธที่มีปฏิสัมพันธ์กับ
ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์-พระมณีพร ขนฺติสาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธที่มีปฏิสัมพันธ์กับ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์-พระมณีพร ขนฺติสาโร

วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธที่มีปฏิสัมพันธ์กับ
ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์-พระมณีพร ขนฺติสาโร

Keywords: วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธที่มีปฏิสัมพันธ์กับ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์-พระมณีพร ขนฺติสาโร

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน

Mahachulalongkornrajavidyalaya University Khon Kaen Campus

ชือ่ ดษุ ฎีนพิ นธ

วิถชี ีวติ ชุมชนชาวพุทธทม่ี ปี ฏสิ มั พนั ธกับ
ปราสาทพนมรงุ อาํ เภอเฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั บรุ รี ัมย

ผวู ิจัย

พระมณีพร ขนฺติสาโร

คณะกรรมการ พระมหาดาวสยาม วชิรปฺโญ, ผศ.ดร.,
ควบคุมดษุ ฎีนพิ นธ ป.ธ.6, พธ.บ. (ศาสนา) ,M.A. (Sanskrit),
Ph.D. (Pali & Theravãda)

พระครสู ุธีคัมภีรญาณ, ผศ.ดร.,
ป.ธ.6, พธ.บ. (ภาษาไทย), M.A. (Linguistics),
M.A. (Pali & Buddhist Studies)

หลักสูตรพทุ ธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน

ปท่อี นมุ ตั จิ บการศกึ ษา 2564

หลักสตู รพทุ ธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา @MCUKK.Phd.Bud
http://www.mcukk.com/phdbudh/

ทมี่ าและความสาํ คัญของงานวิจัย

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื หรือภาคอีสานประกอบดวยคนหลายกลุม
วัฒนธรรม มีภาษาพูด วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมทั้งที่เปนลักษณะ
เฉพาะถนิ่ เฉพาะเผาพันธุ และท่ีเปนลักษณะรวมกัน บางกลุมวัฒนธรรม
มีภาษาพูดใกลเคียงกับภาษาไทยมาตรฐาน โดยเฉพาะกลุมไทยลาว
ประกอบดวย ไทยยอ ผูไทย ไทยลาว ไทยแสก และไทยโคราช แตบางกลุม
วัฒนธรรมมีภาษาพูดที่แตกตางไปจาก ภาษาไทยมาตรฐานอยางสิ้นเชิง ไดแก
กลุมท่ีพูดภาษามอญ-เขมร เชน ไทยเขมร ไทยสวย-ไทยกูย ซ่ึง พบมากในจังหวัด
สุรินทร ศรีษะเกษ และบุรีรัมย โดยพูดได 2 ภาษา คือ ภาษาชนกลุมนอยหรือภาษาถ่ิน
ของตนและภาษาไทยมาตรฐาน กลมุ วฒั นธรรมในภาคอีสานสามารถแบงออกเปน 3 กลุมใหญ
ไดแก 1. กลุมวัฒนธรรมไทย-ลาว 2. กลุมวัฒนธรรมมอญ-เขมร 3. กลุมวัฒนธรรมไทยโคราช
กลุมวัฒนธรรมหลักท้ัง 3 กลุมนี้มีลักษณะการอยูอาศัยกระจายไปท่ัวพื้นท่ีของบริเวณ ภาคอีสาน
กลุมวัฒนธรรมไทยโคราชพบการกระจายตัวในแถบจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย กลุมวัฒนธรรม
ไทย-ลาว พบการอาศัยอยูอยางหนาแนนในบริเวณทางตอนบนของภาคและกระจายไป ในทุกจังหวัดท่ัว
ภาคอีสาน กลุมวัฒนธรรมมอญ-เขมร อาศัยอยูบริเวณเขตรอยตอชายแดนไทย-กัมพูชา ตอนลางของภาคอีสาน
โดยเรียกพ้ืนที่บริเวณดังกลาววา “อีสานใต” มี 4 จังหวัด ประกอบดวย จังหวัดสุรินทร บุรีรัมย ศรีสะเกษ และ
นครราชสมี า

@MCUKK.Phd.Bud http://www.mcukk.com/phdbudh/

วิธีดาํ เนินการวจิ ยั

1. ทําการศกึ ษาและรวบรวมขอมูลในเชิงเอกสาร
(Documentary Study) จากแหลง ขอมลู ปฐมภมู ิ (Primary Source)
และศกึ ษาขอ มูลทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Source) ท่มี เี นือ้ หาที่เกย่ี วของ
กบั งานวจิ ัยน้ี และประชากรกลุมตัวอยางท่ศี ึกษา

2. สรางแบบสมั ภาษณจากกรอบเน้ือหาของวัตถปุ ระสงค และนยิ าม
ศัพทท่ีใชในการวจิ ยั เพอ่ื ตอบโจทยก ารวิจัย

3. เสนอรางแบบสมั ภาษณต ออาจารยท ่ปี รึกษา เพ่ือตรวจสอบความถูกตอง
ของเนือ้ หา

4. นาํ แบบสัมภาษณม าปรับปรุงแกไ ขตามทีอ่ าจารยท ปี่ รกึ ษาแนะนํา เสนอตอผูท รง
คุณวฒุ ิ เพือ่ ตรวจสอบความสมบรู ณของเนือ้ หา จํานวน 5 ทาน

5.นําแบบสมั ภาษณไ ปปรับปรุงแกไ ขอกี คร้งั หนงึ่ ตามคาํ แนะนาํ ของผูท รงคณุ วฒุ ิ
6. ทําการสนทนากลมุ (Focus Group) โดยมีผเู ขา รวมสนทนากลมุ รวมกบั คณาจารยท ปี่ รึกษา
ไดแก พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ, รศ.ดร., พระครสู ุธคี มั ภีรญาณ ผศ.ดร., พระมหาดาวสยาม วชริ ปฺโญ, ผศ.ดร.,
รว มกบั ผูทรงคณุ วุฒิภายนอกไดแก ผศ.ดร.หอมหวล บวั ระภา, ผศ.ดร.วิเชยี รแสนมี, ผศ.ดร.ธีระพงษ มีไธสงค
และ ผศ.ดร.สุวนิ ทองปน ตลอดทงั้ นสิ ิตพุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ รุน 11 ทกุ รูป/คน เพือ่ ใหค วามคดิ เห็นเกีย่ วกบั
วิถชี ีวติ ชมุ ชนชาวพุทธทมี่ ีปฏิสัมพนั ธก ับปราสาทพนมรงุ อาํ เภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวดั บรุ ีรัมย ซง่ึ ไดร ับ
คาํ แนะนาํ จากผูทรงคณุ วุฒิและปรับแกตามคาํ แนะนํา
7. ผูวจิ ยั ติดตอ บัณฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน เพือ่ ขอ
หนงั สอื ความรวมมอื ในการทาํ วจิ ยั ไปยังกลุม เปา หมาย จาํ นวน 40 รูป/คน
8. ผวู จิ ยั นําแบบสมั ภาษณ ไปสัมภาษณเ ชงิ ลึก กลุมเปาหมายผใู หขอ มูลหลัก จํานวน 40 รูป/คน จํานวน
40 ฉบับ และรบั คืนมาดวยตนเองทัง้ หมดแลว ตรวจสอบความถกู ตองสมบูรณ
9. รวบรวมเรียบเรียงขอ มลู ทงั้ ทไ่ี ดจากภาคทฤษฏี และภาคสนามมาวิเคราะห สงั เคราะหและจัด
หมวดหมู นําไปวิเคราะหข อ มลู ตามวตั ถปุ ระสงคในการวิจยั เขยี นรายงานการวิจัย สรุปผลการวจิ ัย และ
ขอเสนอแนะในการทําวิจัยในครงั้ ตอ ไป
10. ทําการประชาพจิ ารณโ ดยมผี ทู รงคุณเขา รวมไดแก พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ, รศ.ดร.,
พระครสู ธุ ีคัมภีรญาณ, ผศ.ดร., พระมหาดาวสยาม วชิรปฺโญ, ผศ.ดร., รว มกับผทู รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก ไดแก
ผศ.ดร.หอมหวล บวั ระภา, ผศ.ดร.วิเชียร แสนมี ผลการประชาพจิ ารณ ไดร ับคําแนะนําจากผทู รงคณุ วฒุ นิ าํ มา
ปรบั ปรุง แกไขใหมคี วามสมบรู ณ

@MCUKK.Phd.Bud http://www.mcukk.com/phdbudh/

ผลการวจิ ยั

วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธท่ีมีปฏิสัมพันธกับปราสาท: คือ
1) อารยธรรมของชาวบุรีรัมย เปน เสมือนประตูเปดรับอารยธรรม
ภาษา สิ่งปลูกสราง ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อ 2) วัฒนธรรม
กับ ปราสาทของชาวบุรีรัมย เปนแหลงอารยธรรมที่เกาแก มีวัฒนธรรม
ประเพณีท่ีดีงาม แหลงโบราณสถาน และ โบราณคดี ท่ีบงบอกถึงความเจริญ
ในอดีต เชน ปราสาทตา ง ๆ ในจังหวัดบรุ รี ัมย
วิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธท่ีมีปฏิสัมพันธกับปราสาทพนมรุง: แบงออกเปน
3 ประเด็น คือ 1) วิถี ชีวิตกับปราสาทพนมรุง การปลุกจิตสํานึก, อารยธรรมดานความ
เชื่อ, ท่ีปรากฏใหเห็นบนตัวปราสาทพนมรุง 2) วัฒนธรรม คือ ความงอกงามในการ
ดํารงชีวิต, ความงอกงามทางดานภาษา, 3) ประเพณีและพิธีกรรม ของชุมชนชาวพุทธท่ีสัมพันธ
กับปราสาทพนมรุง คือ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ แหงปราสาทพนมรุง, พิธีบวงสรวงบัวแปดกลีบ,
พธิ บี วงสรวงเจาพอปราสาททอง
วิเคราะหวิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธที่มีปฏิสัมพันธกับปราสาทพนมรุง อําเภอเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดบุรีรัมย: ไดแสดงคุณคาใหปรากฏในแตดาน คือ 1) ดานพุทธจริยธรรม ทางศาสนากิจ การปกครอง
การเมือง, 2) ดานศิลปกรรม คณุ คา ทางดา นการแกะสลักภาพส่ือความหมาย, 3) ดานวฒั นธรรม คณุ คา ทางการ
แตงกาย การความกตญั กู ตเวทตี อ บุพการีผมู ีพระคณุ ผูลวงลับ, 4) ดานประเพณี ประเพณีฮีต 12 การบูชาพระ
รัตนตรัย, 5) ดานพิธีกรรม สวนใหญจะเก่ียวกับการบวงสรวงบูชา แกบรรพบุรุษผูลวงลับ เปนพิธีกรรมท่ีแสดง
ออกมาจากความกตัญูกตเวที

@MCUKK.Phd.Bud http://www.mcukk.com/phdbudh/

องคความรใู หมท ่ไี ดจ ากการวิจัย

การวจิ ยั เรอื่ งวถิ ชี วี ติ ชมุ ชนชาวพุทธท่ีมปี ฏิสมั พันธก ับ
ปราสาทพนมรุง อําเภอเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวัดบรุ ีรมั ย วฒั นธรรม
ประเพณแี ละพธิ กี รรมทางศาสนา (Cultural Ceremony) ทีเ่ กย่ี วกบั
ปราสาทพนมรุงไดสงผานความสงบสนั ตสิ ุข (Peace) ทําใหเ กดิ ขึ้นในชุมชน
วิถีชีวติ ชมุ ชนชาวพทุ ธท่มี ปี ฏิสมั พันธกบั ปราสาทพนมรุง อําเภอเฉลิมพระ-
เกยี รติ จังหวดั บรุ ีรัมย ไดอ ธิบายถงึ ประวัตศิ าสตรท ี่มกี ารสะทอ นวัฒนธรรมและ
อตั ลกั ษณที่กอ ใหเ กดิ มจี ารตี ประเพณปี ฏิบัตสิ บื มาจากคติความเช่ือในพนื้ ทศ่ี ักดส์ิ ิทธ์ิ
ของศาสนสถาน เพื่อเปนเครื่องมือในการสรางความการสรางความศรทั ธาและพลงั ความ
เชอื่ ในพ้ืนท่พี ิธีกรรมมคี วามศกั ดิ์สิทธ์ิขน้ึ ชมุ ชนบา นหนองแหนเปน ชุมชนที่มที ัง้ กลมุ พดู
ภาษาเขมรซงึ่ ยึดถอื ประเพณีตามแบบอีสานใตและกลุม ผพู ดู ตระกูลลาวจะยดึ ถือฮตี 12
หลกั พุทธจริยธรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการวิเคราะหแ ละตคี วามจากเร่ืองราวทป่ี รากฏบนปราสาทพนมรงุ
เกดิ องคความรทู างประวัติศาสตรผ า นการถา ยทอดของมุมมองในทศั นคตทิ างศาสนาฮนิ ดแู ละพระพทุ ธ-
ศาสนา คนในชุมชนยอมรับและมคี วามคดิ เห็นรวมกัน ปราสาทพนมรุงไดแ สดงคณุ คาทางดานศลิ ปกรรม
เปนเอกลกั ษณท ่ีโดดเดนของชมุ ชนชาวบรุ ีรัมย เปน ผลงานทางภมู ปิ ญ ญาทางเชงิ ชา งชนั้ สูงท้ังในการแกะสลั
กภาพสอ่ื ความหมาย และวัฒนธรรมทางภาษาทถี่ า ยทอดอักษรที่บง บอกถงึ ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตรของชาตไิ ด
เปนสังคมทีร่ งุ เรอ่ื งทางวฒั นธรรมทางดา นศลิ ปะ รสนยิ มที่ถายทอดมาจากความเชื่อและความศรทั ธาทางศาสนา
ฮินดแู ละพระพทุ ธศาสนา เปนคณุ คา ทส่ี ําคัญย่งิ ที่ทาํ ใหผลงานศิลปกรรมเหลา นยี้ งั คงไดรบั ความสาํ คญั และชมุ ชน
ไดร กั ษาให สืบทอดใหคงอยสู ืบไป

@MCUKK.Phd.Bud http://www.mcukk.com/phdbudh/

จดุ เดนของงานวิจัย

วิถีชีวิตชุมชนไมวาจะชาวพุทธหรือชาวฮินดูก็จะมีปฏิสัมพันธกับ
ปราสาทพนมรุงซึ่งสามารถ แบงออกเปน 3 ประเด็น 1) วิถีชีวิตกับ
ปราสาทพนมรุง อารยธรรมความเชื่อ 2) วัฒนธรรมคือความงอกงามใน
การดํารงชีวิต ความงามทางภาษา 3) ประเพณีและพิธีกรรมของชุมชน
ชาวพุทธที่มีปฏิสัมพันธกับปราสาทพนมรุง คือ การบวงสรวงส่ิงศักด์ิสิทธ์ิแหง
ปราสาทพนมรุง พิธีบวงสรวงบัวแปดกลีบ พิธีบวงสรวงเจาพอปราสาททอง
ซึ่งกิจกรรมเหลาน้ีมักมีปฏิสัมพันธกับปราสาทพนมรุง ท่ีไดแสดงถึงคุณคาท่ีปรากฎ
ในแตล ะดา น ดงั น้ี 1) ดานพุทธจริยธรรม 2) ดานศิลปกรรม 3) ดานวัฒนธรรม 4) ดาน
ประเพณี ฮีต 12 และ5) ดานพิธีกรรม การปฏิสัมพันธเหลาน้ีผานพิธีกรรมไดการสะทอน
ใหเห็นถึงวัฒนธรรมและอัตลักษณของคนพ้ืนเมืองท่ีไดหยิบยกเรื่องราวทางประวัติศาสตรใน
อดีตมาถายทอดผานการแสดงในรูปแบบขบวนแหอยางสรางสรรค เปนการสรางความศรัทธาและ
พลัง ความเชื่อในพื้นที่พิธีกรรมมีความศักดิ์สิทธิ์ และยังสามารถเชื่อมโยงใหพ้ืนท่ี พิธีกรรมเปนพ้ืนท่ี
แหง ความทรงจําสะทอนใหเห็นถึงแนวคิดในการนําหลักฐานทางประวัติศาสตรมาประกอบจนกอใหเกิดมี
จารีตประเพณีปฏิบัติสืบมาจากคติความเช่ือการสรางความนาเชื่อถือและความศักดิ์สิทธิ์ของงานประเพณี
ใหสาธารณะชนไดรับรู จนกลายเปนที่นิยมแกนักทองเที่ยว ปราสาทพนมรุงมีการพัฒนาจากประเพณีทองถ่ิน
ของชาวบานสูประเพณีของรัฐท่ีมีเรื่องราวมาจากประวัติศาสตรการเปลี่ยนแปลง และการประกอบสรางขึ้นโดย
มีทง้ั แบบเกา ดัง้ เดิม แบบพฒั นาขน้ึ ใหม

วารสารที่เผยแพรข อมลู วจิ ยั ท่ีใชใ นการสืบคน

วารสารวิชาการระดับนานาชาติ International Journal of Special Education is a
SCOPUS Indexed Q 3 and web of science Indexed Journal.

https://internationaljournalofspecialeducation.com/submission/index.php/ijse/
article/view/971

@MCUKK.Phd.Bud http://www.mcukk.com/phdbudh/

หลกั สูตรพทุ ธศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน
เลขที่ 30 หมทู ี่ 1 ถนนขอนแกน -นํา้ พอง ตําบลโคกสี
อาํ เภอเมอื งขอนแกน จังหวดั ขอนแกน


Click to View FlipBook Version