The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

EP3 คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

EP3 คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เน

EP3 คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เน

Keywords: EP3 คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา เน

คุณธรรมจริยธรรมของผูบ้ ริหารสถานศึกษา
เนน้ ธรรมาธิปไตยและหลกั "จกั ขุมา วิฑูโร นสิ สยสมั ปันโน"

หรือหลกั ไตรสิกขาใฝ่ หาธมั โมโลยี

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

- อาจารยห์ ลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศึกษา
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
- เลขานุการหลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
- กรรมการบริหารงานบัณฑิตศึกษา มจร.วิทยาเขตขอนแก่น

- นกั ธรรมชั้นเอก

- ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรบัณฑติ (พธ.บ.) พระพุทธศาสนา มจร.วิทยาเขตขอนแกน่
- ประกาศนยี บัตรบัณฑติ วิชาชพี ครู (ป.บัณฑิต) วิชาชพี ครู มจร.วิทยาเขตขอนแก่น
- ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตร์มหาบณั ฑิต (ศษ.ม.) การบริหารการศกึ ษา

ม.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
- ปริญญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ (พธ.ม.) พระพุทธศาสนา มจร.วิทยาเขตขอนแกน่
- ปริญญาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) การบริหารการศกึ ษา ม.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวโํ ส, ดร.

เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดท่ี 3

เร่ือง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ภายใตว้ ิชา คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ (รหัสวชิ า 610 206)
อาจารยผ์ บู้ รรยาย (Morality and Professional Ethics)
ภาคการศึกษา พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.
หลกั สูตร [email protected]
สถานที่ ที่ 2/2564
ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยยัั มมหหาาจจฬุฬุ าาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ิทยยาาลลยั ัยววทิ ิทยยาาเขเขตตขขออนนแกแกน่ ่น พระครปู ลัดบญุ ชว่ ย โชติวโํ ส, ดร.

หัวขอ้ บรรยาย

- คุณธรรมจรยิ ธรรมของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา
- เนน้ ธรรมาธิปไตยและหลัก "จักขุมา วฑิ ูโร นสิ สยสัมปันโน"
- หลักไตรสิกขาใฝหุ าธัมโมโลยี
- สูตรพระพรหมสรา้ งโลก
- สตู รพระราชาสร้างรฐั
- สูตรกษตั รยิ ค์ รองแผน่ ดิน

มมหหาาววิททิ ยยาาลลยัยั มมหหาาจจฬุุฬาาลลงงกกรรณณรราาชชววทิ ิทยยาาลลยั ัยววทิ ทิ ยยาาเขเขตตขขออนนแกแกน่ น่ พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชตวิ โํ ส, ดร.

คุณธรรมจรยิ ธรรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

คุณธรรม หมายถึง ศีลธรรมทไี่ ด้ปลกู ฝังไวใ้ นจติ สาํ นึกของคน
เปน็ ความรสู้ ึกสํานกึ คดิ ทีจ่ ะนําไปสกู่ ารปฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ิชอบ และรดู้ รี ้ชู ว่ั
รู้เลอื กสรร ความเชื่อ ศรัทธา ยึดม่นั ในสงิ่ ดีงาม แฝงในจิตใจ
เป็น “นามธรรม” แล้วแสดงออกมาเปน็ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสงั คม
คุณธรรม เปน็ คุณภาพของจิตใจ

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครปู ลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

คณุ ธรรมจริยธรรมของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา วิธีธรรมาธิปไตย

ธรรมาธิปไตย ลกั ษณะการบริหาร

ยดึ ความสาํ เร็จของงานเป็นท่ตี ง้ั

เพอื่ ทํางานให้สาํ เร็จ ผ้บู รหิ ารยินดีรับฟังคําแนะนําจากทุก
ฝุาย ซ่ึงรวมทงั้ คนท่ไี มช่ อบเปน็ การสว่ นตัว สามารถแยกเร่ือง
งานออกจากความขดั แย้งส่วนตวั ยอมโง่ เพือ่ ศึกษาหาความรู้
จากผูเ้ ชี่ยวชาญ

นักบริหารประเภทนี้เดนิ ทางสายกลาง คือ ใช้ทง้ั
พระเดชและพระคุณ

“ใครทาํ ดีต้องให้รางวัล ใครทําชั่วตอ้ งลงโทษ”

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชติวํโส, ดร.

คุณธรรมจริยธรรมของผู้บรหิ ารสถานศึกษา วิธีธรรมาธิปไตย (ต่อ)

คุณธรรมจริยธรรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา คุณธรรมจริยธรรม
ท่ีสงั คมไทยคาดหวังว่าควรจะต้องมคี ุณธรรมจริยธรรม ทผี่ ูบ้ รหิ ารการศกึ ษาพึงมีในการบริหารงาน

ครองตน ครองคน และครองงาน ดงั นี้

๑. มีคุณธรรมและจรยิ ธรรมตอ่ ตนเอง ๑) สัปปรุ สิ ธรรม ๗ ธรรมของคนเป็นคนดีสมบูรณ์แบบ
(ครองตน) ๒) อิทธิบาท ๔ ธรรมแหง่ ความสาํ เรจ็ ฃ
๓) พรหมวหิ าร ๔ ธรรมประจาํ ใจ
๒. มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมต่อผอู้ นื่ และสังคม ๔) สงั คหวตั ถุ ๔ ธรรมเป็นหลักการสงเคราะห์
(ครองคน) ๕) ฆราวาสธรรม ๔ ธรรมสําหรบั ผู้ครองเรอื น
๖) ทศพิธราชธรรม ๑๐ ธรรมสาํ หรับผู้บรหิ าร
๓. มีคุณธรรมและจริยธรรมต่อหนา้ ทีก่ ารงาน
(ครองงาน)

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บุญช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

นกั บริหารจะทาํ หน้าทีส่ าํ เร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี จะต้องมีคุณลักษณะ ๓ ประการ
ดงั ท่ีพระพุทธเจ้าตรัสไว้ใน ทตุ ิยปาปณกิ สตู ร มีใจความว่า

๑) จักขุมา หมายถึง มีปญั ญามองการณ์ไกล เชน่ ถา้ เป็นพ่อค้าหรอื นกั บริหารธรุ กจิ ตอ้ งรวู้ ่าสนิ คา้ ที่ไหนไดร้ าคาถกู แลว้
นําไปขายทไี่ หนจึงได้ราคาแพง ในสมัยนตี้ อ้ งรวู้ ่าห้นุ จะขึ้นหรอื จะตกถ้าเปน็ นกั บรหิ ารท่วั ไปต้องสามารถวางแผนและฉลาด
ในการใช้คน คณุ ลักษณะข้อแรกน้ตี รงกับภาษาองั กฤษวา่ Conceptual skill คอื ความชํานาญในการใช้ความคดิ

๒) วิธโร หมายถงึ จดั การธรุ ะได้ดี มคี วามเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน เช่น พ่อค้าเพชรต้องดูออกว่าเป็นเพชรแท้หรือเพชรเทียม
ผู้เป็นนายแพทย์หัวหน้าคณะผ่าตัดต้องเชี่ยวชาญการผ่าตัด คุณลักษณะท่ี ๒ นี้ ตรงกับ Technical Skill คือ ความ
ชํานาญในด้านเทคนคิ

๓) นิสสยสมั ปนั โน หมายถึง พ่ึงพาอาศยั คนอื่นได้ เพราะเปน็ คนมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ดี เชน่ พอ่ คา้ เดนิ ทางไปค้าขายต่างเมืองก็

มเี พ่อื นพ่อค้าในเมอื งนนั้ ๆ ใหท้ พี่ กั อาศยั หรือใหก้ ยู้ ืมเงนิ เพราะมีเครดติ ดี นกั บรหิ ารท่ดี ีต้องผกู ใจคนไวไ้ ด้ คณุ ลกั ษณะที่

๓ น้ี สาํ คัญมาก มคี ํากลา่ วว่า “นกไม่มีขน คนไมม่ ีเพอ่ื น ข้นึ ทส่ี งู ไม่ได้” ขอ้ นต้ี รงกบั คาํ ว่า Human Relation skill คอื

ความชํานาญในดา้ นมนษุ ยสัมพันธ์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวํโส, ดร.

๑.ปรัชญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหาทางปรัชญาทั่วไปเป็นแม่บท เป็นแนวเก่าและมีมานาน เป็นระบบและรูปแบบที่
ชัดเจน เริ่มต้นจากการศึกษาปรัชญาทั่วไปก่อน เม่ือรู้จักและทําความเข้าใจกับปรัชญาทั่วไปหรือพ้ืนฐานแล้วก็จะ
วิเคราะห์การศึกษาไปตามปรัชญาแต่ละสาขา เปน็ การสร้างปรชั ญาการศึกษาตามปรัชญาทว่ั ไป

๒.ปรัชญาการศึกษาที่ยึดตัวการเป็นแกนกลาง เป็นแนวทางเก่าแก่ โดยเฉพาะในวงการศึกษาเอง
ปรัชญาแนวนี้ถอื วา่ เมือ่ มกี ารศกึ ษาจึงมปี รชั ญาการศึกษาเกิดขนึ้ การดาํ เนินการในลักษระใด กิจกรรม
ใดก็ตามจะมแี นวคดิ พื้นฐานอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เปน็ เครอ่ื งกําหนดอยูเ่ สมอ

๓. ปรัชญาท่มี ่งุ หาความกระจ่างในแนวคิด และกิจกรรมการศึกษา ถือว่าความสัมพันธ์ระหว่าปรัชญา

การศึกษามีความสัมพันธ์ในลักษณะท่ีปรัชญาไม่ใช่ตัวเน้ือหา แต่ปรัชญาเป็นกิจกรรมของการ

วิพากษว์ ิจารณ์ หรือหาความกระจา่ งในความหมายและถ้อยคาํ โดยเฉพาะในปัญหาของการศกึ ษาไทย

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น พระครูปลดั บุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

๑.ปรัชญาการศึกษาตะวนั ตก
ปรัชญาพื้นฐานทางตะวันตกท่ีมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา ปรัชญาพื้นฐานที่สําคัญและมีอิทธิพลต่อการ

จดั การศกึ ษาของประเทศตะวันตก มีหลายกลมุ่ และเนื่องจากการศกึ ษาตะวนั ตกมีอทิ ธพิ ลต่อการจดั การศึกษาไทยใน
ปจั จุบนั จงึ ควรทาํ ความเขา้ ใจกบั ปรชั ญาดังกล่าว ไดแ้ ก่

๑. จติ นิยม หรอื มโนคตวิ ทิ ยา (Idealism)

๒. สัจนิยม หรือวตั ถุนิยม (Realism)

๓. โทมัสนยิ มใหม่ (Neo-Thomism)

๔. ประสบการณ์นิยม หรอื ปฏิบตั ินิยม (Pragmatism,Experimentalism, Instrumentalism)

๕. อัตถภิ าวนิยม หรืออตั ภาวะนิยม (Existentialism) พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชติวํโส, ดร.

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

ปรัชญาจิตนิยม มีแนวคิดเก่ียวกับโลกและจักรวาล ว่าเป็น “โลกแห่งจิต” (The World of Mind) และมีแนวคิดว่า

ความร้ทู ี่แท้จริง คือ “จิตท่ีหย่งั รู้” (Truth as idea) แนวคิดเกี่ยวกบั ความดี หรอื จรยิ ธรรม ของนักปรัชญากลุ่มจิตนิยม คือ
“จริยธรรมเป็นการเลียนแบบความดีอันสมบูรณ์” (imitation of the absolute self) ท่ีมีค่าคงที่ไม่เปล่ียนแปลง
ตามกาลเวลาหรือสถานท่ีแนวคิดเกี่ยวกับความงาม หรือสุนทรียภาพ คือ “สุนทรียะ เป็นเครื่องสะท้อนถึงมโนคติ”

(reflection of the idea) นักปรัชญาคนสําคัญ คือ Plato ซึ่งมีชีวิตอยู่ระหว่าง ๔๒๗ – ๓๗๕ ปี ก่อนคริสตกาล
แนวคิดของ Plato มีอิทธิพลอย่างมาก ตอ่ การจดั การศกึ ษาของประเทศตะวันตก ทง้ั ในสมยั อดตี และปจั จุบนั เชน่

๑.แนวคิดเกี่ยวกบั วธิ ีการเรยี นรู้ ได้แก่ กระบวนการเรยี นรโู้ ดยการร้ือฟืน้ ความจํา
๒. แนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม คือ คุณธรรม มี ๒ ประเภท ได้แก่ คุณธรรมทางปรัชญา และคุณธรรมทาง
สงั คม ซึ่งตา่ งกันดังน้ี
- คุณธรรมทางปรชั ญา เป็นคณุ ธรรมทต่ี ้องอาศยั ปัญญา เปน็ คณุ ธรรมขนึ้ สูงสดุ
- คุณธรรมทางสงั คม เป็นการกระทําทีถ่ ูกต้องตามความเช่อื หรอื ประเพณี

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น พระครปู ลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

แนวคิดของนักปรชั ญากลมุ่ จิตนิยมทนี่ าํ มาใช้ในการจัดการศึกษา
๑. แนวคิดเก่ยี วกับโรงเรยี น
๒. แนวคดิ เกีย่ วกับหลักสตู ร
๓. แนวคดิ เกี่ยวกับการเรยี นการสอน
๔. แนวคิดเก่ียวกับการศึกษากบั การพัฒนาคณุ ธรรม

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

ปรัชญาสจั นยิ มกับการศึกษา

ปรัชญาสัจนิยม มแี นวคิดเก่ยี วกับโลกและจักรวาล ว่าเปน็ “โลกแห่งวัตถุ” หรอื โลกแหง่ สิง่ ทีเ่ ป็นรปู ธรรม (The
World of Things) และมีแนวคิดวา่ ความรู้ทีแ่ ท้จริง คือ “ข้อเทจ็ จรงิ ที่สามารถสงั เกตได้” (Truth as observable fact)
แนวคิดเก่ียวกับความดี หรือจริยธรรม ของนักปรัชญากลุ่มสัจนิยม คือ “จริยธรรมเป็นกฎของธรรมชาติ” (the law of
nature)

แนวคิดเก่ียวกับความงาม หรือสุนทรียภาพ คือ “สุนทรียะ เป็นเครื่องสะท้อนถึง ธรรมชาติที่เป็นจริง”
(reflection of nature) นักปรัชญาคนสําคัญ คือ Aristotle ซ่ึงมีชีวิตอยู่ระหว่าง ๓๘๔ – ๓๒๒ ปี ก่อนคริสตกาล เคย
เปน็ ศษิ ยข์ อง Plato ทีส่ าํ นักอะคาเดมี (Academy) แต่มีทัศนะต่างจาก Plato หลายอยา่ ง คือ

๑. การหาเหตุผล
๒. การศกึ ษา
๓. อดุ มการณท์ างการศึกษา

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชติวํโส, ดร.

ปรัชญาโทมสั นยิ มใหม่กับการศึกษา

ปรัชญาโทมัสนิยมใหม่ มีแนวคิดเก่ียวกับโลกและจักรวาล ว่าเป็น “โลก
แห่งเหตุผล และการมีอยู่ของพระผู้เป็นเจ้า” (The World of Reason,
Being/God) และมีแนวคิดว่าความรู้ท่ีแท้จริง คือ “ความรู้ที่เป็นไปตามหลัก
เหตุผล และเป็นการหย่ังรู้” (Truth as reason and intuition) แนวคิด
เก่ียวกับความดี หรือจริยธรรมของนักปรัชญากลุ่มโทมัสนิยมใหม่ คือ
“จริยธรรมเป็นการกระทําอย่างมีเหตุผล” แนวคิดเก่ียวกับความงาม หรือ
สุนทรียภาพ คือ “สุนทรียะ เป็นส่ิงที่ก่อให้เกิดการหยั่งรู้เชิงสร้างสรรค์ โดย
อาศัยพทุ ธิปญั ญา”

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

๑. แนวคิดเก่ียวกับโรงเรียน คือ โรงเรียน เป็นสถานที่ที่จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการมีอยู่ของพระผู้เป็นเจ้า
(Being) เป็นแหล่งท่ีให้การฝึกฝนสติปัญญาของผู้เรียนให้เฉียบแหลมอยู่เสมอ บรรยากาศของโรงเรียนจึงต้องมี
ลกั ษณะท่ที าํ ให้ผู้เรยี นตน่ื ตวั รกั สัจจะ และฝกึ ฝนให้มีสัจจะเพอื่ ตวั ของตัวเอง

๒. แนวคิดเกย่ี วกับหลักสตู ร แยกเปน็ ๒ กลมุ่ คือ

- โทมัสนิยมฝุายสงฆ์ (Ecclesiastical Group) เน้นวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับคริสตศาสนา และบทสวดมนต์ เนื้อหา
จากพระคัมภรี ์ (Holy Scriptures) บทปุจฉา วสิ ัชชนา (Catechism)

- โทมสั นยิ มฝาุ ยฆราวาส (Lay Group) ไม่จํากัดเสรีภาพทางวิชาการ แตห่ ลกั สูตรก็ยงั กําหนดเนอื้ หาวิชาท่ีบังคับ

ให้ต้องเรียนไว้ด้วย เพ่ือสร้างความมีระเบียบแบบแผน และความมีระเบียบวินัย เพ่ือให้เข้าถึงสัจจะสูงสุด (The

Absolute Truths)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลัดบุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

ปรัชญาอัตถิภาวนิยม มีแนวคิดเก่ียวกับโลกและจักรวาล ว่าเป็น “โลกแห่ง

ความมีตัวตนอยูจ่ ริง” (The World of Existing) และมีแนวคิดว่าความรู้ท่ีแท้จริง คือ

“สิ่งที่มนุษย์แต่ละคนเลือกกําหนดข้ึนมา” (Truth as existential choice) แนวคิด

เกี่ยวกับความดี หรือจริยธรรม ของนักปรัชญากลุ่มอัตถิภาวนิยม คือ “จริยธรรมเป็น

เสรีภาพของแต่ละคนท่ีจะเลือกปฏิบัติด้วยความรับผิดชอบ” แนวคิดเก่ียวกับความงาม

หรือสุนทรียภาพ คือ “สุนทรียะ ไม่จําเป็นต้องเป็นไปตามจารีตของสังคม แต่เป็นเรื่องท่ีแต่

ละคนจะสรา้ งขน้ึ มา”

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บุญช่วย โชตวิ ํโส, ดร.

ปรัชญาตะวันออก เน้นการค้นหาความจริงของโลก หมายความว่า

ทุกส่ิงอย่างท่ีต้องการสืบค้นจะต้องมีหลักฐานมายืนยันไม่ว่าจะเป็น
กฎเกณฑ์หรือสถิติต่าง ๆ ท่ีผู้รู้ทั้งหลายได้ใช้เวลาเกือบค่อนชีวิตค้นหา
มาได้ แล้วความจริงของชวี ิตท่ีวา่ จงึ กลายเป็นวตั ถุทต่ี ้องสัมผสั รูไ้ ด้ด้วย
ตาเปล่าและความรู้สึกนึกคิด โดยลืมคําว่า จิตวิญญาณแห่งชีวิตไปโดย
สน้ิ เชิง จติ วิญญาณทีว่ ่านัน้ เป็นบ่อเกดิ ของชวี ิต

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชตวิ ํโส, ดร.

ปรัชญาการศึกษาเชงิ พทุ ธ

ปรัชญาการศึกษาเชงิ พทุ ธ มีความหมาย คอื วิธคี รองชีวติ แบบหนึง่ มเี น้ือหา ได้แก่ หลกั สัจธรรมและหลักปฏิบตั ิ

มกเปรีเปน็ะา้สบหตัวคมวน์ทารวกยฝ่ีะาารึกบคมปไอื ดปุตร้ยิออ้ัญใตัชัตงิ,ห้ถหกปะลาาปฏกั ริบโรพะัตธโิ,ยศิ แชรลนทั ะ์ธป๓าฏเกปิเวาน็ รธสศวภบพกึาาพุ ษงฒัพภาแเเาอนชผคอ้ืงิาเนใพรหิม่ทุ เ้ตกธน้ดิ กทจค็ ่ีสติ ือมัสกามานารทึกฝใฐิึกนิแฝลกลนาว้งตพรพมศาฒั ัฒึกือมนนษปแาาามฏผทแนลก่ีนบิ ษุ ะายตัรม์ใีศิโชดูนอ้ ยยนิ พร์ ทวิจรมาียขร์ ณอซงา่งึกถมาึงีปรศปศรักรึกโตยตะษภดิโเาฆามตทพส่ีานิะข“กมอปผบังญั ลมโยญนนุษาโิ”ยส์วผ่าา่ น

มนสกิ ารเปน็ ตัวหนนุ ผ่านหลกั กลั ยาณมติ ตตา นาสูส่ กิ ขา วิธกี ารศึกษานัน้ ใชห้ ลกั ไตรสกิ ขา ผา่ นหลักวธิ ีปฏิบัติท่เี รยี กวา่
อริยมรรค ทาให้เน้ือหาของการศึกษาดาเนินไปสเู่ ปา้ หมายทเี่ ป็นผลสมั ฤทธิ์ คอื อริยบุคคล และจะเป็นกัลยาณมิตรใหก้ ับ
สงั คม ทาใหเ้ กดิ คุณสมบตั ิในตวั ผไู้ ดร้ บั การศึกษา คือ มปี ัญญาและกรณุ า ในขั้นการประเมนิ ผลใช้หลกั ภาวนาเปน็ ตัวชวี้ ัดมภี า
วิตกาย เป็นต้น ผมู้ ีภาวนาครบ ชื่อว่าจบการศึกษา โดยใชห้ ลักธรรมท่ีเปน็ สาระสาคญั ในการอธิบาย เชน่ ขนั ธ์ ๕ เป็นต้น
เช่อื มโยงผา่ นสมู่ นุษยส์ ัมพนั ธ์กบั สงั คมและสรรพสิ่งให้เกดิ ความถูกตอ้ งดีงาม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บญุ ช่วย โชติวํโส, ดร.

19

การศึกษาแนวพุทธ : การพฒั นากายกบั ใจควบคู่กัน

คาว่า สกิ ขาในภาษาบาลีหรือคาว่า ศกึ ษาในภาษาสนั สกฤตมีความหมายว่าให้รู้ ซงึ่ มอี ยู่ ๓ ประการตามแนวทางแห่งคาสอนในพุทธศาสนาคอื

๑. สลี สกิรขะาบคุปอื ัญศึกหษาาหรือใหเ้ รียนรูเ้ กวีย่ าวงกแับผศลีนเพอื่ พัฒนากายลแงลมะวอื าปจาฏเพบิ ือ่ ัตพิ ัฒนากายกับวาจตาใิดหตม้ ีคาวมามเขม้ แข็ง
เพยี งพคอวทาี่จมะปตอ้ ้องงกกันากเิรลสอย่างหยาบ พอนััฒไดน้แาก่ กายทุจรติ และวตจทีามุจรแิตผไหนลเขา้ สจู่ ิตใจโดยทาปงรกะายเมแลนิ ะผวลาจา

๒. สมาธิ คอื การพฒั นาใจ โดยการปฏิบตั ิสมถกัมมัฏฐาน และวิปสั สนากรรมฐานเพ่อื ใหใ้ จมคี วามเขม้ แข็งพอท่จี ะ
ตอ่ สู้กับกเิ ลสอยา่ งกลางท่ผี ่านเขา้ มาทางอายตนะ ๖ คือ ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ รวมถึงกิเลสท่เี กิดขึน้ จากใจเองด้วย

๓. ปญั ญา คอื ความรู้ ความเขา้ ใจในสรรพส่งิ บรรดามหี รือที่เรียกว่า สงั ขารตามความเป็นจริงคอื มีอยา่ งไร เป็น
อย่างไร รู้อยา่ งนนั้ หรอื ทเ่ี รียกว่า ยถาภตู งั ยถาทสั สนงั

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครูปลดั บุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

20

สาเหตทุ ก่ี ารศึกษาไทยไม่เป็นไปตามแนวปรัชญาแนวพทุ ธ

๑. การศึกษาของไทยในปัจจุบัน ยึดรูปแบบของประเทศตะวันตกซ่ึงมีพื้นฐานมาจากปรัชญาวัตถุนิยม และบริโภค
นิยม ทั้งนี้จะเหน็ ได้จากการมุ่งเนน้ การผลิตและการขายเพอ่ื หารายไดห้ รอื ผลตอบแทนทางด้านการเงินเป็นหลกั

๒. บทบาทของภิกษสุ งฆต์ ่อการศึกษาในปัจจุบันลดนอ้ ยลง เม่ือเทียบกบั อดตี ทัง้ นี้ด้วยเหตปุ จั จยั ดังตอ่ ไปนี้
๒.๑ ในอดีตก่อนที่การศึกษาในรูปแบบตะวันตกเข้ามา การศึกษาของไทยอยู่กับวัดโดยมีพระสงฆ์เป็นผู้สอน เด็กจึงมีความใกล้ชิดกับ

ศาสนาได้รับการพัฒนาทางด้านจติ ใจไปพรอ้ มๆ กับการเรียนวิชาแขนงอน่ื ๆ
๒.๒ แต่เม่ือการศึกษาจากประเทศตะวันตกได้เข้ามา วิชาการแขนงต่างๆ มีมากข้ึน พระสงฆ์ซึ่งเป็นผู้สอนมาแต่เดิมไม่มีความรู้ใน

วชิ าการเหลา่ น้ี ท้งั ในวชิ าบางสาขาไมเ่ หมาะแก่เพศและภาวะของนักบวชท่ีไปเรียน และนามาสอนประกอบกับสตรีได้เริ่มเข้าสู่ระบบการศึกษาใน
โรงเรียนเพอื่ เรยี นวิชาต่างๆ

๒.๓ การเรียนการสอนของภิกษุสงฆใ์ นปจั จุบัน ท้งั ในหลกั สตู รของนักธรรม และบาลหี รอื เปรียญธรรมไมส่ อดคล้องกับความตอ้ งการ
ของคนรนุ่ ใหม่ จึงทาให้มผี ู้มาเรยี นนอ้ ย ทง้ั จบไปแล้วก็ไปสอนคนรนุ่ ใหม่ได้ยากด้วย

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชติวํโส, ดร.

บทสรปุ

ปรชั ญาการศกึ ษาเปน็ แนวความคิด หลักการ ในการกาหนดแนวทางการจัดการศกึ ษาเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของ

การศกึ ษา ปรชั ญาการศึกษามีคณุ ค่าตอ่ การศึกษา คอื ชว่ ยให้เกดิ ความเขา้ ใจแนวคิดและกิจกรรมทางการศึกษา ขจดั ความไม่
สอดคล้องในประเด็นตา่ ง ๆ ช่วยในการวางรูปแบบและเสนอแนวทางใหม่ การจดั การศกึ ษา บทบาทของปรัชญาการศกึ ษาต่อการจัด
การศึกษา ไดแ้ ก่ การพรรณนาและคาดคะเน การกาหนดรูปแบบหรอื มาตรฐาน และการวิเคราะห์ สาหรับแนวทางการศึกษา
ปรชั ญาการศกึ ษามีอยู่ ๓ แนวทางคอื การศกึ ษาท่ียึดเน้ือหาทางปรชั ญาท่วั ไปเป็นแม่บท การศกึ ษาที่ยึดตัวการศกึ ษาเป็นแกนกลาง
และการศึกษาทีม่ ุ่งหาความกระจ่างในแนวคดิ และกิจกรรมการศึกษา

ปรัชญาการศกึ ษาตะวันตกแบง่ ออกเป็น ๒ กลมุ่ กลมุ่ ท่ี ๑ ปรชั ญาการศกึ ษาตามแนวทางปรชั ญาพ้นื ฐาน ได้แก่ มโนคตนิ ยิ ม
ประจักษน์ ยิ ม ประสบการณน์ ยิ ม และอัตภาวนิยม กลุ่มที่ ๒ ยึดการศกึ ษาเปน็ แกนกลาง ได้แก่ สารัตถนยิ ม พพิ ัฒนยิ ม นิรันตรนยิ ม
และบูรณนยิ ม สว่ นปรัชญาตะวนั ออก เช่น ปรัชญาการศกึ ษาอสิ ลาม ปรัชญาเต๋าและขงจ้ือ

สาหรับปรัชญาการศกึ ษาตามแนวพทุ ธธรรม มจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย์ใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ทสี่ มบรู ณ์ โดยกระบวนการ

สอนใหม้ รรคมีองค์แปด และไตรสกิ ขา

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวํโส, ดร.

จบการบรรยาย

มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ พระครปู ลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส, ดร.


Click to View FlipBook Version