The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

EP4 แนวคิดหลักการ คุณธรรมจริยธรรม แม่บท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

EP4 แนวคิดหลักการ คุณธรรมจริยธรรม แม่บทในทั

EP4 แนวคิดหลักการ คุณธรรมจริยธรรม แม่บท

Keywords: EP4 แนวคิดหลักการ คุณธรรมจริยธรรม แม่บทในทั

แนวคดิ หลักการ คุณธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทัศนะของ

เพลโต Plato (Five Cardinal Vintues)
ยดู าย/คริสต์ (บัญญัติ ๑๐ ประการ)
อิสลาม (หลกั ปฏิบตั ิ ๕ ศรัทธา ๖)

I.Kant/G.E.Moore (Teleological and Deontological Theories of Ethics)

1

พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

- อาจารยห์ ลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศึกษา
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
- เลขานุการหลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
- กรรมการบริหารงานบัณฑิตศึกษา มจร.วิทยาเขตขอนแก่น

- นกั ธรรมชั้นเอก

- ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรบัณฑติ (พธ.บ.) พระพุทธศาสนา มจร.วิทยาเขตขอนแกน่
- ประกาศนยี บัตรบัณฑติ วิชาชพี ครู (ป.บัณฑิต) วิชาชพี ครู มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
- ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตร์มหาบณั ฑิต (ศษ.ม.) การบริหารการศกึ ษา

ม.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
- ปริญญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ (พธ.ม.) พระพุทธศาสนา มจร.วิทยาเขตขอนแกน่
- ปริญญาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) การบริหารการศกึ ษา ม.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวโํ ส, ดร.

เอกสารประกอบการบรรยาย ชดุ ที่ ๔

เร่ือง แนวคดิ หลักการ คุณธรรมจริยธรรม แม่บทในทศั นะ
ภายใต้วชิ า คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ (รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖)
อาจารย์ผบู้ รรยาย (Morality and Professional Ethics)
ภาคการศึกษา พระครูปลัดบุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.
หลักสตู ร [email protected]
สถานท่ี ที่ ๒/๒๕๖๔
ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยยัั มมหหาาจจฬุฬุ าาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ิทยยาาลลยั ยั ววทิ ทิ ยยาาเขเขตตขขออนนแกแกน่ ่น พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ โํ ส, ดร.

หวั ขอ้ บรรยาย

- เพลโต Plato (Five Cardinal Vintues)
- ยูดาย/คริสต์ (บัญญตั ิ ๑๐ ประการ)
- อิสลาม (หลกั ปฏิบตั ิ ๕ ศรัทธา ๖)
- I.Kant/G.E.Moore (Teleological and Deontological Theories of Ethics)

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยยัั มมหหาาจจฬุฬุ าาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ทิ ยยาาลลยั ยั ววทิ ทิ ยยาาเขเขตตขขออนนแกแกน่ ่น พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวโํ ส, ดร.

รายวิชา คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหสั วิชา ๖๑๐ ๒๐๖

สอนโดย พระครปู ลดั บุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

แนวคิดหลักการ คุณธรรมจริยธรรม แม่บทในทัศนะของ

Plato (Five Cardinal Vintues)
เพลโต ( Plato) กล่าวว่า คณุ ธรรม คอื การปฏบิ ัตทิ ่ดี ตี ามหน้าทขี องวิญญาณ และ

คุณธรรมไมส่ ารถเกิดขน้ึ ไดโ้ ดยบงั เอิญ เพราะมนษุ ย์จะต้องรวู้ ่าเขากําลังทําอะไร เพอ่ื อะไร และทํา

อยา่ งไร คณุ ธรรมจงึ เกิดข้ึนจากความรู้ ไม่ใช่ความรู้ทฤษฏี แต่เปน็ ความรทู้ มี่ าจากการปฏบิ ัติจริง

คณุ ธรรมตามแนวคดิ ของเพลโต มี ๔ ประการ คือ ประมาณ (Temperance)

๑ ๒ปญั ญาหรือความรู้ (Wisdom)
๓ ๔กล้าหาญ (Courage)
ยตุ ิธรรม Justice

หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา 5

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

สอนโดย พระครูปลดั บญุ ช่วย โชติวโํ ส,ดร.

Plato (Five Cardinal Vintues)

ปญั ญาหรือความรู้

๐๑ การหยง่ั รูว้ า่ อะไรถูก อะไรผดิ อะไรดี อะไรไม่ดี อะไรควร
ประพฤตหิ รือไมค่ วรประพฤติ
ประมาณ

๐๒ การรจู้ กั ควบคมุ ตวั เองให้อยใู่ นขอบเขตของจดุ มุ่งหมายชีวิต
มคี วามรบั ผิดชอบ รจู้ ักบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง
กล้าหาญ

๐๓ กล้าเส่ียงต่อความยากลาบาก อนั ตราย เพอ่ื อุดมการณข์ อง
ตนเอง หรอื ดว้ ยความมัน่ ใจวา่ ได้กระทาดที ่สี ุดแลว้
ยุตธิ รรม

๐๔ การให้แก่ทกุ คนอยา่ งเหมาะสม เช่น การใหแ้ ก่ตนเอง ครอบครัว มติ รสหาย ผ้บู ังคับบญั ชา
ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา อยา่ งมเี หตผุ ลอนั ควร

หลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา 6

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

รายวิชา คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

สอนโดย พระครูปลดั บุญช่วย โชตวิ โํ ส,ดร.

แนวคดิ หลกั การ คณุ ธรรมจริยธรรม แมบ่ ทในทัศนะของ

ยดู าย/คริสต์ (บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ)

ศาสนายดู าห์ เปน็ ต้นกาเนิดของกระแสธารแห่งความเชอ่ื ทางศาสนาท่ี
ย่ิงใหญข่ องโลก ๒ ศาสนา คอื ศาสนาครสิ ต์ และ ศาสนาอสิ ลาม ซง่ึ เป็น
ศาสนาท่เี คารพศรทั ธาสงู สุดในพระองคเ์ ดียวกัน

คณุ ธรรมตามหลักการอบรมแบบพระคริสต์

การยดึ แบบอยา่ งทีด่ งี ามที่พระเยซูเจ้าทรงกระทาโดยมาจากบท
พระวรสาร บุคคลในพระคัมภรี ์ ที่พระเยซเู จา้ เองทรงสอนใหร้ กั เพอ่ื น
มนุษย์ เหมอื นท่ีพระเจ้าทรงรกั เรา

หลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา 7

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คุณธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชพี รหัสวิชา ๖๑๐ ๒๐๖

สอนโดย พระครูปลดั บุญช่วย โชตวิ โํ ส,ดร.

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจริยธรรม แมบ่ ทในทัศนะของ

ยดู าย/คริสต์ (บญั ญัติ ๑๐ ประการ)

จรยิ ธรรมตามแนวความเช่ือของศาสนาครสิ ตน์ กิ ายโรมนั คาทอลิก มีความเช่อื ใน
ความจรงิ หน่ึงเดียว คอื สง่ิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิมพี ระเจ้าหนงึ่ เดยี วความเชอ่ื หรอื พระสจั ธรรม คอื ยึดมัน่
ในพระเจ้าองคเ์ ดียว ว่าทรงเปน็ จติ ลว้ นดารงอย่ใู นนริ ันดรภาพ ทรงสรา้ งสรรพส่ิงทัง้ ที่เห็นได้
และมอิ าจแลเห็นไดพ้ ระเจา้ องค์เดียวนั้นประกอบด้วย พระบดิ า พระบุตรและพระจติ เรยี กวา่
พระตรเี อกภาพ หลกั สูงสุดท่ีเปน็ เกณฑ์ค่านิยมทางศาสนาอยทู่ ค่ี วามรัก รู้ท่จี ะรักการมชี ีวิต
อยู่ถ้าไมม่ คี วามรักก็จะ ไม่มีค่าอะไรผู้ทอ่ี ยกู่ ับความรัก คือผูท้ ี่อยู่กบั พระเจา้ ซ่งึ สง่ิ ท่เี ปน็
เคร่ืองมือนาพระหรรษทานจาก พระเจา้ ช่วยเราใหไ้ ด้พบกบความรอดพ้น ดาเนินชวี ติ อยา่ งมี
คุณธรรมจรยิ ธรรม และช่วยสร้าง ความสัมพันธ์ระหวา่ งมนษุ ยก์ ับพระเจา้ ไดน้ ้ัน มอี ยูห่ ลาย
ประการดว้ ยกนั

หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา 8

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

รายวิชา คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลักการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลัดบญุ ช่วย โชติวํโส,ดร.

ยดู าย/คริสต์ (บัญญัติ ๑๐ ประการ)

พระบัญญตั ิพระเป็นเจ้าในศาสนาคาทอลกิ นน้ั มที ้ังหมด ๑๐ ประการ

พระบัญญตั ิทัง้ ๑๐ ประการนีเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตเป็นเครอ่ื งมือชว่ ยให้มนษุ ย์ ได้สรา้ ง
ความสัมพนั ธ์กบั พระเจา้ และพระบญั ญตั ินเ้ี องก็เป็นสง่ิ ทีช่ ว่ ยอบรมกลอ่ มเกลาชีวิตคริสตชนให้

ดาเนินชวี ิตอย่างมีคณุ ธรรมจริยธรรม

๑. จงนมัสการองคพ์ ระผู้เปน็ เจ้าพระเจา้ พระองคเ์ ดียวของเจ้า ๖. อย่าผิดประเวณี

๒. อยา่ ออกพระนามพระเจา้ โดยไม่สมเหตุ ๗. อยา่ ลกั ขโมย

๓. อยา่ ลืมฉลองวนั พระเจา้ เปน็ วันศักดิส์ ทิ ธ์ิ ๘. อยา่ พูดเทจ็ ใสร่ ้ายผอู้ ่ืน

๔. จงนับถอื บิดามารดา ๙. อยา่ ปลงใจผิดประเวณี

๕. อย่าฆ่าคน ๑๐. อย่ามักได้ทรัพย์สนิ ของผูอ้ ื่น

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา 9

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คุณธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหสั วิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แยนดู วาคยดิ /หคลรักิส่กตาร(บคุณัญธญรรตั มิ จ๑ร๐ิยธปรรระมก่แามรบ)ทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลัดบุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

พระบญั ญัติทัง้ ๑๐ ประการน้ีพระเจา้ ไดท้ รงประกาศ ระหว่างการประจักษใ์ ห้โมเสสบน
ภเู ขาซีนายเปน็ การทาพนั ธะสัญญาระหวา่ งพระเจ้ากับมนษุ ย์ โดยผ่านทางโมเสสเปน็ ตวั แทนของ
มนษุ ยท์ กุ คน

ตอ่ มาภายหลงั พระเยซูครสิ ตเจ้าทรงเป็นผ้ทู าให้พระ บัญญตั ติ า่ งๆ น้ันสมบรู ณ์ซงึ่ พระ
บญั ญตั ทิ ง้ั ๑๐ ประการน้ัน สามารถสรุปออกมาได้ ๒ ประการคอื

ทา่ นจะตอ้ งรักองค์พระผู้เป็นเจา้ พระเจ้าของท่านสุดจิตสดุ ใจ สุดวญิ ญาณ สดุ สติปัญญาของทา่ น

ท่านตอ้ งรักเพือ่ นมนษุ ย์เหมอื นรักตนเอง”

หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา 10
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวิชา คณุ ธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชพี รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แยนดู วาคยิด/หคลรักิส่กตาร(บคณุัญธญรรตั มิ จ๑ร๐ิยธปรรระมก่แามรบ)ทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลัดบุญช่วย โชติวํโส,ดร.

พธิ ีกรรมทางศาสนา ประกอบด้วยศีลศกั ดิส์ ิทธ์ิ ๗ ประการ คือ
๑ ศลี ล้างบาป
๒ ศีลอภยั บาป
๓ ศลี มหาสนิท
๔ ศลี กาลงั
๕ ศลี บรรพชา
๖ ศีลสมรส

๗ ศีลเจิมผ้ปู ่วย

หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศึกษา 11

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชพี รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

สอนโดย พระครปู ลัดบุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจริยธรรม
แมบ่ ทในทศั นะของ

อสิ ลาม (หลักปฏิบตั ิ ๕ ศรัทธา ๖)

Enter

หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา สัญลกั ษณศ์ าสนาอสิ ลาม

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ 12

รายวิชา คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

สอนโดย พระครูปลัดบุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

แนวคดิ หลกั การ คุณธรรมจริยธรรม แม่บทในทัศนะของ
อสิ ลาม (หลกั ปฏิบตั ิ ๕ ศรทั ธา ๖)

ศาสดาของศาสนาอสิ ลาม คือ ท่านนบมี ุฮามดั
นบี หมายถึง ผแู้ ทนของพระอลั เลาะห์
มุฮามดั หมายถึง ผไู้ ดร้ บั การสรรเสรญิ
ท่านนบีมฮุ ามดั เป็นชาวอาหรบั เผา่ คูเรช เกิดเมือ่ พ.ศ.๑๑๑๓

ท่านนบมี ุฮามดั แต่งงานกบั นางคอดยี ะ นางคอดียะเปน็ กาลงั สาคัญในการประกาศ
ศาสนาของท่านนบีมุฮามัด ท่านไดพ้ ดู ถงึ ภรรยาของทา่ นเสมอวา่ “เธอเช่อื ฉนั ในขณะท่ี
ไม่มใี ครเช่อื เธอเป็นมิตรเป็นเพื่อนคใู่ จในขณะท่ีคนทั้งโลกเปน็ ศตั รูต่อฉัน”

คัมภีรส์ าํ คญั ของศาสนาอิสลาม คือ คัมภีร์อัล-กรุ อาน (Al-Quran)

หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา 13
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คุณธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลกั การ คุณธรรมจริยธรรม แมบ่ ทในทัศนะของ สอนโดย พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชติวํโส,ดร.

อสิ ลาม (หลกั ปฏบิ ตั ิ ๕ ศรทั ธา ๖)

หลักปฏบิ ตั ิ ๕ หลกั ปฏบิ ัติ ๕ หรือหน้าทใ่ี นศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์ (Ibadat) มุสลมิ มหี ลักปฏิบัติ ๕ ประการ คือ

๑ การปฏญิ าณตน
๒ การละหมาด
๓ การถือศีลอด
๔ การบริจาคซะกาด
๕ การประกอบพิธฮี จั ญ์

หลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา 14
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลักการ คุณธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลัดบญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

อิสลาม (หลักปฏบิ ตั ิ ๕ ศรัทธา ๖)

หลกั ปฏบิ ัติ ๕ ข้อท่ี ๑ การปฏญิ าณตน

หวั ใจของการเปน็ มุสลิม คอื การกล่าว
คําปฏญิ าณวา่ “ไมม่ พี ระเจ้าอืน่ ใด นอกจากอลั
เลาะห์ และมฮุ ัมมัดคือศาสนทตู แหง่ พระองค์”

หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา 15
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทัศนะของ สอนโดย พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

อสิ ลาม (หลกั ปฏิบัติ ๕ ศรทั ธา ๖)

หลักปฏบิ ัติ ๕ ข้อที่ ๒ การละหมาด เมื่อได้เวลาทาละหมาด มุสลิมจะละหมาดท่ี
ใดก็ได้ไม่ จาเป็นต้องเป็นสุเหร่าหรือมัสยิด แต่ต้อง
คือ การนมัสการพระเจ้า การแสดงความเคารพ เป็นท่สี ะอาด ในเวลาทาละหมาดมุสลิมท่ัวโลกจะหัน
ต่อพระเจ้า เป็นการปฏิบัติเพ่ือแสดงความจงรักภักดีต่อ หน้าไปยัง ทิศเดียวกันคือท่ีตั้งของกะบะฮ์ซ่ึงเรียกว่า

พระเจา้ การสารวมจิตระลึกถึงพระเจ้า การละหมาดเป็น กิบลัด
การขัดเกลาจิตใหส้ ะอาดอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ยังเป็น
บุคคลที่ละหมาดได้ต้องเป็นบุคคลที่บรรลุ
การสร้างพลงั ใหเ้ ขม้ แข็ง
นิติภาวะทางร่างกายแล้ว คือหญิงต้ังแต่เริ่มมี

จะกระทาละหมาดวันละ ๕ เวลาคือเวลาย่ารุ่ง ประจาเดือน ชายเร่ิมต้ังแต่เป็นหนุ่ม มุสลิมจะต้อง

เวลากลางวนั เวลาเยน็ เวลาพลบค่า เวลากลางคืน หมาดทุกวันจนกว่าจะตาย แต่มีข้อยกเว้นสาหรับ

หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา หญงิ ขณะมีประจาเดือน และมเี ลือดออกหลังคลอด
16
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหสั วิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจริยธรรม ่แมบทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

อิสลาม (หลักปฏิบัติ ๕ ศรัทธา ๖)

หลกั ปฏบิ ัติ ๕ ขอ้ ที่ ๓ การถอื ศีลอด

การละเวน้ จากการกิน การดมื่ และเพศสัมพันธ์ ตลอดถงึ การรักษา อวยั วะทุกสว่ นใหพ้ ้นจากการทําความชั่ว ท้ังด้าน
กาย วาจา และใจต้ังแตพ่ ระอาทิตยข์ ้นึ จนพระอาทติ ยต์ ก ในเดือนรอมฎอน เปน็ เวลา ๑ เดือน มุสลิมทบ่ี รรลุนิตภิ าวะ
ทางร่างกายท่กี ล่าวไว้ในเร่อื งการละหมาดแล้ว ทกุ คนตอ้ งถอื ศีลอด ยกเว้นสาํ หรับบุคคลบางประเภทต่อไปน้ี

* คนปว่ ยหรอื คนสุขภาพไมด่ ี
* หญงิ มคี รรภท์ เ่ี กรงวา่ จะเป็นอนั ตรายแก่บตุ ร
* บคุ คลท่ีทาํ งานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม
* บคุ คลทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งการเดนิ ทาง
* หญงิ ขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด

หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา 17

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวิชา คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหัสวิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลกั การ คุณธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทัศนะของ สอนโดย พระครูปลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

อิสลาม (หลักปฏิบัติ ๕ ศรทั ธา ๖)

หลักปฏิบัติ ๕ ข้อที่ ๔ การบริจาคซะกาต

การบริจาคซะกาด หมายถึง การจ่ายทานบังคับจากผู้มีทรัพย์สินครบรอบหนึ่งปีแก่คนท่ีมี
สิทธ์ิรับบริจาคตามอัตรากาหนดซึ่ง ข้ึนอยู่กับประเภทของทรัพย์สินเป็นการขัดเกลาจิตใจผู้บริจาค
ให้สะอาดบริสุทธิ์ ลดความตระหน่ีเหนียวแน่นความเห็นแก่ตัว ให้มีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ เป็นการ
เตือนการสอนใหม้ นุษยไ์ มต่ กเปน็ ทาสของวัตถุ ไม่เกิดความละโมบ เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นใน
สังคมเป็นการเสริมสร้างหลักประกันของสังคมให้ม่ันคงข้ึน ส่ิงที่ต้องจ่ายออกเป็นซะกาต ได้แก่
ทองคา เงนิ แทง่ และเงนิ ปศุสัตว์ พชื ผล รายไดจ้ ากธรุ กิจการคา้ ขุมทรพั ย์

หลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา 18

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

รายวิชา คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชพี รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจรยิ ธรรม แมบ่ ทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

อิสลาม (หลกั ปฏิบัติ ๕ ศรทั ธา ๖)

หลักปฏิบตั ิ ๕ข้อท่ี ๕ การประกอบพธิ ฮี ัจญ์

การประกอบพิธีฮัจญ์ คือ การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอารเบีย

คาวา่ “ฮัจญ์” หมายถึง การเดินทางไปยงั จดุ มุ่งหมายเฉพาะอันหน่ึงในแง่กฎหมายอิสลาม คาน้ีหมายความว่า

ออกเดนิ ทางไปกะบะห์หรอื บยั ดุลเลาฮ์และประกอบพิธีฮจั ญ์
พธิ ีฮัจญ์เปน็ ศาสนกิจข้อท่ี ๕ ของมุสลิม เปน็ ข้อเดียวในหลกั ปฏิบัติ ๕ ประการที่ใหป้ ฏบิ ตั ิเฉพาะ

บคุ คลที่มคี วามสามารถเทา่ นัน้ บุคคลท่มี คี วามสามารถในการไปประกอบพธิ ีฮัจญ์หมายถงึ มสุ ลมิ ทม่ี สี ุขภาพ
สมบรู ณ์แข็งแรงท้ังร่างกายและจติ ใจ และเสน้ ทางที่จะเดินไปจะตอ้ งปลอดภยั

หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา 19

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คณุ ธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหสั วิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจริยธรรม ่แมบทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

อิสลาม (หลักปฏิบตั ิ ๕ ศรทั ธา ๖)

หลกั ศรัทธา ๖

หรอื ความเช่ือในศาสนา เรียกว่า อีมาน (Iman)

๑ ศรัทธาตอ่ อลั เลาะห์

๒ ศรทั ธาต่อบรรดามลาอกิ ะหห์ รือเทวทูต

๓ ศรัทธาต่อบรรดาพระคัมภรี ์

๔ ศรทั ธาต่อบรรดารอซลู หรอื ศาสนทูตด

๕ ศรทั ธาตอ่ วันสิ้นโลก

๖ ศรทั ธาต่อกฎกาํ หนดสภาวการณ์

หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา 20

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

รายวิชา คณุ ธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหัสวิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

หลกั ศรัทธา ๖อิสลาม (หลกั ปฏิบัติ ๕ ศรัทธา ๖)
๑ ศรทั ธาต่ออัลเลาะห์

มสุ ลิมจะต้องเชื่อมนั่ วา่ พระเจา้ มจี ริง พระอลั เลาะหเ์ ป็นพระเจ้าองค์เดยี วและเป็นผูท้ รงคุณลักษณะ ดงั นี้

* ทรงเปน็ ผู้สรา้ งทุกส่ิงทุกอย่างในเอกภาพ

* ทรงเปน็ ผอู้ ยตู่ ลอดเวลา

* ทรงดารงอยูไ่ ม่มีใครสรา้ งพระองค์

* ทรงสรรพเดช สัพพัญญู

* ทรงความยตุ ธิ รรม ทรงพระเมตตา

* ทรงเป็นผูพ้ ิพากษาในการตดั สินชวี ิตมนษุ ย์ในวันสดุ ทา้ ยที่เรยี กว่าวันพิพากษา

หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา 21

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คุณธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหสั วิชา ๒๑๐๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจรยิ ธรรม แมบ่ ทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลดั บุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

หลักศรัทธา ๖อสิ ลาม (หลักปฏิบตั ิ ๕ ศรทั ธา ๖)
๒ ศรทั ธาต่อบรรดามลาอิกะหห์ รือเทวทตู

บรรดามลาอิกะห์มีจานวนมากมายสุดจะประมาณไม่ได้ทาหน้าที่สนองพระบัญชาอัลเลาะห์แตกต่างกัน

คุณสมบัตขิ องบรรดามลาอกิ ะห์ ดงั น้ี

* เป็นสง่ิ ที่อลั เลาะห์ทรงสร้างขึน้ เพ่อื ทาหน้าทีต่ า่ งๆ ตามที่พระองค์กาหนด

* ไมต่ อ้ งการหลับนอน * จาแลงเปน็ รูปตา่ งๆ ได้

* ไมม่ ีบดิ ามารดา บุตร ภรรยา * ปฏบิ ตั แิ ตค่ ณุ ธรรมล้วนๆ

* ไม่ละเมดิ ฝ่าฝืนบญั ชาของพระอัลเลาะหเ์ ลย * ไมก่ ิน ดืม่ ขับถ่าย ไม่มีกิเลสตณั หา

หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา 22

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่

รายวิชา คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลักการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลัดบญุ ช่วย โชติวํโส,ดร.

หลกั ศรัทธา ๖อสิ ลาม (หลักปฏบิ ัติ ๕ ศรัทธา ๖)
๓ ศรัทธาตอ่ บรรดาพระคัมภีร์

คมั ภีรจ์ านวน ๑๐๔ เล่มที่อลั เลาะห์ได้
ประทานแกเ่ หลา่ ศาสนทูตของพระองค์
เพอ่ื นามาประกาศเผยแพร่แก่ปวง
ประชาชาติให้หนั หา่ งจากความมืดมน ไปสู่
ทางอันสวา่ งไสวและเท่ียงตรง

หลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศึกษา 23

มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คุณธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชีพ รหสั วชิ า ๖๑๐๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจริยธรรม แมบ่ ทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลดั บุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

หลกั ศรทั ธา ๖อิสลาม (หลักปฏบิ ตั ิ ๕ ศรัทธา ๖)
๔ ศรัทธาตอ่ บรรดารอซลู หรือศาสนทตู

มุสลิมจะต้อง ศรทั ธาว่า พระเจา้ ทรงเลือกบุคคลในหมู่
มนษุ ยชาตใิ ห้เป็นผู้สอ่ื สาร นาบทบัญญัตขิ องพระองค์
มาส่ังสอนแกม่ วลมนษุ ย์ทุกยคุ ทกุ สมยั ศาสน
ทูตเป็นผูท้ ่ีมีศักดศิ์ รเี หนอื กวา่ มนษุ ย์ทงั้ หลาย

หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา 24

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ่แมบทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

หลักศรทั ธา ๖อิสลาม (หลักปฏบิ ัติ ๕ ศรทั ธา ๖)
๕ ศรัทธาตอ่ วนั ส้นิ โลก

มุสลิมต้องศรัทธาว่าในโลกน้ีเป็นโลกที่ไม่จี
รังยง่ั ยืน จะต้องมีวันแตกสลาย เมื่อถึงวัน
นั้นมนุษย์ท้ังหมดจะต้องไปรวม ณ ที่
ของอัลเลาะห์ เพื่อการสอบสวนและการ
ตอบแทน

หลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา 25

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหัสวิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลกั การ คณุ ธรรมจริยธรรม ่แมบทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชติวํโส,ดร.

หลกั ศรทั ธา ๖อิสลาม (หลักปฏบิ ัติ ๕ ศรทั ธา ๖)
๖ ศรทั ธาตอ่ กฎกําหนดสภาวการณ์

กฎกําหนดสภาวการณ์เปน็ กฎทีค่ วบคมุ เอกภพ
หรือธรรมชาติท้งั หมด ท้ังน้ีเพราะเมื่อพระเจ้า
ได้สรา้ งส่งิ ตา่ งๆ ขน้ึ แล้ว กท็ รงสรา้ งกฏท่จี ะ
ควบคุมการทาํ งานของสิง่ เหลา่ นน้ั ให้ดําเนินไป
อยา่ งเปน็ ระเบยี บจนกวา่ พระองค์จะทรง
เปล่ยี นแปลงใหเ้ ปน็ อย่างอน่ื

หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา 26

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

รายวิชา คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชพี รหัสวชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลักการ คุณธรรมจรยิ ธรรม แมบ่ ทในทศั นะของ สอนโดย พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวํโส,ดร.

ImmaI.nKaunet/Gl.EK.Maonotre (Teleological and Deontological Theories of Ethics)
คา้ นท์ (Immanuel Kant) เปน็ นักปรัชญาทม่ี แี นวความคิดแบบปรากฏการณ์นยิ มว่า ส่งิ ทีเ่ ราต้องผ่าน

เครื่องรับรู้ของเราคอื มนัสหรือจติ ซ่ึงเป็นเคร่อื งรับรู้สิง่ ภายนอก มนัสเป็นกลไกในการปรงุ แต่งหรือแปรสภาพความเปน็

จริงทผ่ี า่ นเข้ามาเพอ่ื ใหเ้ ราเขา้ ใจได้ ดังน้ี

ความเป็นจรงิ  อวกาศกาล  ปรากฏการณ์  กลไกการรบั รู้ของมนสั ความรู้

สาหรบั ค้านทแ์ ล้ว มาตรการตดั สินความจริงกค็ อื โครงสรา้ งของมนสั ซง่ึ เป็นสง่ิ ทม่ี นษุ ย์มีเหมอื นกันทกุ คน

ถงึ แมว้ ่าโกรงสรา้ งของมนสั จะมลี ักษณะเป็นอัตวสิ ยั เพราะอย่ใู นตวั มนุษย์แต่ละคน แตก่ ม็ ีความแนน่ อนตายตวั สว่ น

มาตรการตัดสินทางศีลธรรมนัน้ เปน็ การเข้าสัมผัสกับความจรงิ โดยตรงไมต่ อ้ งผ่านกลไกของมนัส ดงั นั้นมนัสจงึ มี

สมรรถภาพ ๒ อยา่ ง คือ

๑) เหตผุ ลบรสิ ทุ ธ์ิ (pure reason) ต้องผา่ นกลไกของมนสั ซึ่งได้แก่ความรูท้ างคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์

หลกั สูตรครศุ าสต๒รม)หเาหบตัณุผฑลติ ปฏสิบาขตั าิ ว(pิชrาaพcุทtธicบaรlหิ าreรกaาsรoศnกึ )ษาไมต่ อ้ งผ่านกลไกของมนัส คือ รโู้ ดยตรง เช่น ความรทู้ างศาสนา และ
27
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่

รายวชิ า คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหสั วชิ า ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจรยิ ธรรม แม่บทในทศั นะของ สอนโดย พระครปู ลัดบญุ ช่วย โชตวิ โํ ส,ดร.

I.Kant/G.E.Moore (Teleological and Deontological Theories of Ethics)

George Edward Moore

มวั ร์ (George Edward Moore) เป็นนกั ปรัชญาชาวองั กฤษผู้กอ่ ตั้งลัทธิ สัจนยิ มใหมม่ ีทัศนะ
ว่า มนุษยส์ ามารถรบั รสู้ ่ิงตา่ งๆ ไดโ้ ดยตรง เรารบั รอู้ ยา่ งไรความจรงิ ก็เป็นอยา่ งนน้ั ไมม่ ีความแตกต่าง
ระหวา่ งสภาพความเป็นจรงิ กับสภาพท่ปี รากฏ เรารวู้ ัตถุไดโ้ ดยอาศัยสภาวะของจติ โดยท่ีวตั ถุนัน้ เปน็
ความรู้ของเราโดยตรง จิตของเราเปรียบเสมือนแสงทสี่ อ่ งไปยังวตั ถแุ ละรบั ร้วู ่ามนั เปน็ อยา่ งไร เรารับรู้
วัตถุน้นั และรบั รู้วา่ มนั เปน็ อย่างไร

หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา 28

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

รายวชิ า คุณธรรมจรยิ ธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหสั วิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลกั การ คุณธรรมจริยธรรม แม่บทในทัศนะของ สอนโดย พระครูปลดั บุญชว่ ย โชติวํโส,ดร.

I.Kant/G.E.Moore (Teleological and Deontological Theories of Ethics)

ทฤษฎีจรยิ ศาสตร์เชงิ หนา้ ท่ีของ อิมมานเู อล คานต์ (Immanuel Kant)

ทฤษฎจี รยิ ศาสตร์เชงิ หน้าที่ (Deontological Theories of Ethics)

หมายถึง การกระทาทคี่ วรกระทา มลี กั ษณะจาเป็น หรอื กระทาโดยปราศจาก

เงื่อนไข คานต์อธิบายกฎศีลธรรมในทฤษฎจี ริยศาสตรข์ องเขาโดยใชม้ โนทศั น์ “หนา้ ที่” เปน็

แกนหลกั เห็นได้จากการทเ่ี ขามกั จะกลา่ วถงึ กฎศลี ธรรมโดยใชค้ าวา่ “หนา้ ที่” (duty) แทน

เสมอ

คานต์กล่าวว่า “ฉะนนั้ หลักขอ้ แรกของ ศลี ธรรมก็คือการกระทาทจ่ี ะมคี ่าทางศีลธรรม

จะต้องเกิดจากหน้าที่ หลกั ข้อสองกค็ ือค่าทางศลี ธรรมของการกระทาท่เี กดิ จากหนา้ ท่ีน้นั มไิ ด้

หลักสตู รคอรยศุ ูท่าสี่ ตจรุดมหหามบาณั ยฑทติ ตี่ อ้สางขกาาวริชจาพะุทบธรบรรลิหุาแรกตาอ่รศยึก่ใู ษนาคติ (maxim) ทีก่ ่อให้เกดิ การกระทานน้ั ” 29

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

รายวิชา คุณธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวิชาชพี รหสั วชิ า ๒๑๐๒๐๖

แนวคิดหลกั การ คุณธรรมจริยธรรม แมบ่ ทในทัศนะของ สอนโดย พระครูปลัดบุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

I.Kant/G.E.Moore (Teleological and Deontological Theories of Ethics)

ทฤษฎีจริยศาสตรเ์ ชิงหนา้ ทีข่ อง อิมมานูเอล คานต์ (Immanuel Kant)

คานต์เห็นวา่ การกระทาทม่ี คี ุณค่าทางจรยิ ธรรมคอื การกระทาตามกฎคาสงั่ แบบเด็ดขาดซึ่งมลี กั ษณะ

เป็นกฎสัมบรู ณ์ (Absolute Law) ตวั อยา่ งเชน่ อยา่ ฆา่ ผ้บู รสิ ุทธิ์ อย่ากล่าวเทจ็ คานต์กาหนดหลักการ

ทางศลี ธรรมในรูปแบบของกฎคาส่งั เดด็ ขาดไว้ ๒ ข้อหลกั คือ

(ก) จงกระทาในส่ิงที่สามารถทาให้เป็นกฎสากลได้ เขา (ข) จงปฏิบัติต่อผู้อ่ืนในฐานะท่ีเขาเป็นจุดหมายในตัวเอง และไม่ใช่

อธิบายว่าการกระทาท่ีถูกต้องคือการกระทาตามคติ เปน็ วิถไี ปสู่เป้าหมายใดๆ กฎคาส่ังในข้อแรกกาหนดหลักการพ้ืนฐาน
(maxim) ที่ผู้กระทาสามารถทาให้เป็นกฎสากลได้ ของจริยศาสตรข์ องคานต์ ส่วนกฎขอ้ ที่สองน้เี ปน็ หลกั การในเชิงปฏิบัติ
(universalizable) น่ันคือ เป็นการกระทาที่ทุกคน ท่ีกาหนดให้ปฏิบัติต่อมนุษย์ผู้ อ่ืนในฐานะมนุษย์ที่มีเกียรติศักดิ์ศรี
สามารถปรารถนาอยา่ งมีเหตผุ ลให้ผ้อู น่ื เลอื ก กระทาได้ และมีคุณค่าในตัวเอง ต่างจากวัตถุสิ่งของต่างๆ และไม่ปฏิบัติต่อ
มนุษยใ์ นฐานะเปน็ เครอ่ื งมือไปสเู่ ปา้ หมายใดๆ การปฏิบัตติ อ่ มนุษยใ์ น
หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา
ฐานะผู้ที่มีคุณค่าในตัวเองในที่น้ีรวมถึงการที่ตัว ผู้กระทาเอ3ง0มีหน้าท่ี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

รายวิชา คณุ ธรรมจริยธรรมละจรรยาบรรณวชิ าชีพ รหสั วิชา ๖๑๐ ๒๐๖

แนวคดิ หลักการ คณุ ธรรมจริยธรรม แมบ่ ทในทัศนะของ สอนโดย พระครปู ลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

I.Kant/G.E.Moore (Teleological and Deontological Theories of Ethics)

ทฤษฎจี ริยศาสตร์เชิงอดุ มคติของ จ.ี อ.ี มัวร์ (G. E. Moore)

ทฤษฎจี ริยศาสตร์เชิงอดุ มคติ(Teleology Theories of Ethics)

จรยิ ศาสตรเ์ กีย่ วกับจุดหมายปลายทาง (Teleological Ethics) จริยศาสตร์ชนิดนี้เนน้ จุดหมาย

ปลายทางหรอื อดุ มคติ (ความดสี งู สุด) อาทเิ ช่น ความสขุ , ความหลดุ พน้ , ปญั ญา

ทฤษฎีหนา้ ทแ่ี บบทใี่ ช้ทฤษฎีคุณคา่ แบบพหุนิยม คือ “ประโยชน์นิยมเชิงอุดมคติ” (ideal

utilitarianism) ของ จี. อี. มวั ร์ (G. E. Moore)
ทฤษฎีน้ีถือว่า ผลของการกระทาท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่คนจานวนมากทีส่ ุด เท่าทจ่ี ะกระทาได้ เป็น

การกระทาทถ่ี ูกต้อง ในทาง ตรงกนั ข้าม ผลของการกระทาที่กอ่ ให้เกดิ โทษแกค่ นจานวนมาก จะเป็นการกระทา

ทไ่ี ม่ ถกู ตอ้ ง

หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา 31

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

จบการบรรยาย

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยัยั มมหหาาจจฬุุฬาาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ทิ ยยาาลลยั ยั ววทิ ทิ ยยาาเขเขตตขขออนนแกแกน่ น่ พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ โํ ส, ดร.


Click to View FlipBook Version