The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

EP2 คุณธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

EP2 คุณธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศึกษา

EP2 คุณธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศึกษา

Keywords: EP2 คุณธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศึกษา

คุณธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศึกษา

Work Ethics with emphasis on good covey's Seven Habits, Gandhi's seven sins

ทศพิธราชธรรม
โพชฌงค์ 7

MCUKK

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

พระครปู ลดั บุญช่วย โชติวํโส,ดร.

- อาจารย์หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต (ค.ม.) สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่
- เลขานุการหลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
- กรรมการบรหิ ารงานบณั ฑิตศกึ ษา มจร.วิทยาเขตขอนแกน่

- นักธรรมช้ันเอก

- ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรบณั ฑติ (พธ.บ.) พระพทุ ธศาสนา มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
- ประกาศนยี บัตรบณั ฑิต วชิ าชีพครู (ป.บณั ฑติ ) วิชาชีพครู มจร.วทิ ยาเขตขอนแก่น
- ปรญิ ญาศึกษาศาสตรม์ หาบณั ฑติ (ศษ.ม.) การบรหิ ารการศึกษา

ม.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
- ปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบัณฑติ (พธ.ม.) พระพทุ ธศาสนา มจร.วทิ ยาเขตขอนแก่น
- ปริญญาปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต (ปร.ด.) การบรหิ ารการศกึ ษา ม.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

เอกสารประกอบการบรรยาย ชดุ ท่ี 1

เรอ่ื ง คุณธรรมจริยธรรมกบั การบริหารการศกึ ษา
ภายใต้วิชา คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี (รหัสวิชา 610 206)
(Morality and Professional Ethics)
อาจารย์ผบู้ รรยาย พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวํโส,ดร.
[email protected]
ภาคการศกึ ษา ท่ี 2/2564
หลกั สตู ร ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา
สถานที่ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยยัั มมหหาาจจฬุ ฬุ าาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ิทยยาาลลยั ยั ววทิ ิทยยาเาขเขตตขขออนนแกแนก่ ่น พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชติวํโส, ดร.

หวั ข้อบรรยาย

Work Ethics with emphasis on good covey's Seven Habits,
Gandhi's seven sins
ทศพิธราชธรรม
โพชฌงค์ 7

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยยัั มมหหาาจจฬุ ฬุ าาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ิทยยาาลลยั ัยววทิ ิทยยาเาขเขตตขขออนนแกแนก่ ่น พระครูปลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศกึ ษา

ความหมายของคณุ ธรรม

คณุ ธรรม ตรงกบั ภาษาอังกฤษ วา่ “ Morality หรอื Virtue” ซึง่ มีผู้ให้ความหมายไว้หลากหลายความหมาย เชน่
พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2543 คณุ ธรรมหมายถึง สภาพคุณงามความดี เปน็ สภาพคณุ

งามความดที างความประพฤตแิ ละจติ ใจ ซ่ึงสามารถแยกออกเปน็ 2 ความหมาย คือ

1) ความประพฤตดิ งี าม เพอื่ ประโยชน์สุขแก่ตนและสงั คม
ซง่ึ มีพน้ื ฐานมาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา ค่านยิ มทาง
วฒั นธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชีพ

2) การรู้จกั ไตรต่ รองวา่ อะไรควรทา ไม่ควรทา และอาจ
กล่าวได้วา่ คุณธรรม คอื จรยิ ธรรมแตล่ ะข้อทนี ามาปฏิบัตจิ นเป็น
นสิ ัย เช่น เป็นคนซือ่ สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีความรับผิดชอบ

มมหหาาวิทวยทิ าลยัยามลหาัยจมุฬหาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณัยรวทิายชาวเขทิตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบริหารการศกึ ษา

ความหมายของคณุ ธรรม

ประภาศรี สีหอาํ ไพ (2550,7) กล่าววา่ คุณธรรม (Moral) คือหลักธรรมจรยิ าท่สี รา้ งความรสู้ ึกผดิ ชอบชั่วดี
ในทางศลี ธรรม มีคณุ งามความดภี ายในจิตใจอยูใ่ นขน้ั สมบูรณ์จนเตม็ เป่ียมไปด้วยความสขุ ความยนิ ดี
การกระทาที่ดยี ่อมมีผลติ ผลของความดีคือความชื่นชมยกย่อง ในขณะทีก่ ระทาความชั่วย่อมนาความเจ็บปวด
มาให้ การเป็นผู้มคี ุณธรรม

พุทธทาสภกิ ขุ (2505, 3) ไดใ้ หอ้ รรถาธิบายคาวา่ คุณธรรม ไวว้ ่า คณุ หมายถึง คา่ ทม่ี ีอยูใ่ นแตล่ ะสิ่ง ซ่ึงเปน็
ท่ีตง้ั แห่งความยดึ ถอื เปน็ ไปไดท้ ั้งทางดแี ละทางร้าย คือ ไมว่ ่าจะทาใหจ้ ิตใจยินดีหรอื ยนิ ร้าย กเ็ รียกว่า “คณุ ”
ซ่ึงเปน็ ไปตามธรรมชาติของมัน ส่วนคาวา่ ธรรม มคี วามหมาย 4 อย่าง คอื 1) ธรรมะ คอื ธรรมชาติ 2) ธรรมะ
คือ กฎของธรรมชาติทีเ่ รามหี นา้ ทีต่ ้องเรียนรู้ 3) ธรรมะ คือ หนา้ ท่ีตามกฎของธรรมชาติ เรามีหนา้ ทีต่ ้องปฏิบตั ิ
4) ธรรมะ คอื ผลจากการปฏิบัตหิ น้าทน่ี ้นั เรามีหนา้ ท่ีจะต้องมี หรือใช้มันอย่างถูกต้อง

มมหหาาวทิวยทิ าลยยั ามลหาัยจมุฬหาลางกจรุฬณราาลชวงทิ กยราลณัยรวทิายชาวเขทิตขยอานลแกัย่นวทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครูปลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมกบั การบรหิ ารการศึกษา

ความหมายของคุณธรรม

ลขิ ิต ธรี เวคิน (2548, 17) ไดใ้ หค้ วามหมาย คณุ ธรรม วรี ะ บํารุงรักษ์ (2523) คณุ ธรรม หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด
หมายถึง จิตวิญญาณของปจั เจกบุคคลศาสนาและ (Mental Attitude) หรอื สภาพจติ ใจทเ่ี ปน็ กุศลคณุ ธรรมเปน็
อดุ มการณเ์ ป็นดวงวิญญาณของปัจเจกบคุ คลและสงั คมดว้ ย พืน้ ฐานของการแสดงออกเนน้ การกระทา พฤตกิ รรมหรอื กิจกรรม
ปัจเจกบุคคลต้องมีวญิ ญาณสงั คมต้องมีจติ วิญญาณ ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อตนเองและผอู้ น่ื สภาพจติ ใจทีเ่ ป็นกศุ ลที่เรยี กว่า
คณุ ธรรมของปัจเจกบคุ คลอยู่ทก่ี ารกล่อมเกลาเรยี นรู้โดย “คณุ ธรรม”น้ี เกิดข้นึ ไดเ้ พราะจิตรู้จักความจรงิ (Truth) ความดี
พอ่ -แม่ สถาบนั การศกึ ษา ศาสนา พรรคการเมืองและ (Goodness) และความงาม (Beauty)
องค์กรของรฐั

มมหหาาวทิวยิทาลยัยามลหายั จมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณยั รวทิายชาวเขทิตขยอานลแกยั ่นวิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศึกษา

ความหมายของคุณธรรม

สรปุ ไดว้ า่ คุณธรรม เป็นคณุ ลกั ษณะของความรู้สกึ นกึ คดิ หรอื
สภาวะจติ ใจทเี่ ป็นไปในแนวทางทถ่ี ูกต้องและดงี าม ท่ีสงั่ สมอยใู่ น
จิตใจของมนษุ ยเ์ ปน็ เวลายาวนานเป็นตวั กระตุ้นใหม้ กี ารประพฤติ
ปฏบิ ัติอย่ใู นกรอบทดี่ ีงาม คณุ ธรรมเป็นสิ่งทดี่ ีงามทางจิตใจ เป็น
คุณคา่ ของชีวติ ในการบาเพ็ญประโยชน์ ช่วยเหลือเกื้อกูลแกเ่ พื่อน
มนษุ ย์ ใหเ้ กดิ ความรักสามัคคี ความอบอนุ่ มั่นคงในชีวิต ดงั น้นั
คณุ ธรรมเป็นบ่อเกดิ ของจรยิ ธรรม

มมหหาาวทิวยทิ าลยยั ามลหาัยจมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกยั ่นวทิ ยาเขตขอนแก่น พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมกับการบริหารการศึกษา

ความหมายของจรยิ ธรรม

จรยิ ธรรม ตรงกบั คาใน
ภาษาองั กฤษวา่ “ Moral หรอื
Morality หรือ Ethics หรอื Ethics
rule ” มาจากคาวา่ จริยะ + ธรรมะ
พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2525 ให้ความหมายไวด้ งั น้ี
จรยิ ะ แปลว่า ความประพฤติ หรือ
กรยิ าที่ควรประพฤติ ธรรม แปลวา่
สภาพคณุ งามดี

มมหหาาวทิวยทิ าลยัยามลหายั จมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณัยรวทิายชาวเขิทตขยอานลแกยั ่นวทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกบั การบริหารการศกึ ษา

ความหมายของจรยิ ธรรม

พระพรหมคณุ าภรณ์ (2546, 15) ไดก้ ลา่ วถงึ จรยิ ธรรม ไว้วา่ เปน็ เรื่องของการ
ดาเนนิ ชีวิตในดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้

1) พฤตกิ รรมทางกาย วาจา และการใช้อนิ ทรีย์ ในการสมั พนั ธก์ บั ส่งิ แวดล้อม
2) จติ ใจของเรา ซ่ึงมีเจตจานง ความต้งั ใจ แรงจงู ใจทจ่ี ะทาใหเ้ รามพี ฤติกรรม
สมั พันธ์กบั สง่ิ แวดลอ้ มอย่างไร ตามภาวะและคุณสมบัตติ า่ ง ๆ ของจติ ใจน้นั ๆ
3) ปญั ญา ความรู้ ซ่ึงเปน็ ตวั ชท้ี างให้ว่าเราจะสมั พนั ธ์อย่างไรจึงจะไดผ้ ลและ
เปน็ ตัวจากดั ขอบเขตว่าเราจะสมั พนั ธก์ บั อะไร จะใชพ้ ฤติกรรมได้แค่ไหน เรามี
ปัญญา มคี วามรแู้ ค่ไหน เรากใ็ ช้พฤติกรรมไดใ้ นขอบเขตน้ัน ถา้ เราขยายปัญญา
ความรอู้ อกไป เราก็มพี ฤตกิ รรมที่ซับซ้อนและไดผ้ ลดยี ่งิ ข้ึน

มมหหาาวทิวยทิ าลยยั ามลหายั จมุฬหาลางกจรุฬณราาลชวงทิ กยราลณยั รวทิายชาวเขิทตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

ความหมายของจรยิ ธรรม

กู๊ด (Good 1973 : 89) กล่าวถงึ จริยธรรมวา่
หมายถงึ การปรบั พฤตกิ รรมให้เขา้ กับกฎเกณฑห์ รือ
มาตรฐานของความประพฤตทิ ถ่ี กู ต้องหรือดงี าม

โคลเบิรก์ (Kohlberg 1972 : 212) กล่าวถึง พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.
จรยิ ธรรมวา่ จรยิ ธรรมเป็นความรู้สึกผดิ ชอบชัว่ ดี เปน็
กฎเกณฑ์และมาตรฐานของการประพฤติปฏบิ ัตใิ นสังคมซง่ึ
บคุ คลพัฒนาขึ้นจนกระทงั่ มพี ฤติกรรมเปน็ ของตนเอง โดย
สงั คมจะเป็นตวั ตัดสนิ ผลของการกระทา นัน้ ว่าเปน็ การ
กระทา ทถี่ ูกหรือผิด องค์ประกอบของจรยิ ธรรม

มมหหาาวิทวยทิ าลยยั ามลหายั จมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณยั รวทิายชาวเขทิตขยอานลแกยั ่นวิทยาเขตขอนแกน่

คุณธรรมจรยิ ธรรมกบั การบรหิ ารการศึกษา

สรปุ ความหมาย

สรุปไดว้ า่ จรยิ ธรรม เปน็ ความประพฤติ กริยา หรือสงิ่ ทีค่ วรประพฤติปฏิบัติ ในทางทถ่ี ูกตอ้ ง ดีงามและเหมาะสม
ซึง่ จะสะทอ้ นคณุ ธรรมภายในให้เหน็ เปน็ รูปธรรม

จากความหมายท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ สรปุ ไดว้ า่ คณุ ธรรม เปน็ ลักษณะความรสู้ ึกนกึ คดิ ทางจติ ใจ ความรู้สกึ ผดิ ชอบ
ช่วั ดีในแตล่ ะบุคคล สว่ น จรยิ ธรรม เป็นลักษณะการแสดงออกของร่างกาย ทางการประพฤตปิ ฏบิ ัติ ซง่ึ สะทอ้ น
คุณธรรมภายในให้เหน็ เปน็ รูปธรรม น้ันเองคุณธรรม และจริยธรรม มคี วามเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องซึง่ กนั และกนั
ถา้ บุคคลใดบุคคลหนง่ึ จะมีจรยิ ธรรมได้กต็ อ่ เมือ่ บคุ คลนน้ั มีพื้นฐานทางความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถ
แยกแยะผดิ ถูก ควรไมค่ วรได้จากคณุ ธรรมทถี่ ูกอบรมบม่ เพาะมาตั้งแต่บุคคลน้ันจาความได้

มมหหาาวิทวยทิ าลยยั ามลหายั จมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณยั รวิทายชาวเขิทตขยอานลแกยั ่นวิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรบั นกั บริหาร
ในสถานศกึ ษา

นักบรหิ ารที่ดตี ้องประกอบดว้ ย คุณสมบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี
เป็นผมู้ ีบคุ ลกิ ภาพท่ดี ี (Good Personality) คือ เป็น
ผมู้ ีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตทด่ี ี

1 มสี ุขภาพกายทด่ี ี คือ เป็นผู้มีสขุ ภาพอนามัยทด่ี ี
มที ่วงทา่ กิรยิ า รวมทง้ั การแต่งกาย ทส่ี ุภาพ เรยี บรอ้ ยดี
งาม สะอาด และดูสงา่ งามสมฐานะ

มมหหาาวทิวยิทาลยัยามลหาัยจมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณัยรวิทายชาวเขิทตขยอานลแกยั น่ วิทยาเขตขอนแก่น พระครปู ลัดบญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศึกษา

คณุ ธรรมและจริยธรรมสําหรับนกั บรหิ าร
ในสถานศกึ ษา

2 มีสขุ ภาพจติ ท่ดี ี คือ เปน็ ผู้มอี ธั ยาศยั ใจคอที่งาม เป็นคนดี มศี ีลธรรม ได้แก่ ศรทั ธา ศลี สุตะ
จาคะ วิรยิ ะ สติ สมาธิ และปญั ญา กับทัง้ มกี ลั ยาณมิตรธรรม คือมคี ณุ ธรรมของคนดี ดงั ต่อนี้

เปน็ ผู้มีศรทั ธา หมายถึง เป็นผทู้ ่ีรู้จักสํารวมระวัง เป็นผู้มีสุตะ คอื ผู้ไดเ้ รียนรู้ เปน็ ผมู้ ีจาคะ คอื เปน็ ผู้ เป็นผ้มู สี ติ คือ ผูร้ ู้จัก
เปน็ ผูร้ จู้ กั ศรทั ธาบคุ คล ความประพฤติปฏิบตั ิ ทางวชิ าการ และได้ศกึ ษา มจี ิตใจกวา้ งขวาง ยบั ยั้ง ช่ังใจ ร้จู ักคิด
และข้อปฏิบัติที่ควรศรัทธา ทางกาย และทางวาจา ค้นควา้ ในวชิ าชพี ดี ไม่คบั แคบ รู้จกั เสยี สละ ไตรต่ รองใหร้ อบคอบ

เปน็ ผูม้ สี มาธิ คือ ผมู้ จี ติ ใจตงั้ มน่ั เปน็ ผูม้ ีปญั ญา คือ ผู้ที่รอบรูก้ องสงั ขาร ผ้รู อบรู้ เปน็ ผ้มู ีกัลยาณมิตรธรรม คอื ผมู้ คี ุณธรรม
ขม่ กเิ ลสนวิ รณ์ สภาวธรรมที่ระกอบดว้ ยปัจจยั ปรุงแต่ง ของมติ รที่ดี

มมหหาาวิทวยทิ าลยัยามลหายั จมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกยั ่นวทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกบั การบรหิ ารการศึกษา

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรับนกั บริหาร
ในสถานศึกษา

คณุ ธรรมของมติ รทด่ี ี 7 ประการ

1) เปน็ ผู้น่ารกั (ปิโย) คอื เปน็ ผู้มีจิตใจกอปรดว้ ยเมตตากรุณาพรหมวหิ าร
2) เปน็ ผนู้ ่าเคารพบชู า (ครุ) คือ เป็นผู้ท่ีสามารถเอาเปน็ ทพี่ งึ่ อาศยั เปน็ ท่พี ่งึ ทางใจ
3) เปน็ ผู้นา่ นับถอื น่าเจรญิ ใจ (ภาวนีโย) ด้วยวา่ เปน็ ผู้ได้ฝกึ ฝนอบรมตนมาดี แลว้ ควรแกก่ ารยอมรบั และยกยอ่ ง

นบั ถือ เอาเปน็ เยย่ี งอย่างได้
4) เป็นผู้ร้จู กั พูดจาโดยมเี หตผุ ลและหลักการ (วตั ตา) รจู้ ักชีแ้ จง แนะนา ใหผ้ ้อู ื่น เข้าใจดี แจ่มแจ้ง เป็นทีป่ รกึ ษาท่ดี ี
5) เป็นผอู้ ดทนต่อถ้อยคําที่ลว่ งเกนิ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ ซักถาม หรอื ขอปรกึ ษา หารือ ขอให้คาแนะนาตา่ ง ๆ ได้

(วจนักขโม)
6) สามารถแถลงช้แี จงเรือ่ งที่ลกึ ซึ้ง หรอื เร่อื งทีย่ ุ่งยากซับซอ้ นให้เข้าใจอย่าง ถกู ตอ้ ง และตรงประเดน็ ได้

(คัมภีรัญ จะ กะถัง กตั ตา)
7) ไม่ชกั นําในอฐานะ (โน จัฏฐาเน นิโยชะเย) คือไม่ชกั จงู ไปในทางเสอ่ื ม (อบายมขุ ) หรือไปในทางทเ่ี หลวไหล

ไร้สาระ หรือทเ่ี ป็นโทษ เปน็ ความทกุ ข์

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

คุณธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

หลักธรรมในการครองงานทดี่ ี คือ อทิ ธบิ าทธรรม คณุ ธรรมและจริยธรรมสําหรับนักบรหิ าร
ในสถานศึกษา
1 ฉันทะ ความรักงาน คอื จะตอ้ งเป็น อทิ ธบิ าท 4
ผู้รักงานที่ตนมหี นา้ ท่รี ับผดิ ชอบอยู่ 2 วิริยะ ความเพียร คือ จะต้องเปน็ ผู้มคี วาม
และทั้งจะต้อง เอาใจใสก่ ระตือรือรน้ ใน ขยันหมัน่ เพียร ประกอบด้วยความอดทน
การเรียนรู้งาน และเพ่มิ พนู วิชาความรู้ ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อความยากลาบากในการประกอบ
ความสามารถในการทากิจการงาน กจิ การงานในหน้าทีห่ รอื ในอาชพี ของตน
จงึ จะถงึ ความสาเร็จและ ความเจริญกา้ วหน้าได้

3 จติ ตะ ความเป็นผมู้ ีใจจดจอ่ อยกู่ บั การ 4 วมิ ังสา ความเป็นผูร้ จู้ กั พิจารณาเหตุ
งาน ผู้ท่ีจะทางานไดส้ าเร็จดว้ ยดี มี สงั เกตผลในการปฏิบตั ิงานของตนเอง
ประสิทธิภาพนัน้ จะต้องเปน็ ผูเ้ อาใจใส่ตอ่ และของผูน้ ้อยหรือของผอู้ ยู่ใต้บงั คบั
กจิ การงานทท่ี า และม่งุ กระทางานอยา่ ง บญั ชา วา่ ดาเนินไปตามนโยบายและ
ต่อเนอ่ื งจนกว่าจะสาเรจ็ แผนงานท่ีวางไวห้ รือไม่

มมหหาาวทิวยิทาลยยั ามลหาัยจมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณัยรวิทายชาวเขทิตขยอานลแกยั ่นวทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมกับการบรหิ ารการศึกษา

คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับนักบริหาร
ในสถานศึกษา

หลักธรรมผู้รจู้ กั หลกั ปฏบิ ตั ิตอ่ กันดว้ ยดี ระหว่าง
ผบู้ งั คบั บัญชากบั ลูกนอ้ ง หรอื ผู้อยูใ่ ต้ บังคบั
บญั ชา ตามหลักธรรมของพระพทุ ธเจา้
ชอ่ื “เหฏฐมิ ทิศ”

มมหหาาวทิวยทิ าลยัยามลหาัยจมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกัย่นวิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรบั นักบริหาร
ในสถานศึกษา

หลกั ธรรมผรู้ จู้ ักหลักปฏิบัตติ ่อกนั ด้วยดี ระหวา่ งผูบ้ ังคบั บัญชากบั ลกู น้อง หรือผอู้ ยใู่ ต้ บงั คับ
บัญชา ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธเจ้า ชอื่ “เหฏฐมิ ทิศ”

เหฏฐมิ ทิศ คอื ทิศเบ้ืองต่า 1. ด้วยการจดั งานให้ตามกาลงั 3. ด้วยการรกั ษาพยาบาลใน ด้วยปล่อยในสมยั คือ รู้จกั
เจา้ นาย หรอื ผู้บังคบั บญั ชา กล่าวคอื มอบหมายหนา้ ทกี่ ารงาน ยามเจบ็ ไข้ กล่าวคอื ต้องรู้จกั ให้ลูกน้อง หรือผอู้ ยูใ่ ต้บงั คับ
พึงบารงุ บา่ ว คือผ้ใู ตบ้ งั คับ ให้ตามกาลงั ความรู้ สตปิ ญั ญา ดแู ลสารทุกข์ สุกดิบ ของผู้อยใู่ ต้ บญั ชาได้ลาพักผอ่ นบา้ ง
บญั ชา ดว้ ยสถาน 5 คอื ความสามารถ บังคบั บัญชา ไมเ่ ปน็ ผแู้ ล้งนา้ ใจ

2. ดว้ ยการใหอ้ าหารและบาเหน็จรางวลั 4. ดว้ ยแจกของมรี สดแี ปลกๆ
กล่าวคอื เม่อื ทาดี ก็รจู้ กั ยกย่องชมเชย ใหก้ ิน หมายความว่า ให้รจู้ ัก
ใหไ้ ดร้ บั บาเหน็จรางวัล เลอื่ นยศ มีน้าใจแบง่ ปันของกิน
เล่ือนตาแหน่ง ตามสมควรแก่ฐานะ ของใช้ดี ๆ ใหล้ กู นอ้ ง

มมหหาาวิทวยิทาลยยั ามลหายั จมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณยั รวิทายชาวเขิทตขยอานลแกยั น่ วิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศกึ ษา

คุณธรรมและจรยิ ธรรมสําหรับนกั บริหาร
ในสถานศึกษา

ส่วนบา่ ว หรือลูกน้องผูอ้ ยใู่ ต้บังคบั บญั ชา เม่ือเจา้ นาย หรอื ผบู้ ังคับบัญชา ทํานบุ ํารงุ อยา่ งนีแ้ ลว้
กพ็ งึ ปฏบิ ัติอนุเคราะหเ์ จ้านาย ผ้บู ังคับบัญชาด้วยสถาน ๕ ตอบแทนดว้ ยเชน่ กนั คอื

1. ลกุ ข้ึนทางานกอ่ น 2. เลกิ การทางานที 3. ถอื เอาแตข่ องทน่ี าย 4. ทางานให้ดีข้ึน คอื 5. นาคุณของนายไป
นาย คือ ให้รับสนอง หลงั นาย คือ ทางาน ให้ คอื มีความซอ่ื สตั ย์ ต้องรจู้ ักพัฒนาคณุ วุฒิ สรรเสรญิ คือ รู้จักนา
งานผู้บงั คับบญั ชาดว้ ย ดว้ ยความขยนั ขันแขง็ จงรกั ภกั ดี ไมค่ ดโกง ความรู้ ความสามารถ คุณความดขี องเจ้านาย
ความขยันขนั แข็ง แมเ้ ลกิ ก็ควรเลิกทีหลงั นาย หรือผู้บงั คบั และวิสยั ทัศนใ์ น ผบู้ งั คับบัญชาไป
ควรมาทางานกอ่ นนาย นายหรือผู้บังคับบัญชา บญั ชา ไม่คอร์รปั ชน่ั การทางาน ให้ได้ผลดี ยกยอ่ ง สรรเสริญ
หรือผบู้ ังคับบญั ชา อยา่ งนอ้ ยกอ็ ยูท่ างาน ไมเ่ รียกรอ้ งตอ้ งการ มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ตามความเปน็ จริง
อยา่ งนอ้ ย ก็มาให้ ใหเ้ ต็มเวลา ไมห่ นี โดยไมเ่ ปน็ ธรรม หรือ ในท่แี ละโอกาสอัน
ทันเวลาทางาน กลับกอ่ นเวลาเลิกงาน เกินเหตุ สมควร
ไม่มาสายกว่านาย

มมหหาาวทิวยทิ าลยัยามลหาัยจมุฬหาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณัยรวทิายชาวเขทิตขยอานลแกัย่นวทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกบั การบริหารการศกึ ษา

คุณธรรมและจริยธรรมสําหรบั นักบรหิ าร

ในสถานศึกษา

ผู้บังคบั บญั ชา กบั ผอู้ ยู่ใตบ้ ังคับบญั ชา พงึ ปฏิบตั ิต่อกันดังคํานักปกครอง นักบรหิ ารแต่โบราณ

กล่าวว่า “อย่สู งู ใหน้ อนควา่ อยตู่ ่าให้นอนหงาย”

“อยสู่ งู ใหน้ อนคว่าํ ” หมายความวา่ เปน็ ผปู้ กครอง ผบู้ ังคบั บัญชา หรอื “อยู่ตํ่าให้นอนหงาย” หมายความวา่ ลกู น้อง หรือผู้อยใู่ ตบ้ งั คับบญั ชา
เปน็ ผู้นาคน พงึ ดูแลเอาใจใส่ ทานบุ ารุง ผใู้ ต้บังคับบญั ชา หรือลูกน้องด้วยดี ก็พงึ ปฏิบัตติ น ตอ่ เจา้ นาย หรือผู้บงั คบั บญั ชาดว้ ยดี รบั สนองงานทา่ น
คอื ดว้ ยความเป็นธรรม ตามหลกั ธรรมของ พระพทุ ธเจา้ ตามท่กี ล่าวข้างต้น ดว้ ยความยนิ ดี ดว้ ยใจจรงิ และทางานดว้ ย ความเขม้ แขง็ เป็นผ้มู มี นษุ ย
น้ี เพื่อให้ลกู นอ้ ง หรอื ผใู้ ต้บังคับบญั ชา มขี วญั กาลงั ใจในการสนองงาน ได้ สัมพันธ์ ทดี่ ี ดว้ ยคุณธรรม คือ พรหม-วิหารธรรม และ สงั คหวตั ถุ
เต็มที่ อย่าใหล้ ูกนอ้ ง หรือผอู้ ยูใ่ ต้บังคับบัญชา เกิดความรสู้ ึกท้อถอย เปน็ ตน้ พรหมวหิ ารธรรม คุณธรรมเครอื่ งอยขู่ องผู้ใหญ่ 4 ประการ
วา่ ทาดีสกั เท่าใด ผู้ใหญ่ ก็ไมเ่ หลยี วแล ดงั คาโบราณทา่ นวา่ (1) เมตตา คือ ความรัก ปรารถนาทจี่ ะให้ผู้อื่นอยูด่ มี สี ขุ
มปี าก ก็มเี ปลา่ เหมือนเตา่ หอย เป็นผู้น้อย แมท้ าํ ดี ไม่มขี ลัง (2) กรณุ า คือ ความสงสาร ปรารถนาใหผ้ ู้มที กุ ข์ เดอื ดร้อน ใหพ้ ้นทุกข์
หรืออยา่ ให้ลกู นอ้ ง หรอื ผใู้ ต้บังคับบัญชา เกิดความรูส้ กึ น้อยเนอ้ื ตา่ ใจว่า (3) มุทิตา คือ ความพลอยยนิ ดี ที่ผู้อนื่ ไดด้ ี ไม่คดิ อิจฉาริษยากัน
ผใู้ หญ่ไม่ ยุตธิ รรม มักเลอื กปฏบิ ัตไิ มเ่ สมอกัน ดังคาท่ีว่า (4) อเุ บกขา คือ ความวางเฉย ไมย่ ินดียนิ ร้าย เม่อื ผู้อ่ืนถึงซึง่ ความวบิ ตั ิ
(เรา) ทาํ งานทงั้ วัน ไดพ้ ันหา้ (สว่ นคนอนื่ ) เดินไปเดนิ มา ไดห้ ้าพนั โดยทเ่ี รา ก็ช่วยอะไรไมไ่ ด้ ก็ต้องปลอ่ ยวางใจของเราเองดว้ ยปัญญา
ตามพระพทุ ธพจน์ว่า “สัตวโ์ ลกเป็นไปตามกรรม”

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศกึ ษา

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสําหรับนกั บริหาร

ในสถานศึกษา

ผบู้ งั คับบัญชา กบั ผอู้ ยใู่ ต้บงั คับบญั ชา พึงปฏิบตั ิตอ่ กนั ดังคํานกั ปกครอง นักบริหารแตโ่ บราณ

กลา่ วว่า “อยสู่ ูงให้นอนควา่ อยู่ต่าให้นอนหงาย”

สังคหวตั ถุธรรม 4 ประการ คอื
(1) ทาน รู้จกั ใหป้ นั ส่ิงของ ของตน แกผ่ อู้ นื่ ทคี่ วรให้ปัน
(2) ปิยวาจา รู้จกั เจรจาออ่ นหวาน คอื กล่าวแต่วาจาทสี่ ุภาพอ่อนโยน
(3) อตั ถจริยา รู้จกั ประพฤตสิ ง่ิ ที่เป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้อื่น
(4) สมานตั ตตา เป็นผู้มีตนเสมอ คือ ไมถ่ อื ตัวเย่อหยิง่ จองหอง อวดดี
คณุ ธรรม 4 ประการนี้ เป็นเคร่ืองยึดเหนีย่ วจติ ใจของผอู้ นื่ ไวไ้ ด้ และ
ยงั ความสมัคร สมานสามัคคี ใหเ้ กิดขึ้นระหวา่ งกันและกนั ด้วย หรือจะ
เรียกวา่ เป็น “หลักธรรมมหาเสนห่ ”์ กไ็ ด้

มมหหาาวิทวยทิ าลยยั ามลหาัยจมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกยั น่ วิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

ทศพิธราชธรรม

ความหมายของทศพธิ ราชธรรม
ทศพธิ ราชธรรม คือ จรยิ วตั ร 10 ประการทพี่ ระเจ้าแผนดินทรงประพฤติเปนหลกั ธรรม

ประจาพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจาตนของผปู้ กครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรม
และยงั ประโยชน์สขุ ให้เกดิ แกป่ ระชาชนจน เกดิ ความชื่นชมยนิ ดี ซง่ึ ความจริงแล้วไมไ่ ด้จาเพาะ
เจาะจงสาหรับพระเจ้าแผ่นดนิ หรือผู้ปกครองแผน่ ดนิ เท่าน้นั บคุ คลธรรมดาท่เี ปน็ ผู้บรหิ าร
ระดบั สงู ในทุกองค์กรกพ็ งึ ใช้หลักธรรมเหลา่ น้ี

ทศพธิ ราชธรรม เรียกอกี อยางหนง่ึ วา่ “ราชธรรม 10” นี้ปรากฏอยูในพระสตู รขุททก
นิกายชาดก ทศพิธราชธรรมทั้ง 10 ขอ มดี งั น้ี

มมหหาาวทิวยทิ าลยัยามลหาัยจมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวทิายชาวเขทิตขยอานลแกยั ่นวทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครูปลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

ทศพธิ ราชธรรม

ทศพธิ ราชธรรม หรอื ราชธรรม 10

1. ทาน หมายถงึ การให้ (Charity) การเป็นผูใ้ ห้เป็นคณุ ธรรมข้อแรกของนกั บริหารตามหลักทางพทุ ธศาสนา การให้น้ันมี
อยู่ 2 อยา่ งคอื อมสิ ทาน ไดแ้ ก่ การให้วตั ถสุ ิง่ ของ เชน่ ให้เงินทองเส้อื ผ้า ให้ที่อยู่อาศัย ให้อาหาร ธรรมทาน ไดแ้ ก่
การใหธ้ รรมหรือความรู้ ใหส้ ตปิ ญั ญา ให้กาลังใจ ใหอ้ ภยั ให้ความรัก ให้ความเอ้อื เฟื้อ ให้ความเมตตา

2. ศลี หมายถงึ ความมีระเบียบวินัย ( Self – Discipline) ผูป้ ฏิบัตทิ กุ ระดบั เปน็ บคุ คลแบบอยา่ งท่จี กั ตอ้ งมีความ “งาม
ด้วยศลี ” ได้แก่ ต้องเป็นบุคคลทีม่ ีระเบยี บวนิ ัย เคร่งครดั ระมดั ระวงั ควบคมุ ตนเองได้จะต้องรจู้ ักบรหิ ารคน บรหิ ารงาน
และบรหิ ารบา้ นเมอื ง

มมหหาาวทิวยทิ าลยยั ามลหาัยจมุฬหาลางกจรุฬณราาลชวงทิ กยราลณยั รวทิายชาวเขิทตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกับการบริหารการศกึ ษา

ทศพธิ ราชธรรม

ทศพิธราชธรรม หรอื ราชธรรม 10

3. ปรจิ าคะ หมายถึง การเสยี สละ ( Self – Sacrifice) คือการเสียสละ ละ ทง้ิ ความหมายเชิงปฏบิ ตั วิ ่าใหใ้ นลักษณะของ
“ทาน” เป็นการให้สง่ิ ท่ตี นมอี ย่แู ละในเพยี งบางส่วนแต่การใหล้ กั ษณะของ “บรจิ าค” น้ัน เปน็ การให้ทงั้ หมด ใหไ้ ม่มสี ่วน
เหลือ ผปู้ ฏบิ ตั ทิ ี่ดยี อ่ มต้องมีความพรอ้ มในการเสยี สละ คือการเสยี สละทง้ั 4 คอื เสียสละทรัพย์ เสยี สละอวัยวะ เสยี สละ
ชวี ิต เสยี สละท้งั หมด ทงั้ ทรัพย์อวยั วะและชวี ิตเพ่อื รกั ษาความถกู ตอ้ งดงี ามของบา้ นเมอื ง

4. อาชวะ หมายถงึ ความซ่ือตรง (Honesty) ความซ่อื ตรงเปน็ หลกั ธรรมที่สาคัญอย่างย่งิ ของนักบริหารอกี ประการหนึ่ง
นักบรหิ ารต้องเป็นบุคคลทซี่ ่อื ตรง ไมค่ ดโกง โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ จงึ สามารถนาคน นางาน นาบา้ นเมือง ว่งิ ตรงไปสู่
เปาู หมายไดอ้ ยา่ งปลอดภัยรวดเร็ว ตรงกันขา้ ม หากนักบรหิ ารไรค้ วามซือ่ สตั ยส์ จุ ริต ไมซ่ อ่ื ตรง คดโกง คดิ คด ทรยศตอ่
ชาติบา้ นเมือง พระพุทธศาสนาเปรยี บเทยี บไว้ว่าเป็น “มหาโจร” ปล้นชาตปิ ลน้ แผ่นดิน ตามวิสยั ของมหาโจร

มมหหาาวทิวยทิ าลยัยามลหายั จมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวทิายชาวเขทิตขยอานลแกัย่นวิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกับการบริหารการศึกษา

ทศพิธราชธรรม

ทศพธิ ราชธรรม หรือ ราชธรรม 10

5. มัททวะ หมายถงึ ความออ่ นโยน (Gentleness) เป็นคณุ ธรรมที่สาคัญอย่างยิ่ง สาหรับนักบรหิ าร โดยนักบริหารท่ี
ตอ้ งการให้เป็นทยี่ อมรับนับถอื จากบคุ คลอ่นื ๆ แล้วจะต้องเปน็ บคุ คลท่อี อ่ นโยนน่มุ นวลไมห่ ยาบคาย ไมแ่ ข็งกระดา้ ง ไม่
เย่อหยิ่ง ยโสโอหัง ทีบ่ งั อาจทาตนเปน็ เหมอื น “คางคกข้นึ วอ” ให้ลดมานะละทฐิ ทิ ง้ั ปวง

6. ตปะ หมายถึง การระงับยบั ย้ังขม่ ใจ ( Self – Austerity) นักบรหิ ารทดี่ ีตอ้ งมี“ตปธรรม” คอื การแผดเผากิเลสตัณหา
มใิ หเ้ ขา้ มาครอบงาจิตใจของตนเองอยู่เสมอ คือละความชว่ั ภายในตนเองให้หมดไป
หล่อหลอมเอาแตค่ วามดีงามใสต่ ัว มคี วามดีเปน็ แบบอย่าง มคี วามพากเพยี รเป็นเคร่ืองเผากเิ ลส

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

คุณธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศึกษา

ทศพิธราชธรรม

ทศพิธราชธรรม หรอื ราชธรรม 10

7. อักโกธะ หมายถงึ ความไม่โกรธ ( Non – Anger) นกั บริหาร คอื บคุ คลผมู้ บี ทบาทมีอานาจหน้าทีใ่ นการบรหิ าร
จดั การโดยเฉพาะ การตัดสนิ ใจ (Decision – Making) ใหท้ าหรือไมท่ าอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ซงึ่ ในสถานการณอ์ ยา่ งนี้ นกั
บริหารจะมอี ารมณโ์ กรธไม่ไดเ้ ลย ต้องมคี วามสุขสงบ เยอื กเย็น เห็นตน เห็นคน เห็นงาม เหน็ บ้านเมอื งอยา่ งแจ่มใสไม่
ขนุ่ มวั

๘. อวหิ ิงสา หมายถงึ การไม่เบียดเบียน (Non – Violence) นกั บรหิ ารท่ีดีตอ้ งไมเ่ บยี ดเบยี นทัง้ คนและสัตวร์ วมทั้งไม่
เบียดเบยี นธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมต่าง ๆ ตามหลักพระพทุ ธศาสนา คือไมม่ ีความเห็นผดิ จากทานองคลองธรรม ใหค้ วาม
ช่วยเหลือซ่งึ กันและกนั ให้ความเท่าเทียมกนั เหมือนกันเสมอภาคกัน เคารพในกฎหมาย ไมท่ ะเลาะววิ าท บาดหมางกนั
ด้วยความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกัน นาความคดิ เห็นทแ่ี ตกต่างกนั มาสร้างความสามคั คี

มมหหาาวิทวยทิ าลยัยามลหาัยจมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขิทตขยอานลแกยั น่ วิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมกบั การบริหารการศึกษา

ทศพิธราชธรรม

ทศพธิ ราชธรรม หรอื ราชธรรม 10

9. ขนั ติ หมายถึง ความอดทน (Tolerance) ความงามของนกั บริหารอยู่ทก่ี ารมคี วามอดทน หรือการมีขันติ และการมี
ความสงบเสงย่ี มเจียมตัว หรอื การมโี สรัจจะ นกั บริหารทดี่ ี จึงจาเปน็ จะต้องฝึกฝนอบรมตนเองใหเ้ ปน็ คนมีความอดทน
และความเสง่ยี มเจยี มตวั อย่เู สมอ

10. อวิโรธนะ หมายถึง ความไม่คลาดธรรม ( Non - Opposition) คือมีความหนักแนน่ ในธรรม ไม่มคี วามเอนเอียง
หวนั่ ไหวสถิตมัน่ ในธรรม นักการบรหิ ารทุกระดับ ต้ังแต่บริหารตน บรหิ ารบุคลากร บริหารงาน และการบริหาร
บ้านเมอื ง ไมว่ ่าจะระดบั ใดจะต้องไม่มคี วามผดิ พลาด ความเสยี หาย ตอ้ งไมม่ พี ิรุธใด ๆ เพราะหากมีความผดิ พลาดมีพริ ุธ
บกพร่อง ยอ่ มเปน็ ชอ่ งทางให้เกิดความหายนะสะสมทบั ถมตอ่ เน่ืองและเร้ือรงั จะแกไ้ ขลาบากอยากท่ีจะกาจัดได้

มมหหาาวิทวยิทาลยยั ามลหาัยจมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงทิ กยราลณัยรวิทายชาวเขิทตขยอานลแกยั ่นวิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมกบั การบริหารการศึกษา

โพชฌงค์

ความหมายของ โพชฌงค์ 7
โพชฌงค์ หรือ โพชฌงค์ 7 คือธรรมทเี่ ปน็ องค์แหง่ การตรสั รู้ หรอื องค์ของผ้ตู รสั รู้ มีเจด็ อยา่ งคอื

1. สติ (สติสมั โพชฌงค์) ความระลกึ ได้ สานกึ พรอ้ ม 5. ปัสสัทธิ (ปสั สัทธสิ มั โพชฌงค์) ความสงบกายใจ
อยู่ ใจอยู่กบั กจิ จิตอย่กู บั เร่ือง

2. ธมั มวิจยะ (ธัมมวิจยสมั โพชฌงค์) ความเฟูน 6. สมาธิ (สมาธิสมั โพชฌงค์) ความมีใจต้ังมน่ั
ธรรม ความสอดส่องสบื คน้ ธรรม จิตแนว่ ในอารมณ์

3. วิริยะ (วิริยสัมโพชฌงค์) ความเพียร 7. อเุ บกขา (อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ความมีใจเปน็
4. ปตี ิ (ปีติสัมโพชฌงค์) ความอมิ่ ใจ กลาง เพราะเหน็ ตามเป็นจริง

มหมาหวิทายวาลิทยั ยมหาาลจยัุฬามลหงการณจรฬุ าชาวลทิ งยกาลรัยณวทิ รยาาชเขวตขทิ อยนแากล่นยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บุญช่วย โชติวํโส, ดร.

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกับการบรหิ ารการศึกษา

ทศพิธราชธรรม

โพชฌงค์ 7

โพชฌงค์ 7 เปน็ หลกั ธรรมสว่ นหน่งึ ของ โพธิปักขิยธรรม 37 ธรรมอนั เปน็ ฝกั ฝาุ ยแหง่ ความตรัสรู้
เกอ้ื หนนุ แก่อริยมรรค อันไดแ้ ก่

สติปัฏฐาน 4 สมั มปั ปธาน 4 อทิ ธิบาท 4 อินทรยี 5์
พละ5 โพชฌงค7์ มรรคมอี งค์ 8

ท้ังน้ี พระสูตรและปาฐะทีเ่ ก่ยี วข้องกับโพชฌงค์ 7 โดยตรง ได้แก่ มหากัสสปโพชฌงั คสตุ ตปาฐะ,
มหาโมคคัลลานโพชฌงั คสตุ ตปาฐะ, มหาจนุ ทโพชฌังคสุตตปาฐะ

มมหหาาวิทวยิทาลยัยามลหายั จมฬุ หาลางกจรุฬณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศกึ ษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี
มหาตมะ คานธี“บดิ าแห่งประชาชาติ” ของชาวอนิ เดยี กลา่ ววรรคทองนีเ้ อาไวแ้ ตส่ มยั เมือ่ ทา่ น
ยงั คงมชี วี ติ โลดแลน่ อยใู่ นการเมืองอนิ เดีย และเปน็ มหาบรุ ุษทีช่ าวโลกเฝูาจับตามอง
ทุกความเคลอื่ นไหว นบั จากวันเวลาท่ีท่านยังชีพยนื ชนม์อยู่มาจนถงึ บัดนี้
ก็เปน็ เวลากว่าศตวรรษเข้ามาน่ีแลว้ แตอ่ มตวาทะของทา่ นกย็ ังคงแสดง
ความเปน็ “อกาลโิ ก” อย่ไู ม่รู้เสอื่ มคลาย ร่วมสมัยทนั สมัย
ใหม่เอีย่ มอย่เู สมอ

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกบั การบรหิ ารการศึกษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี
Politics without principles (เลน่ การเมืองโดยไมม่ หี ลกั การ)
Pleasure without conscience (หาความสุขสาราญโดยไมย่ งั้ คิด)
Wealth without work (ร่ารวยเปน็ เอกนิษฐโ์ ดยไมต่ อ้ งทางาน)
Knowledge without character (มีความร้มู หาศาลแต่ความประพฤติไม่ดี)
Commerce without morality (ค้าขายโดยไมม่ ีหลกั ศลี ธรรม)
Science without humanity (วทิ ยาศาสตร์เลิศล้าแต่ไม่มีธรรมแห่งมนุษย์)
Worship without sacrifice (บชู าสงู สดุ แตไ่ ม่มีความเสยี สละ)

มมหหาาวิทวยทิ าลยยั ามลหายั จมุฬหาลางกจรุฬณราาลชวงิทกยราลณัยรวทิายชาวเขิทตขยอานลแกยั น่ วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกบั การบริหารการศกึ ษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี

1. เลน่ การเมืองโดยไม่มหี ลกั การ คอื การเล่นการเมอื งทท่ี าเพ่อื
ผลประโยชนข์ องตวั เองโดยไม่คานงึ ถึงประชาชนส่วนใหญ่ของ
ประเทศ หรอื ไม่ยืดหลกั การของเสยี งส่วนใหญ่ แต่มองว่าเสยี งส่วน
นอ้ ยสาคกั วา่ เสียงสว่ นใหญ่ การเลน่ การเมืองมีลกั ษณะส่งเสรมิ การ
รฐั ประหารแต่ไม่ส่งเสรกิ ารปกครองแบบประชาธปิ ไตย รวมถึงการ
แก่ไขรฐั ธรรมนูญทีเ่ ออ้ื ประโยชนเ์ ฉพาะกลุ่มบาง

มมหหาาวิทวยทิ าลยยั ามลหายั จมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณัยรวทิายชาวเขิทตขยอานลแกัย่นวิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศกึ ษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี
2. หาความสุขสําราญโดยไมย่ ัง้ คิด หมายถงึ ผู้ปกครองหรือ
นักการเมอื งมเสพสขุ หลงใหลอานาจอทิ ธิพลเพอื่ สรา้ ง
ความเกรงกลัว โกงเงินจากประชาชนโดยวธิ ีทีแ่ ยบยลทาใหร้ าษฎร
ไมไ่ ดร้ ับผลประโชนจกผู้ปกครองหรือคนมีอานาจ เพราะโกงกิน
จากงบประมาณไปจนหมด แถมยงั สร้างภาระหน้ีสินฝากความทรง
จาแกร่ าษฎรดว้ ย

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบริหารการศึกษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี

3. รา่ํ รวยเปน็ เอกนิษฐ์โดยไมต่ อ้ งทํางาน หมายถึง ความร่ารวย
ทไ่ี ม่สุจรติ ไมใ่ ช้ฝีมือหรือทักษะในการทางานหาเงนิ แตห่ าเงิน
ด้วยวิธงี ่าย ๆ คอื การทาสง่ิ ผิดกฎหมาย เช่น ค้ายาเสพติด
การรีดไถเงนิ จากประชาชน การใชอ้ ิทธพิ ลช่อนเรน้ แสวงหา
ผลประโยชน์ในทางมชิ อบ ฯลฯ

มมหหาาวทิวยิทาลยัยามลหายั จมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศึกษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี

4. มีความรมู้ หาศาลแตค่ วามประพฤตไิ มด่ ี หมายความว่า
ระบบการศึกษาอาจไมส่ ามารถสอนคนให้เปน็ คนดีได้ เพราะ
การศกึ ษาส่วนใหญเ่ นน้ แต่การทาหากนิ แตไ่ มเ่ นน้ การทา
ประโยชนค์ ม ทาให้คนมคี วามร้มู งุ่ แตห่ าเงินจนไมม่ เี วลาสนใจ
ปญั หาของสงั คมซง่ึ เร่ืองนีย้ งั เปน็ ปัญหาน้อยไมเ่ ทา่ กับคนทมี่ ี
ความรแู้ ต่อาศัยความรู้ทาสิง่ ไม่ดเี ชน่ การคดโกง การเอาเปรียบ
สังคมการใชอ้ านาจทไี่ ม่สรา้ งสรรค์ ฯลฯ หรือมคี วามร้แู ตไ่ ม่
ช่วยเหลอื ประชาชนผูด้ อ้ ยโอกาสกวา่

มมหหาาวิทวยิทาลยัยามลหาัยจมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณยั รวิทายชาวเขิทตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกบั การบรหิ ารการศกึ ษา

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี Gandhi's seven sins

5. คา้ ขายโดยไมม่ หี ลกั ศีลธรรม เอาเปรยี บแรงงาน พอขอขึ้น
คา่ จ้างก็โอดครวญ แต่ตัวเองรา่ รวยมหาศาลมบี า้ นใหญโ่ ต,
มรี ถหลายดนั จากการเอาเปรยี บแรงงานมามากไม่ไดน้ กึ ถึง
ความถกู ต้อง แทนทจี่ ะเสียสละเพ่ือสร้างคนงานใหม้ คี ณุ ภาพ
ชีวติ ท่ีดีเปน็ ศรษฐแี บบนน้ี บั วนั สังคมกจ็ ะดูแคลน และไม่ให้
ความคารพนับถอื หากเป็นคนทไี่ มน่ ึกถงึ ประชาชนทล่ี าบาก
ยากจน

มมหหาาวทิวยทิ าลยยั ามลหาัยจมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณัยรวทิายชาวเขทิตขยอานลแกยั น่ วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครปู ลัดบญุ ช่วย โชติวํโส, ดร.

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกับการบริหารการศึกษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี

6. วิทยาศาสตร์เลศิ ล้าํ แต่ไม่มีธรรมแห่งมนษุ ย์
คิดคน้ วทิ ยาศาสตรท์ าให้มนุษยต์ อ้ งเขน่ ฆ่ากนั เชน่ การคดิ
ระเบิดปรมาณู ผูน้ ามาใช้ในสงครามเปน็ ผู้นาประเทศ
แต่ไอน์สไตนถ์ งึ กบั หลั่งนา้ ตา เพราะเขาเปน็ นักวทิ ยาศาสตร์
ท่ีคานงึ ถงึ ความเมตตาธรรม ดงั น้ันนกั วิทยศาสตร์ทค่ี ิดคน้ อะไร
มากมายก็อาจทาลายสงิ่ แวดล้อม ทาลายธรรมชาติ

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

คุณธรรมจรยิ ธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

Gandhi's seven sins

บาป 7 ประการในทรรศนะของคานธี

7. บชู าสงู สุดแตไ่ มม่ คี วามเสียสละ หมายถงึ บูชาพระ บชู าเทพเจา้
แต่ไมม่ ีธรรมะในใจ ไม่มีความเสียสละ จงึ ทาให้สังคมเดอื ดรอ้ นเพราะ
ความหลงไหลไปในทางทผ่ี ิด หลงผดิ บชู าไสยศาสตรเ์ พื่อเปน็ ทีพ่ ึ่ง
แตค่ วามเสียสละจะหมายถงึ การยนิ ยอมให้โอกาสเพื่อนมนุษย์ได้รับ
ส่ิงดสี ูงสดุ ซง่ึ เปน็ วธิ ีแบบประชาธปิ ไตย

ทงั้ 7 บาป นเ้ี ปน็ ส่งิ ท่ี มหาตะมะคานธี ไดส้ รปุ ไว้อยา่ งนา่ สนใจ มนั เป็นตราบาปทจี่ ะติดตัวมนษุ ยไ์ ปตลอด
แตห่ ากเราเข้าใจ ไมเ่ ข้าใกลแ้ ละหนใี ห้ห่างจากตราบาปเหลา่ นี้ก็เชอ่ื ไดว้ ่า สันตสิ ขุ จะเกดิ ขึ้นกับโลก
โดยเรว็ ไม่วันใดกว็ ันหนงึ่

มมหหาาวทิวยทิ าลยยั ามลหายั จมุฬหาลางกจรฬุณราาลชวงิทกยราลณยั รวิทายชาวเขทิตขยอานลแกยั น่ วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา

สรุปคุณธรรมจริยธรรมกับการบริหารการศกึ ษา

บทสรุป
พฤติกรรมเชงิ จรยิ ธรรมของผ้บู ริหาร ในการบริหารสถานศกึ ษาน้นั ควรมีการสนับสนุน และส่งเสรมิ ในการใช้

หลักธรรม คือ หลักการครอง ตน ครองคน และครองงาน ใหเ้ กิดข้ึนภายใน หน่วยงานสถานศึกษาอย่างแทจ้ ริง
ผ้บู รหิ าร สถานศึกษาตอ้ งประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทด่ี ตี อ่ ผรู้ ่วมงาน มคี วามซื่อตรงซ่ือสัตยพ์ ดู จริง ทาจริง มี ความ
เปน็ ผนู้ าที่ดีมีความเสมอภาค ยุติธรรม ไม่ เอนเอียง รับฟังความคิดเห็น หรอื ปญั หาของ ผูร้ ่วมงานอย่างจรงิ ใจ ความ
เอาใจใส่ดูแล สนบั สนุนผรู้ ว่ มงานใหม้ คี วามเจรญิ ก้าวหนา้ ใน หน้าท่ี ยกยอ่ งเอาใจใสต่ ามกาลอย่างเหมาะสม มี ความ
มุ่งมัน่ ในการพัฒนางานด้วยความอุตสาหะไม่ ยอ่ ท้อ กล้าเผชญิ ปญั หา บริหารงานโดยยดึ หลักการและความถกู ต้อง
ในการบรหิ ารงาน คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเป็นเร่อื งสาคญั สาหรบั การ บรหิ าร เป็นสิ่งกากับควบคุมและสรา้ งสานกึ ในการ
ปฏบิ ัติตนใหอ้ ยใู่ นกรอบของกฎ กติกา กฎหมาย และศีลธรรมขององค์การหรือสังคม ซง่ึ เป็น เครือ่ งมือใหค้ นเคารพ
ตนเองและผู้อนื่ ทาส่งิ ทเี่ ป็น ประโยชน์แกต่ นเองและผู้อื่น เม่ือผูบ้ รหิ ารใช้ หลักการครองตน ครองคนและครองงาน
ในการ บรหิ ารงาน ผ้รู ่วมงานจะมคี วามเขา้ ใจท่ดี ีอนั ก่อให้เกดิ ความรกั ความสามัคคใี นหม่คู ณะ กอ่ ให้เกดิ การ
บรหิ ารงานและทางานร่วมกนั อย่างมี ประสิทธภิ าพ

มมหหาาวิทวยทิ าลยัยามลหาัยจมฬุ หาลางกจรฬุณราาลชวงทิ กยราลณัยรวิทายชาวเขทิตขยอานลแกัยน่ วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลัดบุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

จบการบรรยาย

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยัยั มมหหาาจจฬุ ุฬาาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ทิ ยยาาลลยั ยั ววทิ ทิ ยยาเาขเขตตขขออนนแกแนก่ น่ พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.


Click to View FlipBook Version