The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Keywords: พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา
Buddhism in Sri Lanka

พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

วทิ ยาเขตขอนแก่น

พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ศ รี ลั ง ก า

Buddhism in Sri Lanka

ISBN : 978-616-300-482-6
ผูเ้ ขยี น : พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ที่ปรึกษา อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
: พระโสภณพฒั นาพฒั ฑิต,รศ.ดร.

พระครูภาวนาโพธคิ ณุ ,ผศ.ดร.

ผ้ทู รงคณุ วฒุ ติ รวจสอบ : ผศ.ดร. สรุ พล พรมกุล

ดร.วเิ ชียร แสนมี

ศิลปกรรมและรูปแบบ : พระมหามิตร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ครง้ั ที่ ๑ : พ.ศ. ๒๕๖๑

จานวน : ๕๐๐ เลม่

พิมพ์ที่ : เอมี่ กอ๊ ปปี้ เซ็นเตอร์ เลขท่ี ๘๘/๒๗ ถนนเหล่านาดี

ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐

โทรศัพท์ ๐๔๓-๓๐๖-๘๔๕, ๐๘๕-๐๑๐๑๓๙๕

Email : [email protected]
[email protected]

จดั พิมพ์โดย : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
วิทยาเขตขอนแกน่
๓๐ หมู่ ๑ ตาบลโคกสี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่
๐๔๓-๒๗๓๕๔๖-๗ www.mcukk.com

หนงั สือเล่มนีส้ งวนลขิ สทิ ธ์ิ ตามลขิ สทิ ธ์ิ พรบ. ๒๕๕๗ ห้ามผู้ใดพิมพ์ซ้า ลอกเลยี น ส่วนใดส่วนหน่ึง
ของหนงั สือเล่มนี้ ไม่ว่าในรูปแบบใดๆ นอกจากไดร้ ับอนุญาตเป็นลายลักษณอ์ ักษรเท่าน้ัน

คำนำ

หนังสือเล่มนี้ผู้เขียนได้รวบรวมเรียบเรียงจากตาราวิชาการท่ีมากไปกว่าน้ันได้
เขยี นขน้ึ จากประสบการจริงที่ได้ออกไปศึกษาดูงานประเทศศรีลังกากับกลุ่มนิสิตปริญญา
เอกรุ่น ๙ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น การไปใน
คร้ังนเี้ ป็นการไปศกึ ษาดงู านพรอ้ มสมั มนาวชิ าการเร่ืองการเปล่ียนผ่านพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังการ ณ จุฬาลงกรณ์ธรรมศาลาหรือ วัดศรีปรมนันทะ หลังจากน้ันก็นาพา
นิสิตไปทัศนะศึกษาสถานท่ีสาคัญท่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา การไปในคร้ังนี้เป็นการไป
ศกึ ษาในภาคสนาม ทั้งน้ีกเ็ พื่อให้นสิ ติ ได้มปี ระสบการณจ์ ริงจากการศึกษา

นิสิตสามารถเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในเชิงพัฒนาการและวิเคราะห์ถึงเหตุ
ปัจจัยแห่งพัฒนาการได้ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาการทางด้านศาสนสถาน ศาสนบุคคล
แม้แต่ด้านความเช่ือท่ีปรากฏในสังคมของประชาชนศรีลังกา การพัฒนาการเฉพาะ
เร่ืองแห่งพระพุทธศาสนาจึงเป็นเร่ืองที่สมควรอย่างย่ิงที่จะต้องทาการศึกษาท้ังภาค
ทฤษฏีและภาคปฏิบัติเพ่ือให้เห็นถึงปรากฏการณ์อย่างลึกซ้ึง ด้วยเหตุน้ีผู้เขียนจึงได้
ทาการศึกษาค้นคว้าเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
แล้วนามาบูรณาการกับการเรียนการเพื่อให้เป็นบรรทัดฐานในการศึกษาเกี่ยวกับ
ปรากฏการณ์ในคัมภรี ์ทางพระพุทธศาสนาให้ถ่องแท้แก่ชนรุ่นหลัง หวังเป็นอย่างย่ิงว่า
หนังสือเล่มนี้จะทาให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงปรากฏการณ์ เรื่องราว และเห็นคุณค่าของ
พฒั นาการเฉพาะเรอ่ื งในพระพทุ ธศาสนาไมม่ ากกน็ ้อย คุณงามความดีใดถ้าเกิดข้ึนจาก
หนังสือเล่ม ผู้เขียนขอยกคุณงามความดีนั้นแก่บุรพาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทความรู้
เหล่านน้ั ดว้ ยความเคารพยิ่ง

พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.
อาจารยป์ ระจามหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

ข พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

คำนำ

พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทยได้ช่ือว่าลังกาวงศ์ ทั้งน้ีเพราะเมื่อ
๗๐๐ ปีที่ผ่านมา พ่อขุนรามคาแหงได้อาราธนาหัวหน้าพระสงฆ์ศรีลังกามาจาก
นครศรีธรรมราชในภาคใต้ มาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ท่ีกรุงสุโขทัย และ
เมือ่ ๒๕๐ ปที ่ีผ่านมา ชาวไทยได้มีโอกาส ตอบแทนคุณของศรีลังกาด้วยการที่พระเจ้า
บรมโกษฐ์ทรงส่งพระอุบาลีและคณะมาฟื้นฟูการอุปสมบทในศรีลังกา หลังจากท่ีสมณ
วงศ์ในเกาะลังกาได้ขาดสูญไป เพราะการกดขี่ของโปรตุเกส แต่ด้วยความเสียสละท่ี
ยิ่งใหญข่ องพระอบุ าลีที่ได้รบั อปุ สมบทในประเทศศรลี งั กา หลงั จากน้ันก็ได้ทาการฟื้นฟู
และมกี ารสถาปนาสยามนิกายในศรลี งั กาตามลาดบั

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่นได้ทาการเปิดการเรียนการ
สอนในระดับบณั ฑิตศึกษา มหาบณั ฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๕ และดุษฏี
บัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นมา ได้มีการจัดกิจกรรมเสริม
หลักสูตร และรายวิชาอย่างต่อเน่ือง ทั้งก็เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคคลกรและนิสิตซ่ึงเป็น
พระสงฆ์รุ่นใหม่เพ่ือให้เข้าใจในสถานการณ์ทางพระพุทธศาสนาท้ังในอดีตและปัจจุบัน
การเข้าใจในสถานการณ์เช่นน้ีจะทาให้นิสิตสามารถนาไปต่อยอดในการบูรณาการกับ
วจิ ยั ในชั้นเรียนหรือไมก่ ็วจิ ยั เพื่อพฒั นาองค์ไดถ้ ูกต้อง

ดั ว ย เ ห ตุ น้ี ท า ง ค ณ ะ นิ สิ ต จึ ง ข อ ข อ บ คุ ณ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรท่ีได้เปิดโอกาสให้นิสิตได้เปิดโลกทัศน์ในมุมทางศาสนา
และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับศาสนา จากประสบการณ์นี้กระผมและกลุ่มนิสิตท่ีไปศึกษา
นอกสถานท่ีจะนาองค์รู้ที่ไปปรับปรุงในการบริหารกิจการของตนเองเป็นเบื้องต้น ถ้ามี

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ค

โอกาสก็จะนาเสนอในองค์ที่สูงข้ึนไปตามลาดับ การจัดให้มีโครงการอย่างน้ีถือได้ว่าเป็น
ประโยชน์กับศึกษาเป็นอย่างมาก กลุ่มนิสิตปริญญาเอกก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่ม
นี้จะเป็นประโยชน์แก่ได้ศึกษาท่ีกลุ่มพยายามนาเสนอตามสติปัญญาท่ีพอมี ท่ีมากไปกว่า
น้ันก็ของส่วนแห่งบุญจงหนุนส่งให้พวกกระผมจงเป็นมีปัญญาเฉียบแหลมรู้แจ้งในธรรม
ดว้ ยเทอญ

คณะนสิ ิตพุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

ง พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา จ

สารบัญ หนา้

เรอื่ ง จ
คานา
สารบญั ช
รายช่ือนสิ ิตที่เข้าร่วมโครงการทัศนศึกษาดงู านศลิ ปวฒั นธรรมและ
พระธาตุเข้ยี วแกว้ ประเทศศรีลังกา ๑

บทที่ ๑ การศกึ ษาเฉพาะเรอ่ื งในพัฒนาการแห่งพระพทุ ธศาสนา ๑
ความนา ๔
๑.๑ บริบททางสงั คมศาสนาในสมัยพทุ ธกาล ๑๑
๑.๑.๑ อารยธรรมก่อนสมัยพุทธกาล ๑๘
๑.๒ พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจบุ ัน
๑.๓ พระพทุ ธศาสนากบั วทิ ยาการสมัยใหม่ ๓๐
๓๐
บทท่ี ๒ พระพทุ ธศาสนาในศรลี ังกา ๓๕
ความนา ๓๑
๒.๑ การปกครองคณะสงฆใ์ นประเทศศรีลงั กา ๓๘
๒.๑.๑ วนวาสกี ับคามวาสี ๔๖
๒.๑.๑ วนวาสกี บั คามวาสี ๔๘
๒.๑.๒ คณะสงฆฝ์ า่ ยคามวาสี ๕๔
๒.๒ บทบาทของพระสงฆ์คามวาสี ๕๘
๒.๓ ความเช่อื ท่ีมตี ่อพระเขีย้ วแก้ว ๖๗
๒.๔ พระพทุ ธบาทบนยอดเขาสุมนกูฏ
๒.๕ คติการบชู าพระพุทธรูป

ฉ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

บทที่ ๓ องคค์ วามรู้ที่ไดจ้ ากการศกึ ษาดูงานประเทศศรลี งั กา ๗๒
ความนา ๗๒
๓.๑ ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนาเถรวาทในประเทศศรีลงั กา
สู่ประเทศไทย ๗๒
๓.๒ ความสมั พันธ์ระหวา่ งพระพุทธศาสนาในประเทศศรลี ังกา
กับประเทศไทย ๑๐๙
๓.๓ วถิ ชี ีวิตของพุทธศาสนกิ ชนในประเทศศรลี ังกา ๑๔๑
๓.๔ สถานท่ที ี่มีความประทับใจในการทศั นศกึ ษา ๑๕๖
๓.๕ ส่ิงทไ่ี ดจ้ ากการศึกษา ๑๗๒
๓.๖ ประสบการณ์จะสามารถนาไปเปน็ แนวทางการพัฒนา
ในอนาคต ๑๘๒

บทที่ ๔ สรุป ๑๙๕
ความนา ๑๙๕
๔.๑ ความรเู้ ชงิ คณุ ภาพ ๑๙๕
๔.๒ ความรู้เชิงประมาณ ๒๐๒

บรรณานกุ รม ๒๑๐
ภาคผนวก ๒๑๒

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ช

รายชื่อนิสติ ที่เข้าร่วมโครงการทศั นศึกษาดงู านศิลปวฒั นธรรมและ
พระธาตเุ ข้ยี วแกว้ ประเทศศรลี ังกา

พระครวู รมงคลประยุต พระครวู ิบลู ภทั โรภาส พระครูสเุ มธธรรมกิจ
(โอภาโส)
เลขประจาตวั นสิ ติ เลขประจาตวั นสิ ติ
๖๐๐๕๑๐๕๐๐๒ เลขประจาตวั นสิ ิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๓
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๔ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

พระครูโสภณชยาภวิ ัฒน์ พระครูอดุ มธรรมวตั ร พระครอู ดุ รภาวนาคุณ
เลขประจาตวั นิสติ เลขประจาตัวนิสิต เลขประจาตัวนิสิต
๖๐๐๕๑๐๕๐๐๑ ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๖ ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๐

ซ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.
สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา

พระมหาก้องไพร สาคโร พระมหาทองสุข สุเมโธ พระรงุ่ ธรรม โชตธิ มโฺ ม
เลขประจาตวั นิสิต เลขประจาตวั นิสติ เลขประจาตัวนสิ ิต
๖๐๐๕๑๐๕๐๒๒ ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๕
สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา
สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา ๖๐๐๕๑๐๕๐๒๓ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา

พระวรี ะชาติ ธีรสทิ โฺ ธ พระศุภราชยั สรุ สกโฺ ก พระสราวฒุ ิ วสิ ารโท
(เพ็งแจ่ม)
เลขประจาตัวนิสติ เลขประจาตวั นิสติ
เลขประจาตวั นสิ ิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๕ ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๓
๖๐๐๕๑๐๕๐๐๙ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา
สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ฌ

พระอธกิ ารสายแพร พระอนสุ รณ์ ปรกฺกโม
กตปญฺโญ เลขประจาตัวนสิ ิต
๖๐๐๕๑๐๕๐๑๑
เลขประจาตวั นสิ ติ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา
๖๐๐๕๑๐๕๐๐๘
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

นางเจือจันท์ วังทะพนั ธ์ น.ส.จนั ทร์ศิริ พลอยงาม นายพิจิตร พงษเ์ กษ
เลขประจาตวั นสิ ิต เลขประจาตวั นิสิต เลขประจาตัวนิสิต
๖๐๐๕๑๐๕๐๑๗ ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๙
สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
๖๐๐๕๑๐๕๐๑๘ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

บทที่ ๑
การศกึ ษาเฉพาะเร่อื งในพัฒนาการแหง พระพทุ ธศาสนา
Selected Topics in Development of Buddhism

ความนาํ
การศึกษาพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนาในดานตางๆ โดยใหเห็นความ

เคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงในเชิงพัฒนาการและวิเคราะหถึงเหตุปจจัยแหงพัฒนาการ เชน
พัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานเปนตน การศึกษาเฉพาะเรื่องใน
พัฒนาการแหงพระพุทธศาสนาจึงเปนเร่ืองที่สมควรอยางย่ิงที่จะตองศึกษาเพื่อใหเห็นถึง
พัฒนาจากอดีตถึงปจจุบัน พระพุทธศาสนามีประวัติและหลักคําสอนที่มีความชัดเจน
แนนอน และไมใชเรื่องของความคิดเห็น แตเปนเรื่องจริง จะเห็นจากคําสอนท่ี
พระพทุ ธเจา สอนมใิ หเ ชื่ออะไรอยางงมงายไรเหตุผล ใหใชปญญากํากับความเชื่ออยูเสมอ
นอกจากนนั้ ยังสอนใหร ูจักพิสจู นความจริง ดวยการทอลอง การปฏิบัติ และการพิจารณา
อยางถ่ีถวน ดังนั้น เพ่ือใหผูอานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาเฉพาะเรื่องใน
พระพทุ ธศาสนา ผเู ขยี นจงึ ไดรวบรวม เรียบเรียงบางเรื่องท่ีเห็นวานาจะเปนประโยชนแก
ทานผอู านหรอื ผทู ี่กําลังศึกษาจึงไดกําหนดหัวเรื่องที่เห็นวาเปนประเด็นทางสังคมที่กําลัง
ใหความสนใจ ดงั จะมีรายละเอียดในแตละบททจ่ี ะไดกลาวตอ ไป

๑.๑ บรบิ ททางสังคมศาสนาในสมัยพุทธกาล
อินเดยี เปนประเทศท่ีเกาแกที่สุดประเทศหน่ึงของโลก เคียงคูกับจีน อียิปต มี

อารยธรรมที่เกาแกมากมาย ผืนดินแหงนี้เปรียบเสมือนหัวใจของโลกเพราะที่นี่มี
ศาสนาเกิดขึ้นหลายศาสนา ผลิตกระแสหลอเล้ียงจิตใจประชากรหลายสวนของโลก
ศาสนาที่เกิดในแผนดินสวนนี้ คือ ศาสนาพราหมณ หรือฮินดูพุทธศาสนา ศาสนาเชน
ศาสนาซิกซ รวมทั้งลัทธิที่เกิดใหมเชน บาไฮ และไสบาบา เม่ือรวมผูนับถือศาสนาที่

ò ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

เกิดในอินเดีย มีมากถึง ๑,๕๐๐ ลานคนทั่วโลก คําวา “อินเดีย” (India) เปนคําใหม
ในยุคกอ นพทุ ธกาลถกู เรยี กวา ชมพูทวีป และภารตประเทศในภาษาสันสกฤต

ดินแดนอินเดียโบราณ ในทางศาสนามักจะเรียกกันวา “ชมพูทวีป” ในทาง
ภูมิศาสตรมักเรียกวา“เอเชียใต” หรือ “อนุทวีปอินเดีย” สวนชาวอินเดียเอง เรียก
ดนิ แดนของเขาเองวา “ภารตวรรษ” (Bharatavarsa) ซ่ึงมีความหมายวา ถิ่นที่อยูของ
ชาวภารตะ

ชอ่ื “อินเดีย” มาจากคาํ ภาษาสันสกฤตวา “สินธุ” (Sindhu) ซ่ึงเปนชื่อแมนํ้า
สายสําคัญทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียโบราณ ตอมาชาวเปอรเซียท่ีเขามา
รกุ รานดินแดนแถบน้ีไดเ ปล่ยี นตัวพยัญชนะ S เปน H เรยี กชือ่ ดนิ แดนแถบน้ีวา Hindu
หรือ Hidu ตอมาพวกกรีกท่ีเขามาในสมัยหลังไดตัดตัว H ออกแลวแผลงเปน Indos
ซงึ่ เพยี้ นไปเปน Indus และ India ตามลําดับ ในสมัยตนช่ือนี้ใชเรียกเฉพาะดินแดนใน
บริเวณลุม นํ้าสินธุ ตอ มาจงึ ไดใ ชเรียกดินแดนทีเ่ ปน ประเทศอนิ เดยี ทัง้ หมด๑

อารยธรรมอินเดียนั้น ตองทําความเขาใจเปนลําดับแรกวา มิไดจํากัดเฉพาะ
เปนอารยธรรมที่ปรากฏอยูในขอบเขตของ “ประเทศอินเดีย” ในปจจุบันเทานั้น ทั้งน้ี
เน่ืองจากประเทศอินเดียในปจจุบัน คือ ประเทศที่ไดต้ังขึ้นหลังจากการไดรับเอกราช
จากอังกฤษในป ค.ศ. ๑๙๔๗ โดยเปนสวนหนึ่งของดินแดนท่ีรูจักกันในนามอินเดียมา
ตัง้ แตสมยั โบราณ ดงั นนั้ ความหมายของดินแดนทีเ่ รียกวา “อินเดีย” และ “อารยธรรม
อนิ เดยี ” ซ่งึ ดาํ เนนิ มาเปน เวลายาวนานนั้น จึงมีขอบเขตกวางขวางกวาประเทศอินเดีย
ในปจจุบัน โดยอาจเรียกไดวาครอบคลุมอาณาเขตของเอเชียใตโดยรวม ซึ่งในปจจุบัน
ประกอบดวยหลายประเทศ สวนในอดีตดินแดนเหลานั้นก็มิไดรวมเปนอันหนึ่งอัน
เดียวกัน ในทางตรงขามจะมีการแบงแยกเปนอาณาจักรหรือแวนแควนตางๆ ท่ีเปน

๑ ธิตมิ า พิทักษไ พรวัน, ประวตั ิศาสตรยคุ โบราณ, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,
๒๕๒๒), หนา ๖๘ – ๖๙.

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ó

อิสระตอกัน มีภาษา เชื้อชาติ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และศาสนาที่
แตกตางกนั ไป๒

ประเทศอินเดียประกอบข้ึนดวยอาณาบริเวณท่ีกวางใหญไพศาล มีเนื้อที่
ทั้งหมดเทากับทวีปยุโรปไมนับรวมรัสเซีย โดยเหตุน้ี ลักษณะภูมิประเทศและดินฟา
อากาศจึงแตกตางกันอยางมากมาย บริเวณภูเขาสูงทางตอนเหนือ รวมทั้งเทือกเขา
หิมาลยั ซง่ึ มียอดเขาสูงสุดในโลก ยาวขนานไปกับพรมแดนดานเหนือเปนระยะทางถึง
๑,๖๐๐ ไมล มียอดเขาปกคลุมดวยหิมะตลอดท้ังป ในขณะที่ทางดานตะวันตกเฉียง
เหนอื มที ะเลทรายธาร (Thar) อันรอนระอุและแหงแลง นอกจากนั้นยังมีบริเวณท่ีราบ
ลุมแมนํา้ อนั อดุ มสมบรู ณ เชน ลมุ นํ้าคงคา และลุม นา้ํ สนิ ธุ

อินเดียเปนอีกดินแดนหนึ่งในสมัยโบราณที่สภาพทางภูมิศาสตรมีอิทธิพล
อยางมากตอความเปนไปทางประวัติศาสตร อินเดียมีแมนํ้าสายลึกๆ มีเทือกเขาที่ปก
คลุมดวยปา ทึบ เตม็ ไปดวยสัตวรายและโรคภัยไขเจ็บ มีทะเลทรายรอนระอุ สิ่งเหลานี้
เปนปจจัยทางธรรมชาติสําคัญท่ีทําใหอินเดียแบงออกเปนแวน แควนใหญนอย ขาด
การติดตอซึ่งกันและกัน เจริญขึ้นมาเปนหนวยทางการเมืองและสังคมท่ีมีลักษณะโดด
เดย่ี ว ขาดความสัมพันธย่งั ยืนถาวรระหวางกนั

ดานความสัมพันธกับภายนอก เทือกเขาหิมาลัยซ่ึงยาวเหยียดไปตลอดแนว
พรมแดนดานเหนือของอินเดีย กับชายฝงทะเลยาวเหยียดเปนปราการธรรมชาติที่กัน
อนิ เดียออกจากสวนอื่น ๆ ของทวีปเอเชีย และชวยใหอินเดียไดมีโอกาสสรางสมอารย
ธรรมท่มี ีลกั ษณะเฉพาะตน อยางไรก็ตาม เคร่ืองกีดขวางทางธรรมชาติ เชน ภูเขาและ
ทะเล มิไดกันอินเดียใหปลอดภัยจากการรุกรานภายนอก ปรากฏวาต้ังแตสมัยโบราณ
อนิ เดียไดรบั ภยั จากผรู กุ รานอยเู สมอ ผูรุกรานเหลานีไ้ ดอาศัยชองเขาทางภาคตะวันตก

๒ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม
(กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาประวตั ศิ าสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕),

หนา ๓๑.

ô ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

เฉียงเหนือเปนชองทางเขา สูอินเดียเชน ชองเขาไคเบอร (Kyber) และชองเขาโบลัน
(Bolan)๓

อยางไรกต็ าม แมว า แตละอาณาจกั รจะมีประวัติศาสตรความเปนมาของตนซ่ึง
มีระยะเวลาการกําเนิด รุงเรืองและเสื่อมสลายหมุนเวียนกันไป แตการท่ียังคงมี
การศึกษาอารยธรรมในบริเวณน้ีรวมกันในฐานะเปนอารยธรรม อินเดียโดยรวม
เน่ืองจากภายใตความหลากหลายนี้ ยังมีลักษณะรวมสําคัญทางอารยธรรมอยูบาง
ประการ คือ เปนอารยธรรมที่มีพ้ืนฐานมาจากการวางรากฐานของอารยันซึ่งเปนคน
สวนใหญในบริเวณน้ี โดยมีศาสนาพราหมณ-ฮินดูเปนหลักสําคัญท่ีกําหนดความคิด
ความเช่ือ วิถีชีวิตและการสรางสรรคทางศิลปะ ถึงแมวาจะมีคนกลุมอ่ืนหรือมีศาสนา
อ่ืนรวมอยูดวย แตก็นับวาเปนอารยธรรมของอารยันและศาสนาพราหมณ-ฮินดู คือ
อารยธรรมกระแสหลักของบริเวณน้ี๔

๑.๑.๑ อารยธรรมกอนสมัยพทุ ธกาล
เหตุท่ีผูเขียนตองเริ่มการอธิบายสังคมอินเดียสมัยพุทธกาลจากอารยธรรมยุค
โบราณกอนสมัยพุทธกาลก็เพ่ือใหผูอานไดเขาใจสภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
และความเชื่อของคนอินเดียในสมัยพุทธกาลไดอยางถองแทและจะทําใหเขาใจ
พระพุทธศาสนาที่บังเกิดข้ึนในสังคมอินเดียสมัยนั้นในฐานะท่ีเปน “ปรากฏการณทาง
สังคม” (Social Phenomenon) ที่มีการเกิดข้ึนและมีพัฒนาการสัมพันธอยูกับสภาพ
สังคมในยุคนั้น อารยธรรมอินเดียยุคโบราณสามารถแบงไดเปน ๒ ยุค คือ อารยธรรม
สมัยสนิ ธุ และอารยธรรมสมยั อารยัน

๑.๑.๑.๑ อารยธรรมสมยั สินธุ เปน อารยธรรมเกาแกท่ีสุดเทาที่ปจจุบันมี
การคนพบในบริเวณอนุทวีปอินเดีย วิธีการศึกษาคนควาเก่ียวกับอารยธรรมสมัยสินธุ

๓ ธติ ิมา พิทกั ษไพรวัน, ประวตั ศิ าสตรย คุ โบราณ, หนา ๖๙.
๔ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม, หนา
๓๑.

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò õ

ตั้งแตอดีต คือต้ังแตคริสตศตวรรษท่ี ๒๐ ไดอาศัยการศึกษาทางโบราณคดีเปนสําคัญ
เน่ืองจากในระยะนั้นยังเปนชวงท่ีอังกฤษปกครองอินเดียในฐานะอาณานิคมอยู ดังน้ัน
นกั โบราณคดที ่มี บี ทบาทสาํ คญั จงึ เปนนักโบราณคดอี งั กฤษ ชื่อ“เซอรจอหน มารแชล”
(Sir John Marshell) เช่ือกันวาอารยธรรมสมัยสินธุเปนอารยธรรมของคนพ้ืนเมือง
เดิมกอนการรุกรานของพวกอารยันจากภายนอก มีความเจริญอยูระหวาง ๒,๕๐๐ –
๑,๕๐๐ ปกอนคริสตกาล โดยมีระยะเวลาใกลเคียงกับอารยธรรมอียิปตและเมโสโปเต
เมีย อยา งไรก็ตาม เนอื่ งดว ยการศกึ ษาอารยธรรมสมัยสนิ ธมุ ีขอจํากัดประการสําคัญคือ
ยังไมสามารถอานตัวอักษรท่ีคนพบได จึงทําใหองคความรูตางๆ เก่ียวกับอารยธรรม
สมัยน้มี ีอยอู ยางจํากัด ตอ งอาศยั การตีความและสนั นิษฐานประกอบเปนอยางมาก๕

๑) ที่ต้ังอารยธรรม สมัยสินธุไดช่ือตามแหลงที่มีการขุดคนความเจริญครั้ง
แรกบริเวณลุมแมน้ําสินธุ สวนใหญของเขตความเจริญของอารยธรรมน้ีจึงอยูใน
ประเทศปากีสถานในปจจุบัน เมืองสําคัญที่ไดมีการขุดคนในรุนแรกๆ คือ ฮารัปปา
(Harappa) ซ่งึ อยใู นแควน ปญ จาบ (Panjab) และโมเฮนโจดาโร (Mohenjo-Daro) ซ่ึง
อยูในแควนซินด (Sind)๖ ตอมาไดพบรองรอยความเจริญในรุนราวคราวเดียวกันทาง
ตะวันตกเฉียงเหนอื ของ อินเดียดวย เชน เมอื งกลิบังคัน (Kalibangan) ในรัฐราชสถาน
และเมืองโลธัล (Lothal) ในรัฐคุชราตของอินเดีย๗ ดวยเหตุนี้ทําใหในเวลาตอมาไดมี
ขอเสนอวา ขอบเขตความเจริญของอารยธรรมสมัย สินธุกวางขวางกวาเฉพาะแคลุมนํ้า
สินธุดังที่เคยเช่ือกันมาแตตน ดังนั้นในที่น้ีจึงไดเรียกอารยธรรมอันเกาแกที่สุดในอารย
ธรรมอินเดียนี้ วา “อารยธรรมสมัยสินธุ” แทน “อารยธรรมลุมนํ้าสินธุ” เพ่ือให
ความสําคัญแก “อายุ” ของอารยธรรมในรุนราวคราวเดยี วกันมากกวา “ท่ตี งั้ ”๘

๕ เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๓.
๖ อางแลว .
๗ ธิติมา พทิ กั ษไพรวนั , ประวตั ิศาสตรยคุ โบราณ, หนา ๗๑.
๘ ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร คณะอักษรศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย, อารยธรรม, หนา ๓๓.

ö ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »ÚâÞ,¼È.´Ã.

๒) ความเจริญของอารยธรรมสมัยสินธุ ในหัวขอน้ีจะศึกษาถึงความรู
เก่ียวกับอารยธรรมสมัยสินธุซึ่งมีความสืบ เน่ืองมาจากการขุดคนทางโบราณคดีต้ังแต
ตนคริสตศตวรรษที่ ๒๐ โดยการวางรากฐานของนักโบราณคดีชาวอังกฤษ โดยมี
ประเดน็ ทนี่ า สนใจดงั น้ี

(๑) ความเปนอารยธรรมเมืองและมีการวางผังเมือง จากการขุดคนเมือง
สําคัญท้ังโมเฮนโจดาโร ฮารัปปาและเมืองอ่ืนๆ ตางก็พบลักษณะความเจริญในระดับ
อารยธรรมเมือง มีการวางผังเมืองท่ีเปนระบบ โดยเฉพาะอยางย่ิงฮารัปปาและโมเฮน
โจดาโร พบกวามีการตดั ถนนเปน ตาราง ถนนสายสําคัญวัดความกวางไดถึง ๓๓ ฟุต มี
อาคารบานเรือนอยู ๒ ฟาก โดยอาคารเหลาน้ีมีขนาดเล็กใหญแตกตางกันไปซ่ึงนาจะ
ข้ึนอยูกับฐานะของผู เปนเจาของ ริมถนนมีทางระบายนํ้าเช่ือมตอออกมาจากอาคาร
บานเรือน มีสระนํ้าขนาดใหญกอดวยอิฐขนาด ๓๙ r ๒๓ ฟุต และซากสิ่งกอสรางซ่ึง
สนั นิษฐานวา เปนยุงขา วใหญโต๙

(๒) พิธีกรรมและความเชื่อเก่ียวกับเทพเจา สมัยสินธุเชื่อวามีความคิด
เกี่ยวกับการบูชาเทพเจาและการทําพิธีกรรมตางๆ ซ่ึงนาจะมีอิทธิพลตอเน่ืองมาสู
อารยันในเวลาตอมาดวย หลักฐานที่แสดงถึงความเช่ือและการทําพิธีกรรมนี้มีหลาย
ประการทส่ี าํ คัญคือ การพบดวงตราท่ีมีลักษณะเปนชาย ๓ หนา ๓ ตา นั่งขัดสมาธิบน
บัลลังก รายรอบดวยสัตวตางๆ ซ่ึงสันนิษฐานวาเปนตนกําเนิดของเทพเจาองคสําคัญ
ของฮินดูในเวลาตอมา คือพระศิวะในปางท่ีเรียกวา ปศุบดี ผูเปนเทพเจาแหงสัตว
ทั้งหลายและเปนเทพเจาแหงความอุดมสมบูรณ ย่ิงไปกวานั้นยังเชื่อวานาจะมีการโยง
ความคิดความเช่ือในทางพิธีกรรมเขา กับการปกครองดวย เพราะมีการพบ
ประตมิ ากรรมรปู ชายมีเคราใบหนาสงบนง่ิ และหมผา เฉยี งบา ประติมากรรมในลักษณะ
ทคี่ ลายคลงึ กนั นไี้ ดพบในอารยธรรมเมโสโปเตเมียซ่ึง สามารถอานตัวอักษรไดแลวดวย

๙ ธิติมา พิทักษไพรวัน, ประวัติศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๐: ภาควิชาประวัติศาสตร
คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย, อารยธรรม, หนา ๓๔.

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ÷

โดยมีความหมายถึงผูปกครองท่ีเปนกษัตริยนักบวช เมื่อเปนท่ียอมรับวาเมโสโปเตเมีย
และอินเดียในสมัยสินธุนี้มีการติดตอกัน ดังน้ันการพบประติมากรรมในลักษณะนี้ที่
อารยธรรมสมัยสินธุก็นาจะมีความหมาย ทํานองเดียวกัน ในสวนของโบราณสถานนั้น
ท่ีสําคัญคือ ในบริเวณซากเมืองโมเฮนโจดาโรเขาใจวามีสวนท่ีเปนศาสนสถานอยูดวย
โดยมีลักษณะเหมือนสระน้ําขนาดใหญซึ่งนาจะเปนท่ีชําระรางกายใหบริสุทธิ์ กอนทํา
พิธีกรรม เพราะความเชือ่ เชน นย้ี ังคงพบไดใ นอารยธรรมอินเดียในสมัยตอมาอันอาจจะ
เน่ืองจากไดร บั อทิ ธิพลสบื เนื่องจากสมยั น้กี เ็ ปน ได๑๐

(๓) การเปนอารยธรรมของพวกดราวิเดียน พิจารณาจากหลักฐานท่ี
คนพบในสมัยสินธุพบวามีความแตกตางจากอารยธรรมสมัย อารยันอยางเห็นไดเชน
เชน การคนพบประติมากรรมรูปคนซึ่งมีหนาตาแตกตางจากพวกอารยัน พวกอารยัน
สมัยพระเวทดําเนินชีวิตความเปนอยูตามแบบสังคมชนบท สวนลักษณะอารยธรรม
สมัยสินธุเจริญขึ้นตามแบบสังคมเมืองใหญ ลักษณะเคร่ืองมือเคร่ืองใช อาวุธก็ผิดกัน
พวกอารยันในสมัยพระเวทรูจักการใชเหล็กอยางแพรหลาย นําเหล็กมาประดิษฐเปน
เกราะและโล ซ่ึงไมเคยปรากฏในอารยธรรมสมัยสินธุ พวกอารยันใชมาเปนพาหนะ
อยางกวางขวาง แตไ มป รากฏในอารยธรรมสมัยสนิ ธุ นอกจากน้อี ารยธรรมสมัยสินธุก็มี
ความเกาแกมากกวาอารยธรรมอารยัน จึงสรุปกันวาผูสรางอารยธรรมสมัยสินธุน้ีเปน
คนพื้นเมืองดั้งเดิมกอนที่ พวกอารยันจะเขามารุกราน คนเหลานี้คือ พวกดราวิเดียน
ซึ่งสันนิษฐานวาเปนชนเผานิโกรเผาหน่ึง มีรูปรางเตี้ย ผิวดํา จมูกแบนกวาง ริมฝปาก
หนา มีความแตกตางจากพวกอารยันอยางชัดเจน เม่ือพวกอารยันเขาไปในอินเดียได
รุกรานพวกดราวิเดียนจากทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือและขับไลพวกดราวิเดียนถอยรน

๑๐ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม,
หนา ๓๔ – ๓๕.

ø ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ไปทางทิศตะวันออกแถบลุมนํ้าคงคา บางกลุมไดปะปนสายโลหิตกับพวกดราวิเดียน
เกิดเปน ชนกลมุ ใหมเ รยี กวา พวกฮินดู๑๑

อยางไรก็ตาม ผลจากการศึกษาของนักวิชาการชาวอินเดียต้ังแตทศวรรษท่ี
๑๙๘๐ เปนตนมา ไดมีขอเสนอใหม ๆ หลายประเด็น เชน ขอบเขตความเจริญนาจะ
กวางขวางกวาลุมนํ้าสินธุ (ดังกลาวแลว) ระยะเวลาความเจริญนาจะเกาแกไปถึง
๕,๐๐๐ ปกอนคริสตกาล และประเด็นสําคัญซึ่งเปนท่ีนาสนใจและถกเถียงกันมากคือ
ผสู รา งอารยธรรมอาจจะเปน ดราวิเดียนก็ได หรืออารยันกไ็ ด ทั้งน้ีโดยมีการใชหลักฐาน
ใหม ๆ เพ่ิมเติมนอกเหนือจากหลักฐานทางโบราณคดี เชน การศึกษาเทียบเคียง
ลักษณะตัวอักษรในสมัยตาง ๆ การตีความจากขอความในคัมภีรพระเวท ซ่ึง
นักวิชาการตา งชาตอิ าจจะไมสามารถเขาใจไดอยางลึกซึ้ง เปนตน ประเด็นเรื่องผูสราง
อารยธรรมสินธุนม้ี คี วามสําคัญตอประวัติศาสตรและ อารยธรรมอินเดียมาก เพราะถา
เช่ือวาเปนพวกอารยันแลว จะทําใหทฤษฎีที่วาอารยันคือผูรุกรานจากภายนอกตอง
เปลย่ี นแปลงไปดวย อยา งไรก็ตาม ขอ เสนอเหลานี้ยังไมไดเปนขอสรุป ดังน้ัน ในที่น้ีจึง
ยงั คงอธบิ ายตามแนวคดิ ของนกั วิชาการตะวนั ตกเปน สําคัญ๑๒

๑.๑.๑.๒ อารยธรรมอารยัน ในขณะทย่ี งั ไมไดขอ สรุปซ่ึงเปนท่ียอมรับกัน
โดยท่วั ไปวาอารยันคอื กลมุ คน พืน้ เมอื งด้ังเดิมกลุมหนึ่งในอินเดียตั้งแตสมัยสินธุนั้น ใน
ที่น้ีจึงอธิบายสมัยอารยันในฐานที่เปนสมัยของการรุกรานจากภายนอกและกอใหเกิด
ความเปล่ียนแปลงทางอารยธรรมครัง้ ทีส่ ําคญั อันเปนพ้ืนฐานของอารยธรรม อินเดียใน
เวลาตอมา

๑๑ ธิติมา พิทักษไพรวัน, ประวัติศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๑– ๗๓: ภาควิชา
ประวตั ศิ าสตร คณะอกั ษรศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , อารยธรรม, หนา ๓๔.

๑๒ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม,
หนา ๓๔.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ù

๑) ภูมิหลังของอารยัน ภูมิหลังของอารยันคือ ราว ๒,๐๐๐ ปกอน
คริสตกาลมีชนชาติท่ีพูดภาษาอินโด-ยุโรเปยน (Indo-European) อยูบริเวณรอบๆ
ทะเลสาปแคสเปยน ตอมาชนบางกลุมในกลุมน้ีไดอพยพกระจัดกระจายไปในหลายๆ
บรเิ วณ กลุมหนึ่งไปทางทิศตะวันตกและกระจายไปเปนพลเมืองของประเทศตางๆ ใน
ทวปี ยโุ รปปจ จบุ ัน เรยี กวา “ยโู รเปยน-อารยัน” (European-Aryan) พวกทีส่ องไปทาง
ตะวันตกเฉียงใตผานหุบเขาออกซัส (Oxus vallry) เขาไปในอัฟกานิสถานปจจุบัน
หลังจากตั้งหลักแหลงอยูระยะหนึ่ง พวกน้ีก็ขยับขยายไปทางทิศตะวันตกเขาไปยัง
เปอรเซีย พวกน้ีเรียกวา “เปอรเซียน” (Persian) หรือ “อิเรเนียน” (Iranian) ซึ่งมา
จากคาํ วา “อารฺยาณามฺ” แปลวา ดินแดนของชาวอารยะ พวกที่สามไปทางตะวันออก
ผา นชองเขาไคเบอรเ ขาไปในอินเดีย เรียกวา “อินโด-อารยัน” (Indo-Aryan) ซึ่งเขามา
รกุ รานอินเดยี เม่ือประมาณ ๑,๕๐๐ ปก อนครสิ ตก าล๑๓

ชาวอินโดอารยันเปนพวกก่ึงเรรอน ผิวขาว รูปรางสูงใหญ ดํารงชีพดวย
การเลี้ยงสัตว เปนสังคมเผานักรบ มีความสามารถในการใชมาและรถเทียมมาท่ี
เคล่ือนที่ไดรวดเร็ว การเขามาในอินเดียของอารยันน้ันเร่ิมเมื่อประมาณ ๑,๕๐๐ ป
กอนคริสตกาล และเชื่อวาไมไดเปนการรุกรานเขามาในคราวเดียวหรือโดยคนกลุม
เดียว แตเปนการรุกรานในเวลาหลายศตวรรษและเปนคนหลายกลุมซ่ึงอาจจะผาน
ประสบการณและผานเสนทางการอพยพท่ีแตกตางกัน ดังนั้นถึงแมวาจะเปนคนเช้ือ
สายอารยันดวยกัน แตคนเหลานี้ก็มีความแตกตางกันในดานภาษาและวัฒนธรรม
ลักษณะความหลากหลายดงั กลาวนจี้ ึงยงั คงปรากฏอยใู นอนิ เดยี เวลาตอมา๑๔

๑๓ ธติ มิ า พิทักษไ พรวนั , ประวัติศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๔: กรมการศาสนา กระทรวง
วัฒนธรรม, ศาสนาสรางสันติ (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ

(ร.ส.พ.), ๒๕๔๙), หนา ๑๓๔.
๑๔ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม,

หนา ๓๕.

ñð ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

ชาวอารยันเปนพวกก่ึงเรรอนเล้ียงสัตว ดํารงชีวิตอยูกับการเล้ียงปศุสัตว
แมวัวเปนสมบัติหรือทรัพยสินที่มีคามาก และอาจเปนดวยเหตุนี้เองท่ีทําใหแมวัวเปน
สัตวท่ีเคารพบชู า มีการหา มบริโภคเนื้อวัวยกเวนในบางโอกาสซึ่งถือเปนเทศกาลพิเศษ
คุณคาในทางเศรษฐกิจของวัวทําใหคาควรเคารพดูสูงขึ้นและนาจะเปนตนเคาของ
ทัศนะของคนฮินดูที่ถือวาวัวเปนสัตวศักด์ิสิทธ์ิ นอกจากน้ีพวกอารยันใชมาสําหรับข่ี
และในการรบพุงใชมาเทียมรถรบ เมื่อเขามาในอินเดีย สัตวปาพวกแรกที่พวกอินโด
อารยันรูจ กั คือ สิงโต เสอื และชางตามลําดับ ชางเปนสัตวประหลาดในสายตาของพวก
อินโดอารยนั จึงเรียกชางวา มฤคหัสดิน ซ่ึงแปลวาสัตวปาที่มีมือ อันหมายถึงงวงชาง งู
เปนสัตวราย แตแฝงไวดวยพลังและอํานาจ ความหมายนี้อาจมาจากการท่ีพวกอินโด
อารยนั ไดเ กิดขัดแยง กบั ชนเผานาคาซงึ่ นบั ถอื งู๑๕

๒) การขยายตัวและต้ังถิ่นฐานของอารยัน พวกอารยันไดเริ่มเขามา
อินเดียทางดานตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งเสนทางนี้ตอ ไปจะเปนเสนทางสําคัญท่ีอินเดีย
จะถูกรุกรานจากภายนอกอีกหลายระยะตอมา จากนั้นอารยันก็ไดขยายตัวจากทาง
ตะวันตกเขา ไปทางตะวันออก โดยมีการรบพุงระหวางอารยันดวยกันเองดวย เพ่ือแยง
ชิงดินแดนอันอุดมสมบูรณ การขยายตัวของอารยันในระยะแรกนี้จะขยายเขาไปสู
บริเวณลมุ แมน ้ําคงคาและตอ ไปทางตะวันออกถึงแถบเบงกอลเปน สําคญั ๑๖

เมื่อตั้งรกรากในอินเดียแลว พวกอินโดอารยันก็เร่ิมประกอบอาชีพตาง ๆ กัน
ออกไป มีการเปลยี่ นแปลงจากปศุสัตวมาเปนกสิกรรม ทั้งน้ีเม่ือพวกอารยันรูจักการใช
เหลก็ แลว เครือ่ งมอื เครือ่ งใชก็ดีกวาเกา การหักรางถางพงก็สะดวกงายดายข้ึน เกื้อกูล
ตอการอยูเปนที่เปนทางและทํามาหากินดวยการทําไรไถนา ในช้ันตนถือกันวาที่ดิน
เปนสมบัติรวมของในหมู แตเมื่อสภาพหมูเริ่มหมดไปมีการแบงท่ีดินใหแกครอบครัว

๑๕ ธติ มิ า พิทกั ษไพรวัน, ประวตั ิศาสตรยุคโบราณ, หนา ๗๔.
๑๖ ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, อารยธรรม,
หนา ๓๕.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ññ

กลายเปน สมบัติสว นตัวจึงเกดิ ปญหาตามมา เชน สิทธิในการครอบครอง การวิวาทกัน
ในสิทธิดังกลาว ตลอดจนการรับชวงมรดกท่ีดิน เปนตน เมื่อสังคมกลายมาเปนสังคม
เกษตรกรรมแลว อาชีพอื่น ๆ ก็ตามมา ที่สําคัญ เชน อาชีพชางไมประกอบรถมา
(chariot) ชางทําคันไถ ชางโลหะ ชางปนหมอ ชางเครื่องหนัง จากนั้นไดเกิดการคา
เมื่อมีการหักรางถางพงในดินแดนทางตะวันออกเขตลุมนํ้าคงคาแลว ก็ไดอาศัยแมน้ํา
คงคาเปน เสน ทางคมนาคมเพือ่ การคา มีชุมนุมชนใหม ๆ เกิดขึ้นบนฝงแมนํ้ากลายเปน
ตลาดการคา พวกเจาของที่ดินที่มีเงินก็มักจะจางคนอ่ืนทํางานในที่ดินของตนแลว
ตัวเอง หันมาจับอาชีพการคา เพราะมีเวลาวางและมีเงินทุน จึงเกิดเปนชุมชนคาขาย
ข้ึน การคาในชั้นตนเปนเรื่องเฉพาะในทองถิ่น การแลกเปลี่ยนสินคา (barter) ปฏิบัติ
กันทั่ว ๆ ไป ยกเวนในกรณีท่ีเปนการคารายใหญจะใชแมวัวเปนหนวยในการบอก
ราคา๑๗

จึงเห็นไดวาอารยธรรมยุคโบราณของอินเดียมีจุดเร่ิมตนจากอารยธรรมสมัย
สินธุซึ่งเช่ือกัน วาเปนของชนเผาดราวิเดียน ตอมาชนเผาดราวิเดียนไดถูกชนเผา
อารยันกลุมหน่ึงเขารุกรานจนบางสวนถอย รนไปอยูปลายแดน อีกสวนหนึ่งถูกจับลง
เปนทาสรับใช ตนเคาของคติความเช่ือตางๆ ของสังคมอินเดียไมวาจะเปนศาสนา
พราหมณและระบบวรรณะลวนถือกําเนิดขึ้นใน ยุคพระเวทของอารยธรรมอารยันท่ี
พวกอารยนั เขามายึดครองดนิ แดนแถบนี้

๑.๒ พระพุทธศาสนากับสถานการณปจ จุบัน
สถานการณปจจุบัน คือ ความเปลี่ยนแปลง ความเคล่ือนไหว (movement)

ของเหตุการณ (Event) ความเห็น (opinion) ความคิด (thought) เกี่ยวกับ
พระพุทธศาสนา หรือสถานบันทางพระพุทธศาสนา อันดําเนินไป หรือท่ีเปนอยูใน
ปจจุบนั

๑๗ ธิติมา พิทกั ษไพรวนั , ประวัติศาสตรยคุ โบราณ, หนา ๗๔ – ๗๕.

ñò ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ในการศึกษา ใชวิธีการตามเสาะแสวงหาขบวนการของชาวพุทธท่ัวโลกท่ี
เคลอื่ นไหว ดําเนนิ การเพื่อเปา ประสงคอยา งใดอยางหน่งึ ตดิ ตามเหตุการณตาง ๆ ของ
โลก เชน กระแสโลกา ภิวัตน เพื่อการวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ ตามหลักวิชาและนํา
พุทธธรรมไปปรับใชใหเหมาะสมกับเหตุการณน้ัน ๆ ศึกษาวิเคราะหความเห็น และ
ความคิด ของมนุษยชาติที่มีตอศาสนธรรม และศาสนบุคคลของพระพุทธศาสนา
รวมทั้งศึกษาแนวความคิดและอุดมการณ (ideology) ที่ขัดแยงและสอดคลองกับ
พระพุทธศาสนา เพอื่ การปรบั แกส ว นทีบ่ กพรอ ง

ในดานบทบาท (roles) คือ สวนที่ผูแสดง ไดแก พระพุทธศาสนาหรือองคกร
พุทธจะตองแสดงก็ดี ภารกิจหรือหนาที่ของบุคลากรในศาสนาจะตองทําก็ดี จะตอง
พิจารณาวา ผูมีหนาที่ไดแสดงบทบาทเหมาะสมเพียงใดไมวาในสวนของบทบาทแท
(proper roles) หรือบทบาทตามจารีตประเพณี (customary roles)

บทบาทแท คอื บทบาทตามพระธรรมวินัย หรือ บทบาทตามพระราชบัญญัติ
ปกครองสงฆ สถานบันสงฆไดทําหนาที่สมบูรณหรือไมพุทธบริษัทไดดําเนินบทบาท
ตามพุทธประสงคห รอื ไม

บทบาทตามประเพณี คือ บทบาทที่ผูคนคาดหวังใหสถานบันสงฆรวมท้ังพุทธ
บริษทั ไดแสดง ในภาวการณบางอยาง เชน ในยามที่สังคมวิกฤตดวยปญหา เศรษฐกิจ
ปญหาการเมือง และสังคม

บทบาทแท : สถาบนั สงฆ เกิดจากเจตนารมณ ของบุคคลที่ตองการฝกตนเพ่ือ
พน ทุกขจนเกิดสันติสขุ ในตนเอง และนําสันติสุขนั้นมอบใหแกโลก โดยมองเห็นตรงกัน
วา ชวี ติ ทีเ่ กี่ยวของโลกียวสิ ัย เปน ทางคบั แคบ ไมปลอดโปรง ติดอยูในเคร่ืองผูกมัด คือ
วัตถุ (กามคุณ) ไดแ ก รปู เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ จมผดุ อยูใ นสิ่งทั้ง ๕ นี้เทานั้น ชีวิต
ครองเรือนไมมีอิสระ ขาดความคลองตัว ดังนั้น บทบาทแทของชาวพุทธ โดยเฉพาะผู
เปน บรรพชติ คือ

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ñó

(๑) แสวงหาสิ่งท่ีประเสริฐ ดังพระพุทธองคตรัสวา “การแสวงหาไมประเสริฐ
คือ แสวงหาส่ิงที่มีความเกิด ความแก ความตาย ความเศราโศก ความเศราหมองเปน
ธรรมดา สว นการแสวงหาอันประเสรฐิ คอื แสวงหานิพพาน”๑๘

แมการเรียน การศึกษาธรรม ก็มีเปาหมายอยูที่การดับทุกข ดังตรัสวา
“ผูเรียนธรรม แตไมพิจารณาความหมาย (เจตนารมณ) ของธรรมเหลาน้ันดวยปญญา

ธรรมของคนเหลา นน้ั กไ็ มท นตอการวิเคราะห (เพง) คนเหลานั้นเรียนธรรมเพ่ือยกโทษ

(ขม) ผูอื่น เพ่ือเปลื้องวาทะ (โตเถียง) ผูอ่ืน จึงไมไดรับประโยชนของการเรียนธรรม
ธรรมท่ีเรียนก็ไมเปนไปเพ่ือประโยชนแตเปนไปเพ่ือความทุกข เปรียบเหมือนคนจับงู

พิษไมถูกวิธี ยอมถูกงูพิษกัดเอาได...เราแสดงธรรมอุปมา ดวยแพ เพ่ือใหใชขาม

(นิตถรณะ) ไมใชเ พอื่ ใหยึดติด คนใชแพขามฝงแมนํ้า เม่ือถึงฝงแลว ไมจําเปนตองแบก
แพไปดวย เมื่อรูธรรมที่เราแสดงเปรียบดวยแพแลวก็พึงละพึงวางแมธรรมไม
จาํ เปนตอ งกลา วถึง อธรรม”๑๙

การฝกสมาธิ จนจิตสงบ สามารถโนมจิตไปเพ่ือญาณอภิญญา เชน ไดหูทิพย
ตาทิพย ก็ไมใช เปาหมายโดยตรงของพระพุทธศาสนา ดังท่ีพระพุทธองคตรัสวา

“ภิกษุทงั้ หลาย มไิ ดป ระพฤตพิ รหมจรรย ในสํานกั ของเรา เพ่ือเจริญสมาธิ ใหไดหูทิพย

ตาทิพยเทานั้น แตมีธรรมที่สูงกวาซ่ึงควรทําใหปรากฏ ไดแก เจโตวิมุติ (หลุดพนจาก
กเิ ลสดว ยสมาธิ) ปญ ญาวมิ ตุ ิ (หลดุ พนดวยปญ ญา)๒๐

บทบาทโดยตรงของชาวพุทธ ประการแรก คือ การแสวงหาส่ิงท่ีประเสริฐ
(อริยปริเยสนา) คือการออกจากทุกข และการทาํ พระนิพพานใหแจมชัด๒๑

๑๘ ม.มู (ไทย) ๑๒/๓๑๔-๓๑๓/๓๑๔-๓๑๖ อางใน สนิท ศรีสําแดง, พระพุทธศาสนา:
กระบวนทศั นใหม, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๒.

๑๙ ม,มู. (ไทย) ๑๒/๒๗๘/๒๖๘
๒๐ ที.สี.(ไทย) ๙/๓๗๒/๑๕๖
๒๑ สพฺพทุกขนสิ สฺ รณนพิ พานสจฺฉิกิรยิ า

ñô ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

(๒) เมื่อเปาหมายของพระพุทธศาสนา คือการแสวงหาส่ิงที่ประเสริฐ พุทธ
ศาสนาจึงไมส งเสริมการติด อามิส และ ทฤษฎี

พระพทุ ธองคท รงแบง คนออกเปน สี่กลุม บนรากฐาน คือ อามิส ทฏิ ฐิ และ
ปญ ญา

๑. พวกติดโลกามิสไมพนเงื้อมมือมารเปรียบเหมือนเน้ือท่ีเห็นแกเหยื่อลอของ
นายพราน (นักธุรกจิ )

๒. บางพวกไมติดตอนแรก แตกลับติดในตอนหลัง (เพราะทนตอความอยาก
ไมไ ด) หนเี หย่อื ในตอนแรก แตตอนหลงั วิ่งหาเหย่ือก็ไปไมรอด เปนพวกอุดมการณ แต
ตอนหลังสลัดทง้ิ อุดมการณ มีอุดมกนิ อดุ มโกง (พวกอุดมการณ)

๓. บางพวกไมติดอามิส แตตดิ ทฤษฎีผดิ ๆ เหมอื นเน้ือไมต ิดเหยื่อแตติดกับดัก
ถูกนายพรานลอมจับ เชน พวกวิพากษโจมตีความมั่นคง และการทุจริต เปนพวก
ประพฤติตนปอน ๆ แตยึดติดลัทธผิ ดิ ๆ (นกั วชิ าการ)

๔. บางพวกไมติดทั้งเหยื่อ และทั้งกับดัก เปนพวกฉลาด มีปญญา คือ อริย
สาวกของพระองค๒๒ (พวกบรรลุความจริง)

(๓) บทบาทของชาวพุทธ นอกจากการพนทุกขของตนแลวยังชวยใหผูอ่ืนพน
ดวย ผูปฏิบัติธรรมคือ ผูแสวงหาแสงสวาง เหมือนคนท่ีพนจากความมืด มองเห็นแสง
สวาง และเห็นวา ความสวางน้ีก็ดี ก็ควรจะชวยใหคนที่ไมไดเห็น เปนบทบาทของ
ปญญากับกรุณา การทําดีไมใชการแบงปนเพื่อใหเราดีกวา เหมือนการแขงขันของนัก
ธุรกิจ หรือนักการเมือง แตทําดีเพ่ือชวยผูอื่นใหดีดวย โดยคิดวา ทุกคนเปนเพ่ือนรวม
เกิดรว มแก รว มตายดว ยกัน

ผทู าํ บทบาทของตนสาํ เรจ็ สมบูรณ บริบรู ณแ ลว พระพุทธองคทรงใหแตละคน
ออกไปทําประโยชนผูอ่ืน ดังพุทธวัจนะที่ทรงประกาศตอพระอรหันต ๖๐ องควา
“ภิกษุทั้งหลาย เธอจงจาริกไป เพื่อประโยชนของชนเปนอันมาก เพื่อความสุขของชน

๒๒ ม.มู (ไทย) ๑๒/๓๐๗/๑๐๔-๓๐๘

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ñõ

เปนอันมาก เพ่ืออนุเคราะหชาวโลก”๒๓ การออกไปมีเปาหมาย คือ การฝกมนุษย ซึ่ง
เปนงานหนกั มนุษยแ ตละคนถูกความโลภ ความโกรธ ความหลง ท่ีเรียกวา กิเลส หรือ
มาร ปกครองหัวใจอยูไมรูกี่ภพกี่ชาติแลว กิเลสมันกระปรี้กระเปรา ทํางานอยู
ตลอดเวลา มนุษยจ ึงเปน สัตวฝกยาก นายเปสสะ บุตรนายควาญชางสรรเสริญพระผูมี
พระภาคเจาวา “เปนท่ีนาอัศจรรย พระผูมีพระภาคเจาทรงสามารถฝกมนุษย ผูมี
ลกั ษณะ (๑) เปนปาชัฏ (๒) เปน กากขยะ (๓) เปนผูชอบโออวด๒๔ มนุษยสวนมากชอบ
สรางภาพหนาไหวหลังหลอก ปากพูดอยางใจคิดอยาง ซ่ึงไมมีลักษณะอยางนี้ในสัตว
เดรัจฉาน”

ดวยบทบาท คือ การชวยใหพนทุกขในปจจุบัน ศาสนาพุทธจึงมุงไปท่ีการ
แกปญหาชีวิต พระพุทธเจาจึงสอนเฉพาะที่จําเปน “ใบไมกํามือเดียว” ไมทรงสอน
ปญหาเกยี่ วกบั อภปิ รชั ญา ดงั ตรสั วา “ผใู ดกลา ววาจกั ไมป ระพฤตพิ รหมจรรย ถาเราไม
ตอบปญ หาเร่ือง โลกเท่ียง โลกไมเท่ียง สัตวตายแลวมีหรือไมมี เราก็ไมตอบปญหาน้ัน
และผูน้ันกจ็ ะตายเปลาเพราะ (การตอบ) ไมเ ปนไปเพอ่ื การตรสั รูเพ่อื นพิ พาน๒๕

ศาสนาพุทธเปนรูปบริษัท มีพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเปนผูถือหุน
เมื่อใดผูถือหุนไมทําหนาท่ี ไมทํากิจกรรมของตน บริษัทก็ลมหายไปจากโลก กิจกรรม
หลักของพุทธบริษัท (ตัวศาสนาพุทธ เปนบริษัท ไมใชภิกษุเปนตน) คือ การสงมนุษย
ใหพ นทุกข

บทบาทแทของชาวพุทธจึงไมใชการศึกษาแตคัมภีร แตเนนการใชปญญา
ประพฤติตามทฤษฎี และ ราคะ โทสะ โมหะ รชู อบ มจี ิตหลุดพนดงั พทุ ธองคต รสั วา

“บุคคลผูประมาท เรียนพุทธพจนจนจบสามปฎก กลาวสอนไดอยางพิสดาร
แตไ มป ฏิบัตติ าม (ทส่ี อน) ยอมไมม ีสวนปน ผลจากสมณธรรม เปรียบเหมือนนายโคบาล

๒๓ วิ.ม (ไทย) ๔/๓๒/: จรถ ภิกฺขเว จาริกํ จรมานา พาหุชนทิตาย พาหุชนสุขาย โลกา
นุกมปฺ าย

๒๔ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๔๙/๑๔๗
๒๕ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๓/๓

ñö ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »ÚâÞ,¼È.´Ã.

เฝานับจํานวนโคของผูอ่ืน สวนผูเรียนพุทธพจน กลาว (สอน) ไดไมก่ีคํา แตประพฤติ
สอดคลองตามหลักการ และราคะ โทสะ โมหะได รูถูกตอง มีจิตหลุดพน (จากกิเลส)
ไมยึดม่ันถือมัน่ ทงั้ โลกนแ้ี ละโลกหนา เขายอ มเปน ผไู ดรบั ผลจากสมณธรรม”๒๖

บทบาทโดยทางประเพณี คือ บทบาทที่คนท่ัวไป ผูซึมซับพระพุทธศาสนาไม
ลึกซึ้ง เปนคนท่ียังตองการปลุกปลอบชวยเหลือ ใหกําลังใจ เขายังออนแอเกินไปท่ีจะ
อยโู ดยตนของตนโดยปราศจากการประคับประคองของกลั ยาณมติ ร

มนุษยแตละคน ประกอบดวยธรรมชาติสามอยาง คือ รางกาย (Body)
อารมณ (Emotion) และจติ (Mind)

รูปรางกาย เปนโครงสรางหนึ่งของชีวิต เกิดจากวัตถุหลอเลี้ยงยังตองอาศัย
ปจจัยส่ี คือ อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค คนเปนจํานวนมาก ขาด
แคลนอาหาร ไมมีเคร่ืองนุงหม ไมมที ่อี าศัย และปราศจากยารักษาโรค เปนผูมีสุขภาพ
อนามัยไมดี ถูกโรคคุกคามทั้งโรครายแรงและไมรายแรง เขาอยูในสิ่งแวดลอมเลวราย
ทั้งสิ่งแวดลอม ธรรมชาติ และมนุษยดวยกันเอง และคนไมนอยเปนคนพิการ ชวย
ตวั เองไมได หลายคนเกดิ มาถูกทอดทงิ้ หรือไมก ถ็ ูกทอดทงิ้ ยามชรา

อารมณ นอกจากความผันแปรปรวน ความไมม่ันคงทางอารมณอันเกิดจาก
การปรุงแตงของสังขารฝายอกุศล เชน ความกําหนัด ความขัดเคือง ความหลงผิดแลว
ภาวะบีบรัดทางกายภาพ เชน ความยากจน ทําใหอารมณของพวกเขาออนไหว
ออ นแอ ขาดความมนั่ ใจตอตัวเอง ตองการท่ีพ่ึงภายนอก คนพวกน้ียังตองการสิ่งเหนือ
ธรรมชาติ ตองการสิ่งศักด์ิสิทธ์ิไมวาจะเปนเทพเจา ศาลเจา เวทมนต คาถาอาคม ผี
สางนางไม คนทรง เสนหยาแฝด นาํ้ พระพุทธมนต

๒๖ ธมฺมปทฎฐกถา ๕/๑๔๖/๑๔๗: พหุมฺป เจ สํหิตํ ภาสมาโน น ตกฺกโร โหติ นโร ปมตฺ
โต โคโปว คาโว คณยํ ปเรสํ น ภควา สามฺญสฺส โหติ อปฺปมฺป เจ สหิตํ ภาสมาโน ธมฺมสฺส โหติ
อนุธมฺมจารี ราคฺจ โทสฺจ ปหาย โมหํ สมฺมปฺปชาโน สุวิมุตฺตจิตโต อนุปาทิยาโน อิธ วา หุรํ วา
ส ภควา สามญฺ สสฺ โหตีติ

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò ñ÷

ขอมูล (Information) ท่ีเขาไดรับทางประสาทท้ังหก มีอํานาจชักจูงใหพวก
เขาคลอยตาม คําสอน คําบอกเลาซ้ํา ๆ ซาก ๆ ผานทางบุคคล หนังสือพิมพ วิทยุ
โทรทัศน สถาบันการศกึ ษา การโฆษณาของนักการเมอื ง ความเลวรายของนักปกครอง
ของอาชญากร ของการจราจร ฯลฯ ลวนเปนปจจัยใหคนมีอารมณเสีย หงุดหงิดงาย
รักงา ย โกรธงาย โมโหงาย เห็นแกต ัว เปนโรคทางอารมณ คอื ความเครียด และโรคอิง
ความเครียด เชน มะเร็ง ความดัน ชีวิตเต็มไปดวยอารมณฝายต่ํา เพราะสภาพเอ้ือ
กิเลสเหมือนแหลง สกปรกและเชอื้ โรค

จิต ภาวะประภัสสรเรืองรอง ถูกคลุกเคลา กลุมรุม จากอารมณฝายตํ่าหมด
สภาพ ยากแกการพัฒนา กลายเปนจิตโกรธ จิตโลภ จิตหลง ไมเปนตัวของตัวเอง แต
เปนตัวของกิเลส ขาดความปลอดโปรง ยากที่จะมองส่ิงตาง ๆ ตรงตามเปนจริง เวลา
เกิดปญหา สติเตลดิ ปญ ญาเกิดไมทนั ทําช่ัวแลวจึงคิดได จิตตัวรู ถูกกักขังอยูในหองมืด
อันสรา งโดยนกั การศาสนา นกั การเมืองลัทธิปรัชญา โรงเรียน และแมแตมหาวิทยาลัย
ปญญาท่ีแท (วิปสสนา) ถูกความฟุงซานกลบไว ถูกนิวรณกลบเกล่ือนไวทําใหหลงเห็น
ของเทียมเปนของแท เห็นสิ่งไรสาระวาเปนสาระ ความพินาศยอยยับก็ตามมา ดังที่
ตรัสไววา

“ผูเขาใจ ส่ิงไมมีแกนสารวามีแกนสาร (สารัตถะ) เห็นสิ่งมีแกนสารวาไมมี
แกนสาร (อสารตั ถะ) ผูดําเนินไปตามความดําริผิด ยอมไมพบส่ิงเปนแกนสาร ผูรูส่ิงมี
แกน สารวา มแี กน สาร และส่ิงไมมีแกน สารวา ไมม แี กน สารดําเนินไปตามความดําริถูก
ยอ มพบสงิ่ เปน สาระ”๒๗

ในโลกที่ประชาชนมีความขาดแคลนและพรองดวยทางดานรางกาย ดาน
อารมณ และดานจิตใจ พวกเขาคาดหวังอะไรจากศาสนา ขบวนการชาวพุทธควรจะ
แสดงบทบาทอะไร จงึ จะสอนตามความคาดหวงั ของประชาชน

๒๗ ธมมฺ ปทฏฐกถา ๑/๑๐๔: อสาเร สารมตโิ น สาเร จ อสารมตโิ น เตสารํ นาธิคจฉฺ นตฺ ิ
มจิ ฉาสงกปฺป โคจรา สารฺจ สารโต ญตฺวา อสารฺจ อสารโต เต สาธํ อธิคจฺฉนฺติ สมฺมาสงฺกปฺป
โคจรา

ñø ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »âÚ Þ,¼È.´Ã.

๑.๓ พระพุทธศาสนากับวทิ ยาการสมัยใหม
พระพทุ ธศาสนาจําเปนตองอาศัยวิทยาการสมัยใหมมาเปนฐานในการอธิบาย

และเปนสื่อในการนําเสนอใหพระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงวิถีชีวิตมากย่ิงข้ึน ดังที่
ไอนสไตนยํ้าวา ““วิทยาศาสตรที่ไมมีศาสนายอมพิกลพิการ สวนศาสนาที่ไมมี
วิทยาศาสตร” ๒๘ วิทยาการสมยั ใหมม ีจุดเนน สาํ คัญในการแสวงหาความจริง อีกทั้งเปน
เคร่ืองมือท่ีทําใหมนุษยฉลาดท่ีจะเอาตัวเองใหรอด ดังนั้น วิทยาการสมัยใหม
นอกเหนือจากการแสวงหาความจรงิ แลว ยงั นําไปสกู ารใชความรเู พ่ือแสวงหาโลกธรรม
และนําความรูไปเปนเคร่ืองมือในการบูรณาการกับอาชีพของตัวเอง ในขณะท่ี
พระพุทธศาสนามีจดุ เดนที่เนนใหผ ูเรียนมีความรูวาอะไรควร หรือไมควร โดยมีจุดเนน
เพ่ือสรา งฉลาดดานจติ ใจเพื่อพัฒนาชีวติ ตวั เอง บคุ คลอ่นื และสง่ิ อน่ื ในสังคมรู ต่ืน และ
เบิกบานมากยิง่ ขน้ึ ฐานคิดสําคัญของศาสนาคอื ศีลธรรม

วทิ ยาการสมัยใหมมุงความจริง พระพุทธศาสนามุงศีลธรรม สัจธรรมท่ีมนุษย
แสวงหามี ๓ อยาง คือ ความจริง(Truth) ความดี (Goodness) ความงาม (Beauty)
และความสุข (Happiness) วิทยาการสมัยใหมในประเด็นท่ีเก่ียวของวิทยาศาสตรน้ัน
เปน ศาสตรมุงแสวงหาความความจริง และพิสูจนความจริง ในขณะที่พระพุทธศาสนา
เปนศาสตรที่มุงเนนในการแสวงหาความดี ความงาม และความสุขใหแกมนุษยในเชิง
ปจเจกและสังคมโดยรวม ในขณะเดียวกันหากมอง “ความจริง” ในมิติของ
วิทยาศาสตร และพระพุทธศาสนานั้น มีจุดรวมท่ีสําคัญประการหนึ่งคือ “ความจริง
ตามกฎเกณฑของธรรมชาติ” พระพุทธศาสนามีจดุ ยืนท่ชี ดั เจนวา ไมวา พระพุทธเจาจะ
ถือกําเนิดหรือไมก็ตาม ความจริงตามธรรมชาติน้ันเปนสิ่งท่ีปรากฏและมีอยูแลว

๒๘ “Science without religion is lame, religion without science is blind” อาง
ใน พระธรรมโกศาจารย, วธิ บี รู ณาการพระพุทธศาสนากับศาสตรสมยั ใหม, หนา ๔๘.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ñù

พระองคเปนเพียงผูเขาถึงกฎเกณฑธรรมชาติ และนํากฎเกณฑดังกลาวมานําเสนอแก
มนษุ ยชาติ๒๙

เมอ่ื กลา วถึงพระพุทธศาสนากบั วิทยาการสมัยใหมแลว ยังจําเปนตองกลาวถึง
จุดมงุ หมายของพระพทุ ธศาสนาทน่ี าสนใจในมิตดิ ังตอไปนี้

พระพุทธศาสนามุงศึกษาโลกภายใน พระพุทธเจาทรงศึกษาวิทยาการ หรือ
ศาสตรต า งๆ ท้ัง ๑๘ ศาสตร แตพ บความจริงวา ศาสตรเ หลา นั้นเปนการเรยี นรู เพ่ือให
เขาใจโลกภายนอกไดชัดเจนมากยิ่งข้ึน อีกทั้งพระองคไดทรงใชศาสตรเหลานั้นเปน
เครื่องมือในการดําเนินชีวิตท่ีสัมพันธกับโลกภายนอก ถึงกระน้ัน การเรียนรูศาสตร
ภายนอกเปนประดุจคําถามปลายเปด ท่ีไมสามารถแสวงหาจุดบรรจบ และสนองตอบ
ตอความอยูรอด และความสวางไสวทางจิตใจและปญญา จึงทําใหพระองคตระหนักรู
วา การท่ีจะทําใหชีวิตคนพบจุดจบอยางแทจริงนั้น คือ การศึกษาเพ่ือใหเขาใจโลก
อยา งทองแท

วิธีการศึกษามีมากมายหลายวิธี เชน วิธีการศึกษาตามแนวประวัติศาสตร วิธี
การศึกษาแบบวิเคราะห วิธีการแบบสังเคราะห วิธีการศึกษาแบบคิดสังเคราะหกอน
แลว จึงคอยวิเคราะห วิธีการศึกษาแบบถอดร้ืนสราง วิธีการศึกษาแบบตั้งคําถามใหคิด
วิธกี ารศึกษาแบบเนน ใหเ ห็นบวนและลบเพ่ือเลือกเอาอยาง แตไมเอาเยี่ยง และวิธีการ
ศึกษาแบบเนน ใหเ หน็ คณุ คาทางปฏบิ ตั ิเพื่อนาํ ไปปรับประยุกตใชในชีวิตจริง นับวาเปน
สิ่งจําเปนอยางยิ่งยวดในการศึกษาเรียนรู และจําเปนตองเนนเปนพิเศษดวยโดยตัว
อาจารยผูสอนเอง เหตุวาพวกมันจะทําใหผูศึกษาไมเพียงแตจําได แตยังจะทําใหผู
ศึกษาน้ันๆ คิดนอกกรอบเปน ทําใหเห็นคุณคาทางปฏิบัติในแบบมองเห็นเย่ียง-อยาง

๒๙ พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร., “ พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม: ตัว
แบบวธิ วี ทิ ยาวา ดว ยพุทธบรู ณาการและพุทธสหวิทยาการ”, (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ([email protected] ปรับปรุงคร้ังลาสุดวันพฤหัสบดี ท่ี ๙
กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๕).

òð ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

ไดและสามารถนําไปปรับประยุกตใชในชีวิตและสังคมไดดวย วิธีการศึกษาที่กลาว
มาแลว เหลา น้ัน มรี ายละเอยี ดทีท่ จี่ ะอธิบายพอใหเ ปนแนวทางศกึ ษาดงั น้ี๓๐

๑.๓.๑ วธิ กี ารศกึ ษาตามแนวประวตั ิศาสตร
ประวัติศาสตร (history) เปนวิชาท่ีศึกษาและวิเคราะหเหตุการณท่ีเกิดขึ้น
แลว ในอดตี นานวนั นานเดอื น นานปที่ผานมา วิธีการศึกษาตามแนวประวัติศาสตรท่ีมี
ความมงุ หมายจะศึกษาและวเิ คราะหเ หตกุ ารณในอดีตอยางนี้ จึงจะทําใหผูศึกษาไดรับ
รบู ทเรียนจากอดตี อนั จะชวยทําใหเขาใจปจจุบัน เพื่อจะไดเลิกละส่ิงที่ไมดีและพัฒนา
สิ่งที่ดีงาม ท้ังยังอาจทํานาอนาคตไดดวย ย่ิงไปกวานั้น การรูประวัติศาสตรยังทําใหผู
ศึกษาสามารถลวงรูถึงความเปล่ียนแปลงและพัฒนาการแหงประวัติศาสตรของสังคม
และบคุ คล ต้ังแตอ ดีตมาในแบบมรี ากเหลา ไดว า เขา เธอ หรือมนั เปนมาอยางไรจึงเปน
อยางนี้?
ดังน้ัน วิธีการศึกษาตามแนวประวัติศาสตร (historical approach) ที่
สามารถนํามาใชกับการศึกษาไดก็คือการทําใหผูศึกษามุงสนใจคนควาแบบเจาะลึกใน
เร่อื งทเ่ี ปน ภมู หิ ลงั อนั เปนอดตี ของบุคคลหรือเหตุการณน้ันๆ เพื่อใหรูความเปนมาและ
เปนไปของทานในเรื่องน้ันๆ สรรพสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมยอมมีรากเหงา บุคคลหรือ
เหตุการณน ัน้ ๆ ก็ยอมมีรากเหงา ที่เปน ภูมหิ ลงั หรือ ทุนทางสังคม หนุนหลังทานอยูแน
ดงั นั้น การจะเขาใจปจจุบันไดดีจึงจําเปนตองยอนหลังกลับไปมองภูมิหลังหรือทุนทาง
สังคมท่ีเปนรากเหลา (back to the root) ของบุคคลหรือเหตุการณน้ันๆ จึงจะเขา
ใจความเปน มาไดอ ยางถกู ตอง
๑.๓.๒ วธิ กี ารศึกษาแบบวิเคราะห
วิเคราะห (analysis) คือการจําแนกแยกแยะองคประกอบของสิ่งท่ีจะ
พิจารณาออกเปนสวนๆ เพื่อคนหาวา สิ่งนั้นมาจากอะไร มีองคประกอบอะไรบาง

๓๐ อภิญวัฒน โพธิ์สาน, ชีวิตปละผลงานนักปราชญพุทธ, (มหาสารคาม: ภิชาติการ
พิมพ, ๒๕๕๗), หนา ๑๑-๒๑.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òñ

ประกอบขึ้นมาเปนอยางท่ีเปนไดอยางไร และมีความเช่ือมโยงกันอยางไร การ
วเิ คราะหม จี ดุ มุงหมายหลักเพื่อตรวจสอบ ตีความ ทําความเขาใจ หาความสัมพันธกัน
เชิงเหตุผลและสืบคนความจริง เพ่ือนําไปสูขอสรุปตัดสินเรื่องที่วิเคราะหน้ันๆ ถือเปน
ความสามารถหรอื ทกั ษะทม่ี สี ูงกวาความเขาใจและการนําเอาไปปรับใชของบุคคลผูฝก
คิด ซึ่งการคิดแบบวิเคราะหอยางน้ีเปรียบเสมือนการเห็น ผละลัพธของบางส่ิง
บางอยางแลว ไมดวนสรุปทันที่ แตพยายามจะหาขอเท็จจริงที่ถูกปดซอนอยู ท่ีไมอาจ
มองเห็นดวยตาไดเสียกอน โดยวิธีทําการวิเคราะห กอนที่จะสรุปหรือตัดสินช้ีขาดบาง
สิ่ง บางอยางลงไปแบบยีนยันหรือปฏิเสธ คนที่มีความสามารถดานการวิเคราะหไดดี
ยอ มเขา ใจตอ สิ่งใดส่งิ หนึ่งไดอยา งแทจ ริง

วิธีการศึกษาแบบวิเคราะห (analytical approach) ที่สามารถนํามาใชกับ
การศกึ ษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนาได ก็คือการทําใหผูศึกษาใสใจ
ตอการแยกแยะประเด็นตา งๆ ออกเปนเรือ่ งๆ ในประวัติและเหตุการณที่จะศึกษานั้นๆ
เพ่ือทําใหมองเห็นประเด็นตามรูปศัพทหรืออักษรแลวจึงคอยใหมองเจาะลึกเขาไปใน
ประเด็น เพ่ือใหมองเห็นเน้ือหาสาระความจริงที่ซอนอยูภายในเร่ืองหรือประเด็นน้ันๆ
โดยผูศึกษาอาจใชค ําถามนํากอนวา ทานเปนใคร ทานทําไร ทานอยา งไร ทานทําที่ไหน
และทานทําเม่ือไร ขณะกําลังศึกษาอยูเพ่ือใหตนไดมองเห็นประเด็นศึกษาขัด แลวจึง
ตามติดดวยคําถามเจาะลึกเชิงปรัชญาในใจ ในเมื่อไดมองเห็นเรื่องราวหรือประเด็น
ศึกษาน้ันแลววา ทําไมจึงเปนอยางน้ีหรืออยางน้ัน? เพื่อคนหาเหตุของการมีหรือการ
เปน อยา งนน้ั หรืออยางน้ี โดยอาศยั การตีความและขอ มูลหลักฐานมาชวยสนับสนุนเพื่อ
อธิบายความใหก ระจายจา งแจง ประหน่ึงการใชม ือดนั รมท่หี ุบอยูใ หก างออก

๑.๓.๓ วธิ กี ารศึกษาแบบสังเคราะห
สังเคราะห (synthesis) คือความสามารถในการคิดยอยอ ประมวลหรือ
รวบรวมสวนประกอบยอยๆ หรือสวนใหญของเน้ือหาท่ีจะพิจารณานั้นๆ เขาดวยกัน
เพ่ือหลอมรวมใหเปนเรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งการคิดแบบสังเคราะหนี้จะมี

òò ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ลักษณะเปนกระบวนการหลอมรวมเนื้อหาสาระของเรื่องราวตางๆ เขาดวยกัน เพื่อ
สรางรูปแบบหรือโครงสรางใหมท่ียังไมชัดเจนมากอนเปนกระบวนการท่ีตองใช
ความคดิ เชงิ สรา งสรรคภ ายในขอบเขตของเร่อื งหรือประเดน็ ตามทก่ี ําหนดให

๑.๓.๔ วธิ ีการศกึ ษาแบบคดิ สงั เคราะหกอ นแลวจึงคอยวิเคราะห
การคิดสังเคราะห (synthetical thinking) คือ การคิดมองเนื้อหาแยกยอยๆ
ใหเห็นแบบองครวมของสิ่งท่ีกําลังพิจารณาอยูนั้นวา มันมีภาพรวมหรือแนวคิดรวบ
ยอดเปนอยางไร คือมองเห็น ผลที่ปรากฏอยูใหไดเสียกอน จากนั้นจึงใชการวิเคราะห
(analysis) คือการคิดแยกยอยเปนประเด็นๆ ยอนกลับจากผลไปหาเหตุ เพื่อหา
องคป ระกอบแยกสวนของสิ่งทก่ี ําลังพจิ ารณาอยนู น้ั เอามาเปนหลักในการคิดมองอีกที
วธิ กี ารอยางนี้เปนวิธีการที่นํามาใชกันมากโดยนักคิดท่ีมีชื่อเสียงของโลก เชน อัลเบิรต
ไอนสไตน และริชารด ไฟนแมน เปนตน ท้ังน้ีก็เพราะวาการศึกษาแบบแยกยอย
(วิเคราะห) จะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือมีเทคนิคการเรียนรูแบบองครวมมากกอน ริชารด
ไฟนแมน นิยมใชวิธีการเรียนรูแบบ สืบยอนกลับจากผลมาหาเหตุ โดยทานจะอธิบาย
ใหเห็นถึงประเด็นใหญภาพองครวมของปรากฏการณใหแกนักศึกษาไดฟงเสียกอน
เพ่ือกระตุนใหเกิดความอยากรูอยากเห็น กอนท่ีจะเจาะลวงลักแยกแยะเขาไปยัง
ประเดน็ ท่ีตองการจะสอนใหลูกศิษยเขาใจ ปจจุบันประเทศที่ระบบการศึกษาท่ีพัฒนา
แลวไดหันเปล่ียนมาเปนการเรียนการสอนแบบสืบยอนกลับจากผลมาหาเหตุ
(problem-based learning) โดยมาก เพราะจะทําใหผูศึกษาพัฒนากระบวนการคิด
วิเคราะหไ ดเกงมากขนึ้ กวามองจากเหตุไปหาผล
พระพุทธเจาและนักคิดในพุทธศาสนานิกายเชน นิยมใชวิธีการนี้สอนใหลุก
ศิษยคิดมองประเด็นตางๆโดยพระพุทธเจาทรงสอนใหผูฟงธรรมเห็นประเด็นจาก
คาํ ตอบหรอื ผลในแบบสังเคราะหเสียกอน แลวจึงวิเคราะหเหตุ เชน ในหลักอริยสัจ ๔
พระองคจะทรงสอนใหผูฟงธรรมจากพระองคเขาใจถึง ทุกขหรือหรือปญหา ซ่ึงเปน
เห็นผลกอ น กอ นท่จี ะทรงสอน สมุทยั ซง่ึ เปน เหตแุ หงทกุ ขหรอื ปญ หา จากนั้นท่ีจะทรง

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òó

สอน มรรค ซ่ึงเปนมรรควิธีของการดับหรือแกทุกขหรือปญหา อาจารยเซนเองก็นิยม
ใชวิธคี ิดแบบสืบยอนกลบั นเี้ ชน กันกบั ลกู ศษิ ยใ นการทาํ ใหเกิดปญ ญา โดยวิธีสังเกตจาก
ธรรมชาติภายนอกกอนแลว จึงยอนมาวิเคราะหภายใน จากนั้นจึงมีการต้ังปริศนา
ธรรมตางๆ ซ่ึงเรียกวา โกอาน ถามจากธรรมขาติรอบตัว ที่ดูเหมือนจะแสนธรรมดา
วิธีการอยางน้ีของอาจารยเซน มีผลทําใหลูกศิษยสามารถบรรลุธรรมไดโดยฉับพลัน
(ชาโตร)ิ จากการคิดใครค รวญจากผลกอนแลวจึงยอนมาสบื สาวหาเหตุ

๑.๓.๕ วธิ ีการศึกษาแบถอดร้อื สราง
การถอดรือ้ สราง(deconstruction) คือวธิ ีการอานเน้ือหาหรอื ตวั บท (text)
เพอ่ื จะคน หาจนพบเจอความหมายอื่นๆ ทีเ่ นื้อหาหรือตัวบททกี่ ลา วน้ันกดทับปด ซอน
เอาไว จึงไมปรากฏออกมาใหเห็นได เปนการหาความหมายอ่นื ๆ (polysemy) ทย่ี ังมี
ความคลุมเครืออยูข องคําหรือวลีท่ีพูด ท่มี ีความหมายมากกวาสองแงข้นึ ไป เมื่อใชใ น
บริบททตี่ า งกนั้ เชน คาํ วา “ขัน” ในภาษาไทย

หากใชเปนคํานาม หมายถึงภาชนะตกั นา้ํ
หากใชเ ปนคาํ วิเศษณ หมายถึงอาการนาหวั เราะขบขนั
หากใชเปนคาํ กริ ยิ า หมายถึงการทาํ ใหต ึงหรือทําใหแ นน
หากใชเ ปนคาํ กริ ยิ าของสตั ว หมายถึง อาการสง เสยี งรองขันของไก
วิธกี ารถอดรือ้ สรา งจะแสวงหารายละเอียดวา เน้ือหาที่พูดออกมาน้ันไดบดบัง
ปดซอนเงื่อนไขอะไรบางอยางท่ีเปนพ้ืนฐานแทจริงของเน้ือหาหรือตัวบทเองนั้นเอาไว
โดยไมรูตัวบาง โดยเงอ่ื นไขทีว่ าเหลา แยง กับตรรกะท่ีเน้ือหาหรือตัวบทน้ันเสนอออกมา
ดวยเหตุน้ี การวิเคราะหหาจุดที่ระบบกดทับปดซอนเอาไวใหไดพบเจอกอนแลวจึงดัง
ออกมาใหเห็น จึงเปนการถอดร้ือสรางเน้ือหาน้ันๆ เพ่ือเผยใหเห็นความยอนแยงใน
โครงสนรา งเดิม ดงั นน้ั การถอดร้ือสราง ก็คือการรื้อใหเห็นความหมายใหมท่ีถูกกดทับ
ปดซอ นเอาไวน น่ั เอง แนวคิดเปนการส่ือถึงการถอดรื้อรูปแบบตางๆ ที่ยึดถือกันอยูเดิม
เพ่ือสรางสรรคใหมกับของเดิมโดยไมยึดติดกับของเดิม โดยมีความหมายสื่อนัยได ๒

òô ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

นยั ในลกั ษณะเปนลบและเปน บวก กลา วคือ นยั หนง่ึ มีสาระสาํ คัญอยทู ี่การทําลาย (เชิง
ลบ) เพราะคนหาความหมายมาสรางใหมแทนของเกา โดยมีวิธีการทางปรัชญาอยู ๓
ข้ันตอนสําคญั คอื

๑) ลดทอดเนื้อหาหรอื ตัวบททเ่ี สนอออกมา
๒) สรางความหมายใหมตามการคนพบจากท่ีถูกกดทับปดซอนไวในเนื้อหา
หรอื ตวั บททเี่ สนอออกมานั้น
๓) ทําลายเนื้อหาหรือตัวบทท่ีถูกนําเสนอออกมาแลวนั้นโดยเผยใหเห็นความ
ยอนแยง ในโครงสรา งเดมิ
วิธีการศึกษาแบบถอดร้ือสราง (deconstruction approach) ที่สามารถจะ
นํามาใชกับการศึกษา ประวัติและสถานการณท่ีปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนาได ก็
คือการอานเนื้อหาหรือตัวบทของประวัติบุคคลและสถานการณนั้นๆ ในประเด็นตางๆ
กอ นแลว จงึ วิเคราะหหาสิง่ ท่ีถกู ตอ งของเนื้อหาหรือตวั บทนนั้ อนั จะทําใหพบเจอวา
๑) สิ่งที่พบเห็นดวยสายตาอาจมิใชส่ิงที่จริง แตส่ิงท่ีแทจริงอาจแฝงอยูในสิ่งที่
ไดพบเหน็ แลว น้นั ก็เปน ไปได
๒) สาระของเนื้อหาหรอื ตัวบทของประเดน็ ศึกษามีท้ังความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยออม
๑.๓.๖ วธิ กี ารศึกษาแบบตง้ั คําถามใหค ิด
การต้ังปญหาข้ึนถามเพ่ือสอบถามหรือใหคิด ไมวาจะเปนโดยตัวอาจารยเอง
ตั้งปญหาข้ึนสอบถามลุกศิษย หรือตัวลุกศิษยเองตั้งปญหาข้ึนสอบถามอาจารยถือวา
เปน วธิ กี ารท่สี าํ คญั ประการหนงึ่ ใน หัวใจนักปราชญ คือ สุ, จิ, ปุ, ลิ, หรือ ฟง คิด ถาม
เขียน หลังจากที่ไดฟงการบรรยายหรอสนทนาพูดคุยกันและผานกระบวนการคิด
ทบทวนมาแลว แตยังมีขอชวนใหสงสัยหรือตองการตอยอดความคิด กอนท่ีตนจะขีด
เขียนจดบนั ทกึ เอาไวก นั หลงลืม

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò òõ

ในการเรยี นการสอน พทุ ธศาสนาไดแ บงระดับความรเู อาไว ๓ แบบ คอื
๑) สุตมยปญญา เปนความรูระดับแรกท่ีไดจากการเห็น การฟง การอานเปน
ความรูป ระเภทความจาํ ได ระลักได แบบทองจาํ เอาไว
๒) จิตามยปญญา เปนความรูระดับท่ี ๒ ที่ไดจากการคิด วิเคราะหไตรตรอง
อยางมีเหตุมีผล เปนความรูประเภืความเขาใจมีจินตนาการ คิดสรางสรรคเปน
ประโยชนตอตนและคนอ่ืน ความรูระดับน้ีพบไดมากในหมูนักวิชาการ นักปรัชญา
ปญ ญาชน นกั บริหาร และนกั วิทยาศาสตรเ ปน ตน
๓) ภาวนามยปญญา เปนความรูระดับสูงที่เกิดจากจิตมีกําลังสติสูงมาก จน
เขาถึงความจริงแทของชวี ิตและโลก ความรรู ะดบั นี้เปน ระดับความรูท่ที าํ ใหหยั่งรูสรรพ
สงิ ไดอยางแทจ ริง
ในความรูหรือปญญาทั้ง ๓ แบบนี้ หากพูดถึงผูที่ยังตองเก่ียวของกับชีวิตทาง
โลก จินตามยปญญาถือวาสําคัญกวา สุตมยปญญา ดังท่ีประโยคคําพูดอันเปนอมตะ
ของอัลเบิรต ไอนสไตน ที่ซึ่งปฏิบัติวงการศึกษาของโลก พูดยืนยันวา “imagination
is more important than knowledge” (การคิดจินตนาการสําคัญกวาความรู)
คาํ พูดนี้ยอมเปนคํากลาวที่แสดงวา ไอนสไตนมิไดใหความสําคัญกับวิธีการเรียนรูแบบ
สุตมยปญญามากนักเลย เพราะความรูจากการสอนแบบน้ี อยากรูเม่ือใด ก็หยิบ
หนังสือในเร่ืองท่ีเก่ียวของออกมาเปดอานเอาความรูได แตก็มีใชวาความรูจะไมสําคัญ
ในชีวิตเหตุวาการคิดจินตนาการใดๆ โดยขาดพื้นฐานของความรูแลว จะกอนเกิดเปน
อันตรายอยางยิ่งได การคิดจินตนาการจึงจําเปนตองมีพ้ืนฐานของความรูแลว จะกอ
เกิดเปนอันตรายอยางยิ่งได การคิดจินตนาการจึงจําเปนตองมีพื้นฐานความรู
ประกอบดวยจะย่ิงดี ดังน้ัน การเรียนการสอนดวยวิธีการทองจํา แบบกลาววาไดเปน
นกแกวนกขุนทอง จึงควรยกเลกิ เสีย แตค วรหนั มาใหความสําคัญกับการเรียนการสอน
แบบใหคิดจินตนาการแทนใหมาก ดังที่ไอนสไตนพูดไววา “ควรคิดจินตนาการหา
คําตอบใหไ ด กอ นท่ีจะลงมอื พสิ จู น (ความจรงิ )”

òö ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »ÚâÞ,¼È.´Ã.

ไอนสไตน ซ่ึงนับเปนนักวิทยาศาสตรอัจฉริยะระดับแนวหนาของโลก เปนคน
ชางถามเพอื่ คิดหาความรูตั้งแตวัยเด็กจนโตใหญ ทานจึงเปนนักวิทยาศาสตรท่ีเกงและ
มีความสมารถในการคิดวิเคราะหมาก หากปรารถนาจะใหลูกศิษยเปนคนเกงดานการ
คิดอยางไอนสไตน อาจารยผูสอนจึงตองรูจักต้ังคําถามใหลูกศิษยคิด หากวาลูกศิษยท่ี
เรียนน้ันไมคิดต้ังปญหาข้ึนถามเอง “(เหตุวา) ศิลปะอันสูงสุดของความเปนครู
(อาจารย) ก็คือการชวยปลุกเราผูเรียนใหตระหนักวา อยาคิดวาการศึกษาเปนหนาท่ี
แตจงถือวา นี้เปนโอกาสที่ดีกวาคนอื่นที่ยะเรียนรู” และควรจําใสใจไวเสมอวา หนาท่ี
ของครูอาจารย ก็คือ การสรางความอยากรูอยากเห็นใหเกิดขึ้นในตัวผูศึกษา ไมใชให
ความรเู พยี งอยา งเดยี ว แตอ งสอนใหผูศกึ ษาคิดจนิ ตนาการเปนดว ย

นอกการศึกษาโดยวิธีการการตั้งปญหาใหผูศึกษาคิดแลว วิธีการสินและวิธี
แสวงหาความรูท่ีนํามาใชสอน ก็มีความสําคัญตอการเรียนการสอนไมนอย เราทํา
อยางไรจึงจะทําใหผูศึกษาบังเกิดมี “สิ่งที่ยังหลงเหลืออยูแมภายหลังจากลืมทุกสิ่งทุก
อยางท่ีเคยเรียนมาในโรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลับแลวได” และส่ิงท่ีวานี้ก็ไม
นาจะมีอะไรสูวิธีการสอนท่ีจะใหเรียนรู ซึ่งมีความสําคัญมากกวาการสอนความรูให
อยางเดยี วไดเ ลย น่ันก็คอื วา จงสอนวิธีการจับปลาใหลูกศิษยเพื่อใหจับปลากินเองเปน
แตไ มค วรสอนแบบเอาปลาใหล กู ศษิ ยก ินไปวนั ๆ

๑.๓.๗ วิธกี ารศึกษาแบบเนนใหม องเห็นบวกและลบ
ชีวติ ของคนเรายอมมีทง้ั แงเปนบวกคือ จุดเดน และแงเปนลบ คือ จุดดวย ใน
ตัวบุคคล ไมมีคนใดเลยในโลกน้ี จะมีชีวิตเปนบวกหรือเปนลบโดยสมบูรณแบบ
เพียงแตวาดีหรือไมดีน้ีใครจะมีอยูในตนมากเทานั้นเอง ดังน้ันการศึกษาประวัติบุคคล
สถานการณจึงจําเปนตองศึกษาเรียนรูทั้ง ๒ ดานใหรอบดาน เพ่ือใหมองเห็นภาพชีวิต
ของบุคคลนั้นๆ และบริบทของสถานการณไดตามความเปนจริง ซ่ึงจะมีท้ังสําเร็จและ
ลมเหลวหรือดีและไมดีอยูในตน และเมื่อไดมองเห็นภาพความเปนจริงของประวัติบุคคล
และสถานการณทั้ง ๒ ดาน อยางน้ีวา “ดีตรงไหน ไมดีตรงไหน” ไดแลว ยอมจะทําใหผู

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ò÷

ศึกษาสามารถทําการอานวิเคราะหประวัติบุคคล สถานการณไดดวยดี จนมองเห็น
แบบอยาง หรือเย่ียงอยาง ของการปฏิบัติเพื่อยอนกลับมาดูตัวตนผูศึกษาในแงพัฒนา
หรือปรับแกได เหมือนที่คนโบราณสังเกตเห็นนิสัยของนกอีกาท่ีขยันต่ืนแตเชาตรูเพื่อโผ
บินออกหากนิ ซึง่ จัดเปน นสิ ัยที่ดขี องของอีกา แตกระน้ันอีกาก็มีนิสัยเสียท่ีชอบบินโฉบลง
ลักขโมยส่ิงของคนอื่นเอาไปกิน ดังน้ัน เมื่ออานนิสัยของอีกาออกจากการสังเกตศึกษา
แลวน้ันจึงไดมีคํากลาวเตือนใหเลือก “เยี่ยง-อยาง” ของอีกาเอาไวใหไดคิดวา “จงเอา
อยางกา (ทขี่ ยันออกหากินแตเชา ) แตอยาเอาเยยี่ งกา (ทช่ี อบลกั ขโมยสง่ิ ของเขากิน)”

การสอนแบบเนนใหมองเห็นบวกและลบเพื่อเลือกเอาอยาง แตไมเอา
เยี่ยงอยางนี้มาใชสอนได เพื่อฝกลูกศิษยใหมองเห็นภาคความสําเร็จของการศึกษา
เฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา การศึกษาเรียนรูจากบุคคลสําคัญและ
เหตุการณท่ีปรากฏในพระพุทธศาสนาแลว จะทําใหเห็นภาพไดชัดเจน ท่ีเปนแบบอยาง
ทางการปฏิบัติตนไดงายข้ึน และยังจะสามารถตอยอดจากความจากบุคคลสําคัญและ
เหตกุ ารณทป่ี รากฏในพระพุทธศาสนาไดดวย สวนการมองเห็นสวนไมดีบางแงผูศึกษา
สามารถนําเอามาเปนบทเรียนในการสอนและนําเอามาเปนบทเรียนสอนใจตนเอง
หลีกเวน ไมป ฏบิ ัติตามเยย่ี งอยาง

๑.๓.๘ วิธกี ารศึกษาแบบเนนใหเห็นคุณคา ทางปฏิบัติ
คุณคาทางปฏิบัติ (practical value) หมายถึง ส่ิงที่คุณประโยชนทางการ
ปฏบิ ัตดิ านจริยธรรมของบุคคล ในเม่ือไดศึกษาบุคคลสําคัญและเหตุการณท่ีปรากฏใน
พระพุทธศาสนา คือ อานแลวมองเห็นวา บุคคลสําคัญและเหตุการณท่ีปรากฏใน
พระพุทธศาสนาไดกระทําอะไรหรือเหตุปจจัยที่ทําใหเกิดปรากฏการณอะไรที่เปน
ประโยชนแกสังคมสวนรวมเอาไวบาง ซึ่งจะถือวาเปนทิฏฐานนุคติในการสอนใจตนและ
เปนบทเรียนในการเอาอยา งในการทําความดีและเปนเย่ียงอยางในการหลีกเวนจากความ
ชั่ว-ผิดพลาดไมคิดปฏิบัติตามทานได จากนั้นจึงคิดนําเอาไปประยุกตใช (application)
คือ มีมีความสามารถในการนําเอาความรู (knowledge) ความเขาใจหรือความคิดรวบ

òø ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »âÚ Þ,¼È.´Ã.

ยอด (comprehension) ในเรื่องไดๆ ท่ีรูและเขาใจตามที่ไดมองเห็นคุณคาทางปฏิบัติ
แลวนั้นๆ ไปปรับประยุกตใชในชีวิตและสังคมไดจริง โดยการใชความรูตางๆ โดยเฉพาะ
วิธีการความคิดรวบยอดในเรื่องคุณคาทางปฏิบัติดานจริยธรรม เอามาผสมผสานกับ
ความสามารถในการแปลความหมาย การสรุป หรือการขยายความส่ิงน้ันๆ ของตนเพ่ือให
เปนประโยชนตอ ชีวิตและสังคมอยางแทจ ริง

วิธีการศึกษาแบบเนนใหเห็นคุณคาทางการปฏิบัติเพื่อนําเอาไปปรับปรุง
ประยุกตใชจริง (practical seeing approach for application) น้ีท่ีสามารจะนํามาใช
กับการศึกษา “ศึกษาเฉพาะเร่ืองในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา” ได ก็คือการเนน
ศกึ ษาใหรูซึ้งถึงคุณคาทางของเรื่องนั้นๆ

สว นวิธีการศกึ ษาท่พี ระองคท รงคนพบคือ “ไตรสิกขา” กลาวคือ ศีล สมาธิ และ
ปญญา การศึกษา หรือ “สิกขา” ตามกรอบพระพุทธศาสนาเปนการตระหนักรูและเห็น
ความทุกข สาเหตแุ หง ทกุ ข การดบั ทุกข และหนทางแหงการดับทุกขดวยจิตใจของตัวเอง
ฉะนนั้ ปรญิ ญาท่พี ระองคไดรับมิใชปริญญาตามที่ชาวโลกยึดถือ หากแตเปนการปริญญา
คือความรูรอบตามกรอบของอริยสัจ ๔ และมีโยนิโสมนสิการเปนอาภรณประดับ
สตปิ ญญาของผูเรยี น

พระพุทธศาสนาหยิบยื่นความสงบ วิทยาการสมัยใหมพัฒนาศักยภาพของ
มนุษยใ หมีความฉลาดในการแสวงหาความอยูรอดทางรางกาย แตไมสามารถทําใหมนุษย
เกิดความสุขสงบทางจิตใจ กลาวคือ มุงเนนพัฒนาทักษะใหเกิดความชํานาญ และ
เช่ียวชาญในการแสวงหาส่ิงเสพเพื่อสนองตอบตอความอยากรูอยากเห็น และอยากมี
อยากเปนของตัวมนุษยเ อง แตพระพุทธศาสนาจะทําใหมนุษยเขาใจความรูสึก และความ
ตอ งการของตัวเองวา ไมสามารถแสวงหาหาส่ิงตางๆ มาปรนเปรอเพื่อสนองตอบตอความ
อยากของตัวเองได ซารตนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสไดอธิบายวา “มนุษยเปนความปรารถนา
ที่ไรความสําราญ” (Man is a useful passion) เหตุที่เปนเชนน้ีเพราะ “มนุษยคือความ
ขาดหาย ความบกพรอง หรือชองวาง” ซึ่งสอดรับกับหลักการทางพระพุทธศาสนาท่ีเนน

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òù

วา “แมนํ้าเสมอดวยตัณหายอมไมมี” การเขาใจธรรมชาติของจิตใจในลักษณะเชนนี้ จะ
ทําใหมนุษยแสวงหาหาวัตถุ และสิ่งเสพในฐานะเปนส่ิงจําเปน (Necessity) มายิ่งขึ้น
มากกวาการใชกายของตัวเองไปมุงเนนแสวงหาคุณคาเทียมจากส่ิงเสพตางๆ ท่ีเขามา
ยัว่ ยวนและหลอกลอจิตใจของมนุษย

การรูแจงโลกของพระองคเปนการรูแจงโลกท้ังภายในและภายนอก โดยเร่ิมตน
พระองคทรงเรียนรูและเขาใจทั้ง ๑๘ ศาสตร และหลังจากนั้น พระองคทรงเรียนรูและ
เขาใจ “พุทธศาสตร” การเรียนรูและเขาใจทั้งวิทยาการ หรือศาสตรท้ัง ๒ ประเด็นนั้น
สง ผลใหพ ระองคไ ดท รงไดร บั การเรยี กขานวา “โลกวิทู” อันเปนรูเรียนรูแจงโลกทั้ง ๓ คือ
(๑) โอกาสโลก โลกอันกําหนดดว ยโอกาส โลกอันมีในอวกาศ หรือจักรวาล (๒) สัตวโลก
โลกคือหมูสัตว และ (๓) สังขารโลก โลกคือสังขาร อันไดแกสภาวธรรมท้ังปวงที่มีการ
ปรุงแตงตามเหตุปจจัย และหากจะนําโลกท้ัง ๓ น้ีไปเปรียบเทียบกับวิทยาการหรือ
ศาสตรท่ีเปนหลักท้ัง ๓ น้ัน จะพบวา โอกาสโลกเปรียบไดกับวิทยาศาสตรที่เนนศึกษา
ธรรมชาติ โลก และจักรวาล สัตวโ ลกเปรยี บไดก บั สงั คมศาสตรที่เก่ียวของและสัมพันธกับ
มนุษยซ่ึงจะตองพึ่งพาอาศัยและอยูรวมกันในฐานะเปนสัตวสังคม (Social Animal)
สังขารโลกเปรียบไดกับมนุษยศาสตรท่ีเนนคุณคาภายในที่สัมพันธกับการตัดสินคุณคา
ท่ีวาดวยความดี ความงาม และความสุข ดวยเหตุน้ีผูเขียนจะไดทําการศึกษาเฉพาะเรื่อง
ในพัฒนาการแหงพระพุทธศาสนา เชน ความรูหรือพัฒนาการพระไตรปฏก ขอถกเถียง
และการตีความศีลในพระพุทธศาสนา แนวคิดเร่ืองจิตประภัสสรในพระพุทธศาสนาเถร
วาทและมหายาน การบรรลุธรรมของพระโพธิ์สัตว ดนตรีในพระพุทธศาสนาและ
พระพุทธศาสนากับโสเภณี อยา งเปนระบบเพ่ือจะนําเสนอในบทตอไป

บทที่ ๒
พระพุทธศาสนาในศรีลังกา

ความนาํ
ประวัติศาสตรศรีลังกาเร่ิมตนพรอมกับพุทธศักราช คัมภีรมหาวงศ ซึ่ง

เปน พงศาวดารและตํานานพทุ ธศาสนาของลงั กาเลา วา เจาชายวิชัย โฮรสของพระเจา
สหี พาหุกษัตริยแ หง ลาฬประเทศชุมพทู วีป (อยใู นแควนเบงกอล) ไดเสด็จโดยทางเรือ
พรอมดว ยบรวิ ารเจ็ดรอ ยขึน้ สูเกาะลังกา ณ ถน่ิ ทีเ่ รียกวา ตัมพปณณิ ในวันเดียวกับที่
พระบรมศาสดาเสด็จสปู รนิ ิพพาน เหตุการณคร้ังน้ถี ือวาเปน ครั้งแรกท่ีชนเผาสงิ หลเขา
สูลงั กา และพระเจา วชิ ยั เปนกษัตริยองคแรกของลังกาทวปี ในการเสดจ็ เขาครองลงั กา
ทวีป เจาชายวิชัยคงจะไดนําพระพุทธศาสนาเขามาดวยแตไมปรากฏหลักฐานวา
แพรห ลายอยางใด

ประวตั ศิ าสตรพ ระพทุ ธศาสนาในลงั กาทวีปที่แทจริง เริ่มตนในรัชกาลพระเจา
เทวานัมปยติสสะ (พ.ศ. ๒๓๖ – ๒๗๖) ผูครองราชย ณ เมืองอนุราธปุระ กษัตริย
พระองคนี้ทรงมีไมตรสี นิทสนมกบั พระเจา อโศกมหาราช แหง ชุมพทู วีป พระเจาอโศก
ทรงสงพระมหินทเถระพรอมดวยคณะ (พระภิกษุ ๔ รูป สามเณร ๑ รูป อุบาสก ๑
คน) มาเผยแพรพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป คณะศาสนทูตไดรับการตอนรับจาก
พระมหากษัตรยิ และประชาชนลังกาอยางดียง่ิ พระพทุ ธศาสนาแพรห ลายอยา งรวดเรว็
มีผูอปุ สมบทมากมาย

พระนางอนฬุ าเทวีมเหสแี ละสตรีบรวิ ารจํานวนมากปรารถนาจะอปุ สมบทบาง
พะเจาเทวานมั ปย ติสสะจึงสง คณะทูตไปสรู าชสํานักของพระเจา อโศก ทูลขอพระสังฆ
มติ ตาเถรี และกง่ิ พระศรีมหาโพธิ์ ดา นทักษิณมาสลู ังกาทวีป

การอญั เชญิ กง่ิ มหาโพธ์ิจากพุทธคยาในคร้งั นี้ นับเปนตุการณยิ่งใหญคร้ังหนึ่ง
ในประวตั ิศาสตรพระพุทธศาสนาและชนชาตลิ งั กา พระเจาเทวานัมปยติสสะโปรดให
ปลกู กิง่ มหาโพธไิ์ ว ณ พระนครอนรุ าธปุระ ตนโพธนิ์ ีป้ จ จบุ นั เปน ตนไมประวัติศาสตรท่ี

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò óñ

มีอายุมากที่สุดในโลก สิ่งสําคัญนอกจากนี้คือ ไดทรงสรางมหาวิหารและถูปารามอัน
เปนเจดยี องคแ รกของลังกาไว ณ พระนครเดยี วกัน

หลังราชกาลพระเจาเทวานัมปยติสสะแลว ลังกาทวีปตกอยูในความ
ครอบครองของกษัตริยทมิฬ และกษัตริยตางชาติอ่ืนๆ อยูเกือบทศวรรษ ตอมาพระ
เจา ทฏุ ฐคามณี (พ.ศ. ๓๘๒ – ๔๐๖) ทรงกูราชบัลลังกคืนได พระองคทรงมีพระราช
ศรทั ธาแรงกลา ไดทรงสรางโลหปราสาท ๗ ชั้น เปนโรงอุโบสถของมหาวิหาร และมหา
สถูปหรอื เจดยี ร ุวัณเวลี ณ พระนครอนรุ าธปุระ

ยุคสําคัญอีกยุคหน่ึงในประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาของลังกา คือรัชกาล
พระเจาวัฏฏคามณีอภัย (พ.ศ. ๔๓๙ และ พ.ศ. ๔๕๔ – ๔๖๖) เมื่อพระองคข้ึน
ครองราชยไมนาน พวกทมิฬชงิ อํานาจได และเขาครองอนรุ าธปุระอยู ๑๔ ป ระหวาง
นป้ี ระเทศเกิดยุคเข็ญถงึ ตอ งกนิ เนอื้ มนุษย พระมหากษตั ริยทั้งหลายจํานวน ๕๐๐ รูป
เกรงพระศาสนาจะสูญสิ้นจึงประชุมกันท่ีอลุวิหาร ณ มาตเล ทําการจารึกพระพุทธ
พจนลงในใบลานเปนครั้งแรก (ไทยนับเหตุการณน้ีเปนสังคายนาครั้งท่ี ๕ แตวงการ
ท่วั ไปนับเปน ครั้งท่ี ๔) พระเจาวัฏฏคามณีอภัยทรงเท่ยี วหนซี ุกซอ นอยู แตในที่สุดทรง
เอาชนะทมิฬไดแ ละไดท รงสรา งอภัยคีรีวิหาร ถวายแดพ ระมหาติสสเถระผูอุปการคุณ
แกพ ระองคและพวกขุนพลในคราวตกยาก

การขอนีไ้ ดกลายเปน เหตใุ หค ณะสงฆล ังกาแตกแยกออกเปน ๒ ฝายคือ ฝาย
มหาวิหาร ซ่ึงเปนผูยดึ มน่ั ในคาํ สอนแบบแผนประเพณีด้งั เดิม กบั ฝายอภัยครี วี หิ าร ซ่ึง
ไดชื่อวาเปนพวกนิกายธรรมรุจิ มีความคิดเห็นเปนอิสระตอนรับทัศนะใหมๆ จาก
ตา งประเทศ ศึกษาเรื่องฝายเถรวาทและมหายาน อภัยคีรีวิหารน้ีตอมาไดกลายเปน
ศนู ยก ลางสําคัญยง่ิ ของพระพทุ ธศาสนาอยูสมัยหน่ึง

ประวตั ิศาสตรย ุคตอ มา มีความวุนวายทางการเมืองซ่ึงเก่ียวพันกับคณะสงฆ
อกี เปนอนั มาก ถงึ กับทาํ ใหมหาวิหารทมี่ อี ทิ ธิพลอยา งยงิ่ รกรา งไปคราวหนง่ึ แตอทิ ธพิ ล

óò ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

อันม่ันคงลึกซง้ึ กเ็ ปน เหตุใหตอ งมีการสรางขึน้ ใหม สว นอภยั ครี ีวิหารก็ยงั เปนศนู ยกลาง
สาํ คัญแหงหน่ึงของพระพทุ ธศาสนา

ในรัชกาลพระเจาสิรเิ มฆวรรณ เม่ือครองราชยมาได ๙ ป (พ.ศ. ๘๕๔) ไดมี
การอัญเชิญพระทาฐธาตุ (พระเขี้ยวแกว) จากทันตปุระในกลิงครัฐมายังลังกาทวีป
พระราชาโปรดใหรกั ษาไวภ ายในพระนคร และนําออกใหประชาชนนมัสการที่อภัยคีรี
วิหารเปนประจําทุกป (เมืองท่ีต้ังวิหารพระทันตธาตุนี้ ปจจุบันเรียกวา เมืองแคนดี
พระทันตธาตุเปนศูนยรวมจิตใจที่สําคัญที่สุดอยางหน่ึงของชาวลังกาตลอดมาจน
ปจจบุ นั ) คร้ันถึงรัชกาลพระเจามหานาม (พ.ศ. ๙๕๓ – ๙๗๕) พระพุทธโฆษาจารย
อรรถกถาจารยผ ูยง่ิ ใหญ ไดเ ดินทางจากชมพูทวปี มาพํานักพักอาศัย ณ มหาวิหาร และ
แปลอรรถกถาภาษาสิงหลกลบั เปน ภาษามคธ

หลวงจีนฟาเหยี น ซึ่งเดินทางมาในกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ เลาไววา อภัยคีรี
วหิ ารมพี ระภิกษุ ๕ พนั รปู สวนมหาวหิ ารมภี ิกษุ ๓ พนั รูป ชวงระยะเวลานน้ี ับวา ลังกา
ไดกลายเปนศูนยกลาง สําคัญแหงหน่ึงของพุทธศาสนา วัดตางๆ มีชื่อเสียงเปน
ศนู ยก ลางการศกึ ษา ทําใหม ปี ราชญจ ากตา งแดนไกลมาเลาเรียนคนควา

ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ การศกึ ษาอภิธรรมไดรับความนิยมและรุงเรือง ตอมา
ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ ลงั กายายเมืองหลวงจากอนุราธปุระมาอยทู ่ีโปโฬนนารุวะ หรือ
ปุรัตถิปุระ เพราะเหตุผลในทางยุทธศาสตรเปนสําคัญ จากน้ีศูนยกลางวัฒนธรรมก็
เปล่ียนมารวมอยูท ีเ่ มอื งหลวงใหม อนรุ าธปรุ ะกลายเปนเมืองเกามีความหมายไปทาง
ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ เร่ืองของมหาวหิ าร อภัยครี ีวหิ ารเปน ตน กจ็ างลง

ตอนตนสมยั เมืองหลวงใหมน้ี เกิดนิยมยกยองพระพวกปง สกุ ลู ยิ ะ (ถือบังสุกุล
เปนวัตร) กันขึ้น ทํานองเปนกิริยาตอชีวิตท่ีสุขสบายมั่งมีของพระสงฆสมัยน้ัน และ
ตอมาไดมีความนิยมนับถือขอปฏิบัติในศาสนาพราหมณมากขึ้น มีการสรางเทวรูป
เทวสถาน และมีความสัมพันธใกลชิดกันย่ิงขึ้นระหวางพระพุทธศาสนากับศาสนา
พราหมณ

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ Ñ§¡Ò óó

กลา วโดยสรปุ ระหวา งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ ถึง ๑๗ เปนยคุ ท่ีเดือดรอนวุนวาย
เพราะการรุกรานจากอินเดยี บา ง ความไมสงบภายในบาง ในระหวางยคุ นเี้ องท่ีภิกษุณี
สงฆสูญส้ินและภิกษุสงฆเส่ือม จนกระท่ังเม่ือพระเจาวิชัยพาหุท่ี ๑ ทรงมีพระราช
ประสงคจ ะฟนฟศู าสนาใน พ.ศ. ๑๖๐๙ ทรงหาพระภิกษทุ ่อี ุปสมบทถูกตองไดแทบไม
ครบ ๕ รปู และตอ งทรงอาราธนาพระสงฆจ ากพมา ตอนใตม ากระทาํ อุปสมบทกรรมใน
ลังกา

ตอมาถึงสมัยแหงมหาราชที่สําคัญที่สุดพระองคหน่ึงของลังกา คือ พระเจา
ปรากรมพาหุที่ ๑ (พ.ศ. ๑๖๙๗ – ๑๗๓๐) ซ่ึงเปนโอรสของพระเจาวิชัยพาหุที่ ๑
พระองคทรงเปน ทั้งนกั รบและนักปกครองทีท่ รงสามารถจัดการปกครองใหเรียบรอย
จัดการชลประทานและการเกษตรไดดี กลาวกันวาพระองคมีดํารัสวา จะไมยอมให
หยาดนา้ํ ฝนแมนอยหนง่ึ ไหลลงคืนสทู ะเลโดยมิไดท ําใหบงั เกิดประโยชนแกประชาชน

ในดานการพระศาสนา ทรงชําระการพระศาสนาใหบริสุทธิ์ยังคณะสงฆให
รวมเขาเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดอีกครั้งหน่ึง พระมหากษัตริยทรงสถาปนาสมเด็จ
พระสังฆราชปกครองสงฆท้ังประเทศเปนครั้งแรก ทรงสรางวัดวาอารามเปนยุคที่มี
ศลิ ปกรรมงดงาม และลังกาไดกลายเปน ศนู ยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนา ปรากฏ
เกียรติคุณแพรไปท่ัวมีพระสงฆและปราชญ เดินทางจากประเทศใกลเคียงมาศึกษา
พระพุทธศาสนาในลังกา แลวนําไปเผยแพรในประเทศของตนเปนอันมาก
พระพุทธศาสนาไดร งุ เรอื งอยรู ะยะหน่ึง แตภายหลงั รัชกาลนี้แลว พวกทมิฬจากอินเดีย
ก็มารุกรานอกี และไดเขาต้ังถิน่ ฐานม่ันคง ขยายอาณาเขตไปเรอื่ ยๆ อาณาจกั สงิ หลตอง
ถอยรนลงทางใต ตองยายเมืองหลวงอยูบอยๆ ทําใหพระพุทธศาสนาเจริญไดยาก
นอกจากจะเพียงธํารงความม่ันคงเขมแข็งไวเทาน้ัน เหตุการณสําคัญครั้งหนึ่งคือใน
พ.ศ. ๒๐๑๙ พระภกิ ษุคณะหน่งึ จากพมาไดม ารบั อุปสมบทกรรมท่ีลงั กา และนําคัมภีร
ภาษาบาลเี ทาทม่ี อี ยูไ ปยังพมาโดยครบถว น

óô ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ระหวางท่ีลงั กาออ นแอเพราะการตอสูแขงอาํ นาจระหวางคนสองเผา อยูนี้ พอ
ถึงประมาณ พ.ศ. ๒๐๕๐ ชนชาติโปรตเุ กสก็เขามารุกรานซ้ําเติม ชนชาติโปรตุเกสเขา
มาคาขายพรอมกันนั้น ก็แสวงผลประโยชนจากความขัดแยงของชนสองเผาน้ัน เขา
ครอบครองดนิ แดนบางสวนไวไ ด และพยายามบีบบังคบั ประชาชนทีอ่ ยูในยึดครอง ให
เปล่ียนไปนบั ถอื ครสิ ตศ าสนานกิ ายคาทอลกิ คราวหนงึ่ ถึงกับยึดอํานาจกษัตรยิ ล งั กาได
สถานการณพระพุทธศาสนาไดเสื่อมทรามลง ถึงกับวาตองนําพระสงฆจากพมามา
ประกอบอุปสมบทกรรมอีกครงั้ หนึง่

ในระยะนี้ ชาวฮอลนั ดาไดป ระกอบการคาขายมีอาํ นาจมากขึ้นในดินแดนแถบ
น้ี ลังกาจึงตอนรับชาวฮอลันดาเพ่ือใหเขามาชวยขับไลโปรตุเกสจนสําเร็จใน พ.ศ.
๒๒๐๐ แตแลวฮอลันดาก็ครอบครองดินแดนสวนท่ีตนยึดไวไดเขาแทนท่ีโปรตุเกส
ฮอลันดาพยายามประดิษฐานคริสตศาสนานิกายโปรเตสแตนทและหามกัน
พระพุทธศาสนาแตไ มส าํ เรจ็ กษัตริยล งั กาไดรับคําแนะนําจากพระสรณังกร เมื่อ พ.ศ.
๒๒๙๔ (ไทยนบั ๒๒๙๓ ตรงกบั รชั กาลพระเจาบรมโกศ) ใหสงคณะทูตไปยังประเทศ
ไทย แลวนําพระภิกษุคณะหน่ึงจํานวน ๑๐ รูป มีพระอุบาลีเปนหัวหนามาประกอบ
อปุ สมบทกรรม ณ เมืองแกนดี มีผูเ ขารว มการอปุ สมบทถึงสามพันคน พระสรณงั กรซึ่ง
ไดรับการอุปสมบทใหมคราวน้ี ไดรับสถาปนาจากพระมหากษัตริยใหเปนสมเด็จ
พระสังฆราช เปนการประดิษฐานพระสงฆ อุบาลีวงศ หรือสยามวงศ หรือสยาม
นิกาย ในลงั กาทวีป

ฮอลันดาครองอํานาจอยูไมนานก็เสื่อมลง อังกฤษไดเขาครอบครองอํานาจ
แทนในแถบชายทะเลเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๐ และอีก ๑๙ ปตอมาอํานาจปกครองของ
องั กฤษก็ขยายออกไปทั่วลงั กาทวปี โดยอังกฤษรบชนะกษัตริยแหงแกนดี และกระทํา
สนธิสัญญารับประกันสิทธิของฝายลังกา และการคุมครองพระศาสนา ตอมา พ.ศ.
๒๓๖๒ เกิดกบฏรุนแรงขึ้น ครั้นอังกฤษปราบกบฏสําเร็จและดัดแปลงขอความใน
สนธิสญั ญาเสียใหม วงศก ษตั ริยล ังกาแตโ บราณกถ็ งึ อวสานลง

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ Ñ§¡Ò óõ

เมื่อลังกาทวีปตกอยูในปกครองของอังกฤษระยะแรก คณะสงฆไดอิสรภาพ
มากขึน้ เนอ่ื งมาแตสนธิสัญญาใหความคุมครองแกพระพุทธศาสนาดังกลาวแลว ไดมี
พระสงฆหลายคณะไปรบั อุปสมบทกรรมใหมใ นพมา กลับมาตง้ั ศนู ยกลางสบื อุปสมบท
วงศของตน อิสรภาพของพระพุทธศาสนาเปนไปไดประมาณกึ่งพุทธศตวรรษเทานั้น
รัฐบาลก็ถูกบีบจากคริสตศาสนาใหยกเลิกความเก่ียวของทุกประการในกิจการ
พระพุทธศาสนา บาทหลวงครสิ เตยี นไดด ําเนินการเผยแพรศ าสนาของตนและตอตาน
พระพุทธศาสนาเปนการใหญ ถึงกับโจมตีพระพุทธศาสนาในที่สาธารณะ นับวา
พระพุทธศาสนาไดรับภยันตรายเปนอันมาก จากขบวนการตอตานและทําลาย
พระพุทธศาสนาทรี่ ฐั บาลตางชาติสนบั สนนุ เปน เวลากวา ๓๐๐ ป ขอน้ีเปนเหตุสําคัญ
ใหช าวลงั กาด้ินรนแสวงอสิ รภาพ เพ่ือนาํ ศาสนาประจาํ ชาตขิ องตนกลับคืนมา ลังกาได
อสิ รภาพเมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๑ (นับแบบไทย ๒๔๙๐) การโจมตบี ีบกดจากผเู ปน ปฏิปก ษต อ
พระพทุ ธศาสนา กอปฏิกริ ิยากระตุน ใหเ กดิ การฟนฟใู นพระพุทธศาสนา และทําใหเกิด
ความเขมแข็งกระตือรือรนและความเอาจริงเอาจัง ในการคุมครองรักษาศาสนา
วัฒนธรรมประจาํ ชาตขิ องตนยง่ิ ขนึ้ ซึ่งอาการเชนน้ีเปนไปอยูจนถึงทุกวันน้ี คณะสงฆ
ในลังกาปจ จบุ ันมี ๓ นิกายคือ สยามวงศ หรือ อุบาลีวงศ อมรปุระนิกาย และรามัญ
วงศ ขอแตกตางกันมีเพียงเล็กนอย และเปนเร่ืองทางประวัติศาสตร คือ เกิดจาการ
ท่วี าอุปสมบทวงศสบื มาจากสายไทยหรอื พมา

๒.๑ การปกครองคณะสงฆในประเทศศรีลังกา
กําเนิดสยามนิกายในศรีลังกา: พระอุบาลีไดเปนพระอุปชฌายใหการ

อุปสมบทสมาเณรสรณังกรพรอมกับสามเณรระดับเจาอาวาสอื่นๆ อีก ๕ รูปท่ีวัดบุ
ปผาราม ขณะไดรบั การอปุ สมบท สามเณรสรณังกร มีอายุ ๕๔ ป พระเจากีรติศรีราช
สงิ หะเสดจ็ ไปทอดพระเนตรพิธีอุปสมบทครงั้ ประวัติศาสตรน ี้ดว ย

สมณทูตคณะน้ีอยูที่ศรีลังกร ๓ ป ใหการบรรพชาอุปสมบทแกชาวศรีลังกา
เปนพระภิกษุ ๗๐๐ รูป เปนสามเณร ๓,๐๐๐ รูป จากนั้นไดมีสมณทูตคณะที่สอง

óö ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

จํานวน ๔๒ รูปซึง่ มพี ระวสิ ทิ ธาจารยเปนหัวหนาเดินทางไปทําหนาท่ีตอจากคณะของ
พระอุบาลเี มอ่ื พ.ศ. ๒๒๙๘

เม่ืออยูในศรีลังกาไดเกือบ ๓ ป พระอุบาลีไดถึงมรณภาพ ควรบันทึกไววา
สมณทูตคณะที่หนึ่งซ่ึงมีพระอุบาลีเปนหัวหนาไดเอาชีวิตไปท้ิงไวที่ศรีลังกาเสียเปน
สว นมาก ภายในเวลา ๓ ป นนั้ อาหารและอากาศทแี่ ปลกไปของศรีลงั กาสมัยนน้ั ไดครา
ชวี ิตพระภกิ ษจุ ากสยาม ๑๐ รูป สามเณรจากสยามถึงมรณภาพ ๒ รูป สมณทูตเหลือ
รอดชีวติ กลับกรงุ ศรอี ยธุ ยาเพียง ๗ รปู หนึ่งในนัน้ คอื พระอรยิ มนุ ี

พระอุบาลีเปน พระธรรมทตู ทีย่ ่งิ ใหญเ พราะไดป ฏิบตั หิ นาที่แบบมองกายถวาย
ชีวิตเพ่ือพระพุทธศาสนา มรดกที่ทานฝากไวล้ําคาเหลือคณนานับ การปฏิบัติหนาท่ี
ของทา นไดช วยพืน้ ฟูสมณวงศแ ละตอ ชวี ติ พระพทุ ธศาสนาในศรีลังกามาจนถึงปจจุบัน
เมอ่ื พระอบุ าลีถึงมรณภาพลง พระเจากรี ติศรีราชสิงหะไดสถาปนาศิษยเ อกของทา นคอื
พระสรณังกรเปน พระสังฆราชแหง ศรลี ังกา นับเปน คร้งั แรกในประวัตศิ าสตรศรีลังกาท่ี
มตี ําแหนง พระสงั ฆราชน่คี งเอาแบบอยา งไปจากสยาม

ตอมาเม่ือพระสรณังกรบวชเปนพระภิกษุได ๑๒ พรรษาทานก็ไดเปนพระ
อุปช ฌายใ หก ารบรรพชาอปุ สมบทแกก ลุ บุตรศรีลังกาสบื มา ระยะน้ที านพาํ นักอยูที่วัด
บุปผาราม คณะสงฆท่ีสอดมาจากสายของพระสงั ฆราชสรรณงั กรนั้นไดก ลายเปนนิกาย
ใหญท่ีสุดในศรีลังกาปจจุบันเรียกวา สยามนิกาย มีช่ือเต็มวา สยาโมปาลีมหานิกาย
หมายถึงนิกายใหญของพระอุบาลีจากประเทศสยาม ไมมีพระธรรมทูตไทยอื่นใดอีก
แลวท่ีสามารถฝากช่ือตัวและช่ือประเทศใหเปนชื่อนิกายในตางแดนไดเหมือนพระอุ
บาลี เพราะเหตุนีแ้ หละพระอุบาลจี งึ เปนพระธรรมทตู ท่ียิ่งใหญท สี่ ุดแหง สยาม

คณะสงฆส ยามนิกายเปน นกิ ายใหญทส่ี ดุ ในศรีลังกาปจจุบัน โดยมีวัดในสังกัด
ทงั้ สน้ิ ๖,๐๑๘ วดั มีพระสงฆ ๑๘,๗๘๐ รูป จํานวนพระสงฆศรีลังกาอาจดูไมมากนัก
เมื่อเทียบกับคณะสงฆไทย ทง้ั นเี้ พราะพระสงฆศรีลังกานิยมบวชไมสึก วัดในศรีลังกา
บางแหงเร่มิ เอาอยา งไทยคือสงเสรมิ การบวชพระช่ัวคราวเปนเวลา ๓ เดือนในพรรษา

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅѧ¡Ò ó÷

เพราะเห็นวา สว นดีของประเพณบี วชพระช่ัวคราวของไทยคือชวยดังคนเขา วดั แตต องมี
ระบบการจดั การศกึ ษาอบรมอยางดีสําหรับพระบวชใหม

คณะสงฆสยามนิยามนิกายในศรลี ังกาแบงเปน ๒ นิกายยอยคือฝายมัลวัตตะ
และฝายอัสคิริยะทั้งสองฝายตางสืบตอมาจากพระอุบาลี โดยท่ีฝายมัลัตตะจัดเปน
คามวาสี ขณะท่ีฝายอัสคริยะจัดเปนเปน วนวาสี แตละฝายตางปกครองตนเองเปน
อิสระจากกัน ท้ังฝายมลั วตั ตะและฝายอัสคิริยะตางมีคณะกรรมการบริหารคณะสงฆ
เปนของตนเองเรียกวาการกสภา คณะกรรมการสภาเลือกกรรมการดวยกันเองเปน
มหายายกและอนุนายก ผูดํารงตําแหนงพระมหานายกในสยามนิกายจึงมี ๒ รูป คือ
พระมหานายกฝา ยมัลวตั ตะรูปหน่ึงและพระมหายกฝา ยอัสคิริยะอีกรูปหนึ่ง พระมหา
นกทง้ั สองรปู ผลัดเปลย่ี นกนั ทําหนาที่เฝา พระธาตเุ ข้ยี วแกวกนั คนละป การผลดั เปลยี่ น
วาระนับจากวันอาสาฬหบูชาเปนตนไป พระมหานายกนิกายอ่ืนไมไดรับสิทธิ์ในการ
ดแู ลรักษาพระธาตเุ ขีย้ วแกวอยางนี้ จึงเห็นไดวานิกายอื่นเหลานี้จะมีอิทธิพลในสังคม
นอยกวา พระมหานายกสยามนิกาย

สมเดจ็ พระสังฆราช (สมเดจ็ พระทปิ ปะทุวาเว ศรีสทิ ธาถะสุมงั คละ มหานายะ
กะเถโร พระมหาสังฆนายก) แหงประเทศศรีลังกา เมตตาใหคณะพระนิสิต ป.เอก
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใหเขาเฝาเปน
กรณพี เิ ศษ ณ วดั บปุ ผาราม หรอื วดั มลั วตั ตะ (คามวาสี) กรงุ แคนด้ี เมืองหลวงเกาของ
ศรลี งั กา อนั เปนวัดที่มีความเกี่ยวของผกู พันแนนแฟนทางดานประวัติศาสตรระหวาง
กรุงสยามและกรงุ ลงั กายาวนานมากกวา ๓๐๐ ป โดยพระเจาอยูหัวบรมโกศ ในชวง
ปลายกรุงศรีอยุธยา ไดสงพระสมณทูต นําโดยพระอุบาลีมหาเถระ มาฟนฟูศาสนา
พทุ ธในลังกา ตามคาํ ขอของกษตั ริย

óø ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

รองพระมหาสังฆนายกแหง ประเทศศรีลังกา เมตตาใหคณะพระนิสิต ป.เอก
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใหเขาเฝาเปน
กรณพี ิเศษ ณ วดั อสั คริ ยิ ะ (อรญั วาส)ี กรงุ แคนดี้ เมอื งหลวงเกา ของศรลี ังกา

๒.๑.๑ วนวาสกี บั คามวาสี
สืบเนื่องจากการชําระอธิกรณภายในคณะสงฆสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๗
ตอเน่อื งสบื มาจนถงึ การฟน ฟูคณะสงฆสมยั อาณาจกั รดมั พเดณิยะ ความแตกตางดาน
นิกายจงึ หมดหายไปกลายเปนยคุ แหง การศกึ ษา พระสงฆท ุกรปู นามสมยั นีต้ างถอื วาตน
เปนผูสืบทอดโดยตรง จากคณะสงฆมหาวิหารแหงเมืองอนุราธปุระ ผูแตงคัมภีร

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò óù

สัทธรรมรัตนากรยะไดข อรองใหกษตั รยิ ท าํ หนาทอ่ี นุเคราะหค ณะสงฆ เพื่อดํารงรักษา
ความบรสิ ุทธ์ิและช่ือเสียงของเถริยนิกายตามประเพณีแหงสํานักมหาวิหาร แตคณะ
สงฆสมยั นก้ี ็มคี วามแตกตา งอยางชัดเจน ตามหมูคณะและสถาบันการศึกษาตลอดจน
การนบั ถือตามครอู าจารยแ หง ตน

สมยั อาณาจกั รอนุราธปุระตอนปลายเกิดมีสามนิกายหลัก ไดแก สํานักมหา
วิหาร สํานักอภัยคิรีวิหาร และสํานักเชตวันวิหาร๑ สามนิกายเหลาน้ีแมรุงเรืองใน
เบ้ืองตนแตก็ประสบกับความทรุดโทรมเสื่อมถอย เปนเหตุใหพระเจาวิชัยพาหุท่ี ๑
แหง อาณาจักรโปโฬนนารุวะตองสงราชทูตไปอัญเชิญพระสงฆจากรามัญประเทศเขา
มาฟนฟูศาสนา แตไมน านนิกายใหญน อยกเ็ กิดแตกแยกอีกครั้ง จนลวงถงึ สมัยพระเจา
ปรากรมพาหทุ ี่ ๑ พระองคไดส ังคายนาพระศาสนาและออกฎกตกิ า เพื่อควบคุมความ
ประพฤตขิ องพระสงฆผูประพฤตินอกธรรมวนิ ยั พระองคไดรับการชวยเหลือจากพระ
ทมิ บุลาคะมหากัสสปเถระ ซึ่งเปนพระสงฆผ ดู ํารงตําแหนง สูงสดุ สมยั น้ัน ดว ยวิธกี ารอัน
ชาญฉลาด พระองคจ งึ สามารถยุตคิ วามขัดแยงแตกตางของนิกายสงฆ แมคณะสงฆจะ
รวมเปน หนึง่ เดยี ว ไมม ีความแตกตา งและลวนประพฤตติ นตามแบบผสู ละโลก แตก ็เกิด
มคี ณะอ่ืนขึน้ มาแทนที่รูจักกันในนามวนวาสีและคามวาสี กําเนิดและพัฒนาการของ
คณะสงฆท ง้ั สองคณะเรม่ิ ปรากฏมีต้งั แตย คุ นจี้ นสิ้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ รายละเอียดมี

๑ EZ., 2, no.6. วิกรมสิงหะเห็นวาหากถือตามสํานวนของดัมพเดณิกติกาวัตรที่อยูใน
พิพธิ ภณั ฑอังกฤษ หมายเลข Or. 6690 (๑๓๙), คาํ วานิกายที่บอกวา เปน พวกนอกรีตหมายถึงธรรม
รจุ สิ าคลยิ ะ และไวตุลยะ EZ., 2, no.6 p.275; คมั ภรี น ิกายสงั ครหยะกลา วถงึ พระเจาปรากรมพาหุ
ท่ี ๑ วาทรงรวมคณะสงฆทั้งสามนิกายกลาวคือธรรมรุจิ สาคลิยะ และไวตุลยะ Nks., p.22. แต
หลักฐานในคัมภีรจุลวงศบอกวาท้ังสามนิกายดํารงสืบมาถึงเวลานี้รูกันวามหาวิหาร เชตวัน และ
อภยั ศรี Cv.79, 12-22 and 77, 1-30, see also UCHC, p.567 ff


Click to View FlipBook Version