The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพุทธจริยธรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพุทธจริยธรรม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพุทธจริยธรรม

Keywords: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพุทธจริยธรรม

ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับพทุ ธจรยิ ธรรม

พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

- อาจารย์หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
- เลขานกุ ารหลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
- กรรมการบรหิ ารงานบณั ฑติ ศกึ ษา มจร.วทิ ยาเขตขอนแกน่

- นกั ธรรมชน้ั เอก

- ปริญญาพทุ ธศาสตรบัณฑติ (พธ.บ.) พระพทุ ธศาสนา มจร.วทิ ยาเขตขอนแกน่
- ประกาศนียบตั รบัณฑติ วชิ าชีพครู (ป.บณั ฑติ ) วชิ าชพี ครู มจร.วิทยาเขตขอนแกน่
- ปริญญาศึกษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต (ศษ.ม.) การบรหิ ารการศึกษา

ม.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต (พธ.ม.) พระพุทธศาสนา มจร.วทิ ยาเขตขอนแก่น
- ปรญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ (ปร.ด.) การบริหารการศึกษา ม.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

เอกสารประกอบการบรรยาย ชดุ ที่ 8

เรือ่ ง ความรูเ้ บื้องต้นเก่ียวกับพุทธจริยธรรม
ภายใตว้ ิชา คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ (รหสั วชิ า 610 206)
(Morality and Professional Ethics)
อาจารยผ์ บู้ รรยาย พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ โํ ส,ดร.

ภาคการศกึ ษา ที่ 2/2564
หลักสูตร ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา
สถานท่ี มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชติวํโส,ดร.

หวั ข้อบรรยาย

- ความรูเ้ บ้ืองต้นเกีย่ วกับพทุ ธจรยิ ธรรม
- พทุ ธจรยิ ธรรม
- ลกั ษณะพุทธจริยธรรม
- การจัดลาํ ดับพุทธจริยธรรม
- เกณฑ์ตดั สนิ พทุ ธจรยิ ธรรม
- สรุป

พระครูปลดั บุญช่วย โชติวํโส,ดร.

พทุ ธจรยิ ธรรม มีจดุ ม่งุ หมายเพ่ือใหบ้ คุ คลมีชีวิตท่ดี ี ชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู กนั
สามารถอยรู่ ว่ มกนั เป็นสงั คมไดเ้ ป็นอยา่ งดี มีความสขุ และทาใหม้ ีการดาเนิน
ชวี ิต การครองชีพอยา่ งประเสรฐิ เพราะฉะนน้ั พทุ ธจรยิ ธรรมจงึ เป็นแนวทางใน
การดาเนินชีวิตท่ดี ขี องชาวพทุ ธ การจดั พทุ ธจรยิ ธรรมสามารถจดั ไดด้ งั นี้ พทุ ธ
จรยิ ธรรม จงึ เป็นหลกั การหรอื แนวทางในการดาเนินชวี ิตท่ีดี ประเสรฐิ อนั เป็น
วิธีการ หรอื เคร่อื งมือในการส่จู ดุ มงุ่ หมายอนั เป็นประโยชนส์ งู สดุ เป็นอดุ มคติ
ของชวี ิต ครอบคลมุ ถงึ เกณฑ์ ตดั สนิ วา่ การกระทาใดตีหรอื ไม่ดี ควรหรอื ไม่ควร
ดว้ ยเหตนุ ีพ้ ทุ ธจรยิ ธรรมจงึ มีลกั ษณะท่แี ตกตา่ งจาก ทรรศนะของปรชั ญาใน
สานกั อ่นื ๆ คอื พทุ ธจรยิ ธรรมไม่ได้

พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ โํ ส,ดร.

๔.๑ พุทธจริยธรรม
คาว่า "จริยธรรม" นั้นมีผู้ให้ความหมายไว้หลายท่าน ซ่ึงสรุปได้ตังนี้ คือ

จริยธรรม หมายถึง แนวทางในการประพฤติตนที่ตึงามเหมาะสม เพื่อให้สมาชิกใน
สังคมอยู่ร่วมกันไต้อย่างสงบสุข เป็นความหมายที่สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา
ดังคาว่า "ธมฺมสุส จริยา ธมมา วา อนเปตา จริยา ธมฺมจริยา" แปลว่า
"ความประพฤติที่เหมาะสม หรือความประพฤติท่ีไม่ปราศจากธรรม เรียกว่า
ธรรมจริยา" (มังคลัตถท่ีปนี ภาค ๒ ฉบับบาสี)" เม่ือกล่าวในแง่ของพุทธศาสนาเรียกว่า

พุทธจริยธรรม ตามทรรศนะของพุทธศาสนา พุทธจริยธรรมน้ันนอกจากจะเป็นหลักของการ
ดาเนินชีวิต แล้ว ยังเป็นวิธีการแก้ปัญหาด้วย ซ่ึงมีท่ีมาตังน้ี คือ ในสมัยพุทธกาลนั้น ยังไม่มีการ
สังคายนาหลกั คาสอนของพระองค์ สง่ิ ทพ่ี ระองค์ทรงใช้ประกาศศาสนาในสมัยน้ัน ทรงใช้อยู่ ๓ คา

คือ "พรหมจรรย์" (พรหมจริย) "ธรรมวินัย" (ธมฺมวิจย) และคําว่า "นวังคสัตถุ
สาสน์"

พระครูปลัดบญุ ชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

@. พรหมจรรย์
คาวา่ "พรหมจรรย์" น้ี เป็นคาท่พี ระพทุ ธเจา้ ทรงใชเ้ ปน็

อดุ มการณ์ในการประกาศในครั้งที่ส่งสาวกไป ประกาศศาสนา
ครั้งแรกจานวน ๖๑ รูป จดุ ประสงค์เพ่ือความประโยชน์สุขของ
คนท่ัวไป ดังตัวอยา่ งทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ใช้ คาว่า พรหมจรรย์ คอื

พระครปู ลดั บุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

จรถ ภิกขฺ เว จาริกํ พหชุ นหติ าย พหชุ นสุขายโลกานุกมฺปาย
อตถฺ าย หติ าย สขุ าย เทวมนุสสฺ านํ มา เอเกน เทวุ อคมติ ุถ
เทสถ ภกิ ขฺ เว ธมมํ อาทคิ ลยุ าณํ มซเุ ฌกลยาณํ ปริโยสานลยาณํ
สาตถุ ํ สพยณุซนํ เกวลปรปิ ญุ ณฺ ์ ปรสิ ทุ ธิ์ พรหมจริยํ ปกาเสถ ฯ

มีความหมายว่า ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเท่ียวไปเพื่อประโยชน์
เกื้อกูลเพ่ือความสุขแก่คนเป็นจานวนมาก เพื่ออนุคราะห์โลก เพ่ือประโยชน์
เพือ่ ความสุข เพ่ือความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายเธอท้ังหลาย
จงแสดงธรรมท่ีงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลางและงามในท่ีสุด จงประกาศ
พรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ อันบริสุทธ์ิ บริบูรณ์สิ้นเชิง ๆ
(ทม."

พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

นอกจากน้ียังมหี ลักพทุ ธพจน์ที่แสดงถึงหลกั จริยธรรมอกี ว่า
อยเมว โข ภิกขุ อรโิ ย อฏฐงคโิ ก มคโุ ค พรฺ หมฺ จริยํ ฯ
มคี วามหมายว่า
ดูก่อนภิกษุ มรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ อันประเสริฐ
นี้แหละ คือ พรหมจรรย์ ๆ (ส.ม.) " ด้วยเหตุนี้ พรหมจรรย์ จึงได้ช่ือว่า
เป็นพุทธจริยธรรม เมื่อพิจารณาในแง่น้ีจะเห็นได้ว่า พุทธจริยธรรมน้ัน
กว้างขวางมาก ในการดาเนินตามแนวทางน้ี นอกจากบุคคลจะสามารถ
ดาเนินชีวิต จนบรรลุความดีอันสูงสุดแล้ว สังคมก็ดาเนินไปด้วยความสงบ
สขุ อนั เนื่องมาจากการปฏิบัติของบุคคลในสังคมน้นั

พระครปู ลัดบญุ ชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

๒. ธรรมวนิ ัย
คาว่า "ธรรมวนิ ยั " นี้ ก่อนท่ีพระพทุ ธเจา้ จะเสด็จดบั

ขนั ธปรนิ พิ พาน ได้ทรงใชค้ าวา่ "ธรรมวนิ ัย" คอื
โย โว อานนุท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญญุตฺ

โตโส โว มมจุเยน สตฺถา ฯ
มีความหมายว่า ธรรมและวนิ ยั อนั ใด ทเี่ ราตถาคตแสดง

ไวแ้ ล้ว บญั ญัตไิ ว้แลว้ เมอ่ื เราลว่ งไปแล้ว ธรรม และวนิ ัยนนั้ จะ
เป็นศาสดาของเธอทงั้ หลาย ฯ (สตุ ฺต.ม.)'

พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

๓. นวงั คสตั ถุสาสน์ หรอื สัตถุสาสน์ ๙ ประการ คอื
๑) สุตตะ คาสอนประเภทร้อยแก้วลว้ น
๒) เคยยะ คาสอนทเ่ี ปน็ รอ้ ยแกว้ ผสมกบั รอ้ ยครอง อันไตแ้ ก่ พระสูตรท่มี ี

คาถาทง้ั หมด โดยเฉพาะสคาถวรรคสังยุตตนกิ าย
๓) เวยยากรณะ คาสอนประเภทท่เี ปน็ อรรถกถาธบิ ายโตยละเอยี ด เปน็ รอ้ ย

แกว้ ลว้ นๆ เชน่ อภธิ รรมปิฏก พระสตู รทีไ่ ม่มีคาถา และพระพุทธพจน์อน่ื ๆ ท่ไี ม่
นบั เข้าในองค์ ๘ ขอ้ ทเี่ หลือ

๔) คาถา คาสอนประเภทร้อยกรองลว้ น เชน่ ธรรมบท เถรคาถา เถรคี าถา
และคาถาล้วนในสุตตนบิ าตทีไ่ ม่มีช่ือกากับว่า "สตู ร"

พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

๕) อุทาน คาสอนประเภทท่เี ปลง่ ขนึ้ จากแรงบนั ดาลใจของ
พระพทุ ธเจา้ และพระสาวก สว่ นมากจะเป็นบทรอ้ ยกรอง
๖) อติ วิ ุตตกะ คาสอนประเภทคาอา้ งอิงท่ยี กขอ้ ความท่พี ระพทุ ธเจา้
ตรสั ไวม้ าอา้ งเป็นตอน ๑ ไดแ้ ก่ พระสตู รสนั้ ๆ
๗) ชาตกะ คาสอนประเภทนิทานซาตกหรอื เร่อื งราวในชาติปางกอ่ น
ของพระพทุ ธเจา้ ขณะท่เี ป็นพระโพธิสตั วบ์ าเพญ็ บารมีอยู่
๘) อัพภตู ธรรม คาสอนประเภทเรอ่ื งอศั จรรยเ์ ก่ียวกบั พระพทุ ธเจา้
และพระสาวกทงั้ หลาย
๙) เวทลั ละ คาสอนประเภทคาถาม และคาตอบ*

พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

๔.๒ ลกั ษณะพุทธจรยิ ธรรม
ลักษณะและขอบเขตและเน้ือหาของพระพุทธจริยธรรมน้ันแบ่ง ได้ออกเป็น ๒

ส่วน ส่วนที่เป็นอภิปรัชญาท่ีกล่าวถึงความจริงของจักรวาล ของโลกและสรรพส่ิง
และมนุษย์ อาจกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประเภทจิตนิยม
(ldealism) ในแงท่ ว่ี ่ามนุษยม์ ีองค์ประกอบทส่ี าคัญ ๒ ส่วนคือ กาย กับจิต และถือ
วา่ จติ เป็นเร่อื งสาคญั ดังพทุ ธพจน์ทแ่ี สดงไว้หลายแห่งเป็นตน้ ว่า

ธรรมท้ังหลาย มีใจเปน็ หวั หน้า มีใจประเสรฐิ ทสี่ ดุ สาเร็จแลว้ แตใ่ จ ถ้าบุคคลมี
ใจ อันโทษประทุษร้ายแล้ว กล่าวอยู่ก็ตาม ทาอยู่ก็ตาม ทุกข์ย่อมไปตามบุคคลนั้น
เพราะ ทุจริต ๓อย่างนั้น เหมือนล้อหมุนไปตามรอยเท้าโค ผู้ลากเกวียนไปอยู่
ฉะนัน้ ฯ (ข,ุ ธ.) "

พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

ส่วนท่ี ๒ คอื เปน็ จรยิ ศาสตรท์ ี่สอนให้มนุษยเ์ ข้าใจถงึ ความหมายของชวี ิต
พระพทุ ธศาสนานัน้ เป็นศาสนาแหง่ เหตุผล และเปน็ ศาสนาที่แสดงถึงหลักความ
จรงิ ในชีวติ ไมใ่ ช่ศาสนาทส่ี อนให้บุคคลหลงไหล เชอื่ สิง่ ที่พิสจู น์ไมไ่ ด้
พระพทุ ธศาสนาสอนให้เช่ือตามหลักเหตุผลทใี่ คร่ ดว้ ยสตปิ ญั ญาแล้ว จะเหน็ ได้
จากหลักปฏบิ ตั ิในเร่ืองความเชอ่ื ทพ่ี ระพุทธเจา้ ตรสั ไว้ในกาลามสตู ร มี ๑๐
ประการ

๑. มา อนสุ สฺ เวน อย่าปลงใจเชอื่ ดว้ ยการฟังตามกันมา
๒. มา ปรมปฺ ราย อยา่ ปลงใจเชอื่ ดว้ ยการถือสบื ๆกันมา
๓. มา อติ กี ริ าย อยา่ ปลงใจเช่อื ดว้ ยการเลา่ ลอื
๔. มา ปฏิ กสมปุ ทาเนน อย่าปลงใจเช่ือ ดว้ ยการอ้างตารา หรือคมั ภีร์
๕. มา ตกุกเหตุ อย่าปลงใจเชอื่ เพราะอาศยั ตรรกะ

พระครูปลดั บุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

๖. มา นยเหตุ อยา่ ปลงใจเชื่อ เพราะการอนมุ าน
๗. มา อาการปริวิตกุเกน อยา่ ปลงใจเช่ือ ดว้ ยการตรกึ ตรองตามเหตผุ ล
๘ มา ทฏิ ฐินิชฌานกุชนฺตยิ า อยา่ ปลงใจเช่ือ เพราะเขา้ กบั ทฤษฎีทพ่ี ินจิ แลว้
๔. มา ภพพุ รูปตาย อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเหน็ รูปลกั ษณน์ า่ จะเป็นไปได้
๑๐. มา สมโณ โน ครูติ อยา่ ปลงใจเช่ือ เพราะนบั ถือว่า สมณะรูปนเี้ ป็นครูอาจารยข์ องเรา
(อง.ตกิ .) "

ในแง่ ญาณวทิ ยา พระพทุ ธศาสนาแบ่งความรูอ้ อกเป็นหลายระตบั เช่น วิญญาณ
ความรูท้ างประสาทสมั ผสั สญั ญา ความจา ปัญญา ความรอบรู้ และไดแ้ สดงบ่อเกิดของ
ความรูไ้ ว้ ๓ ทางดว้ ยกนั " คอื
๑. จนิ ตามยปัญญาปัญญา เกิดแตก่ ารคดิ การพิจารณาหาเหตผุ ล
๒.สุตมยปัญญา ปัญญาเกิดจากการสตบั การเลา่ เรยี น
๓. ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิดแตก่ ารฝึกอบรมลงมอื ปฏิบตั ิ

พระครูปลดั บุญชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

พุทธจริยธรรม จึงเป็นหลักการหรือแนวทางในการตาเนินชีวิตท่ีดี ประเสริฐ
อันเป็นวิธีการ หรือเครื่องมือในการสู่จุดมุ่งหมายอันเป็นประโยชน์สูงสุด เป็นอุดมคติ
ของชีวิตครอบคลุมถึงเกณฑ์ ตัดสินว่า การกระทาใดดีหรือไม่ดี ควรหรือไม่ควร
ด้วยเหตุนี้พุทธจริยธรรมจึงมีลักษณะที่แตกต่างจาก ทรรศนะของปรัชญาในสานักอื่น
ๆ คือ พุทธจริยธรรมไม่ใต้เกิดจากโต้แย้งทางความคิด (Argument) การนิยาม
ความหมาย การคาดคะเน หรอื การพจิ ารณาเทียบเคียง เหมือนปรัชญาสานักอน่ื

แต่พุทธ จริยธรรมมีธรรมชาติของความเป็นจริง เป็นสิ่งท่ีผู้ปฏิบัติแล้วสามารถ
เห็นได้ดว้ ยตวั ของตนเอง (สนทฺ ฏิ ฐิโก) ไมจ่ ากัดเวลา (อกาสิโก) ซงึ่ เป็นผลของการตรัสรู้
ธรรมอนั ยอดเยีย่ มของ องพระพทุ ธเจา้ ที่เรยี กวา่ "อนตุ รสมั มาสมั โพธิญาณ"

พระครูปลดั บุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

ซง่ึ แยกไดเ้ ป็น ๒ สว่ นคอื สว่ นท่ปี ็นสจั ธรรมและสว่ นท่ีเป็นศลี ธรรม พระ
ธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต)" ไดจ้ ดั แบง่ พทุ ธจรยิ ธรรมตามนยั ตงั กลา่ วไวต้ งั นี้ คอื
๑. มชั เฒนธรรม หรอื มชั เฌนธรรมเทศนา ซง่ึ กลา่ วถงึ ความจรงิ ตามแนว
เหตผุ ลบรสิ ทุ ธิ์ ตามกระบวนของธรรมชาติ
๒. มชั ฌิมาปฏิปทา กลา่ วคอื หลกั การครองชีวิตของผฝู้ ึกอบรมตน ผรู้ ูเ้ ทา่ ทนั
ชีวิต ไม่หลงงมงาย ม่งุ ผลสาเรจ็ คอื ความสขุ สะอาด สวา่ ง สงบ เป็นอิสระ
เม่ือกลา่ วใหง้ า่ ยตอ่ ความเขา้ ใจในเชิงจรยิ ศาสตร์ พทุ ธจรยิ ธรรมแบง่ ออกเป็น ๒
สว่ นคอื

๓) สจั ธรรม เป็นสว่ นแสดงสภาวะหรอื รูปลกั ษณะตวั จรงิ
๒) จรยิ ธรรม เป็นสว่ นแหง่ ขอ้ ประพฤติปฏิบตั ิทงั้ หมด

พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

โดยนยั น้ี สจั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาหมายถึงคาสอนเกี่ยวกับสภาวะความเป็น
จริงของสรรพส่งิ ทั้งปวงเป็นไปโดยสภาวธรรมชาติหรือกฏธรรมชาติ (Natural Law)
กล่าวคือเป็นไป ตามกฎของไต รลักษณ์ ๓ ประการ คือ (๑ ) อนิจจต า
(Impermanence; Transiency) ความไม่เที่ยง เป็นสภาวะท่ีเกิดขึ้นแล้วเสื่อมสลาย
ไป (๒) ทุกขตา (State of Suffering) ความเป็นทุกข์ และ (๓) อนัตตา (Non -5elf)
ความไม่มีตัวตน ขอ้ เทจ็ จรงิ เหล่านี้ พระพุทธศาสนาเชื่อว่ามีอยู่แล้วอย่างนั้นและมีอยู่
ตลอดไป ไม่ว่าจะมีคนรับรู้ข้อเท็จจริงเหล่าน้ีหรือไม่ก็ตาม (สมภาร พรหมทา)
- สว่ นในส่วนจริยธรรม หมายถึง การถอื เอาประโยชน์จากความรู้แสะความเข้าใจใน
สภาพและความเป็นไปของส่ิงท้ังหลาย หรือการรู้กฎธรรมชาติและนามาใช้ในทางที่
เปน็ ประโยชน์)"

พระครูปลดั บุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

นอกจากนั้น เนือ้ หาของพทุ ธจรยิ ธรรมยงั สามารถแบง่ ไดอ้ ีก ๒ ระดบั คือ
(๑ ระดับโลกิยธรรม ไดแ้ ก่ธรรมอันเป็นวิสัยของปุถุชนผู้ครองเรือน เป็นข้อปฏิบัติ
สาหรับปถุ ุชนใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ศีลธรรม มุ่งสอนเพ่ือใหเ้ กิดการลดละกิเลสท่ีเป็น
อกศุ ล สาเหตทุ ่ีก่อใหเ้ กิดอกุศลต่างๆ ใหก้ ระทา ความดี เวน้ จากการกระทาความช่วั
ไม่เบียดเบียนซ่ึงกันและกัน และทาจิตใจใหผ้ ่องแผว้ หมดจดจากกองกิเลสท่ีทาให้
เศรา้ หมอง เพ่ือใหเ้ กิดความความสขุ แก่ตนเองและสงั คม (๙)โลกตุ รธรรม ไดแ้ ก่ธรรม
อนั ไม่ใช่วิสยั ของซาวโลก แต่เป็นขอ้ ปฏิบัติของพระอริยะพทุ ธจริยธรรมในขั้นนีเ้ ป็น
ชนั้ สงู ของพระอรยิ บคุ คลผพู้ ฒั นาจิตใจ

พระครูปลัดบญุ ช่วย โชติวโํ ส,ดร.

จนเกิดปัญญาสามารถละกิเลสหรอื สงั สารวฏั ไดอ้ ย่างเต็ดขาด พนั จาก
อานาจกิเลสโดยสิน้ เชิง อย่เู หนือบญุ และบาป เป็นผทู้ ่ีไดบ้ รรลจุ ดุ ม่งุ หมาย
สงู สดุ ของชวี ิต การกระทาของพระอรหนั ตไ์ ม่เป็นทง้ั บญุ และบาป ไม่มีชาตินี้
และชาตหิ นา้

พระอรหนั ตอ์ ยใู่ นสว่ นของวิวฏั จงึ ไม่มีภพชาติสงั สารวฏั ตอ่ ไป ดงั พระ
พุทธพจนว์ ่าพระอรหนั ต์ มีความสุขหนอ เพราะท่านไม่มีตัณหา กาหนดรู้
เบญจขนั ธม์ ีสทั ธรรม ๗ประการเป็นโคจร มีรา่ งกายนีเ้ ป็นครง้ั สดุ ทา้ ย หลดุ
พ้นจากภพใหม่ บรรจุพระอรหัตภูมิแลว้ ชนะขาดแลว้ ในโลก ไม่มีความ
เพลิดเพลินอยใู่ นสว่ นเบอื้ งบน ทา่ มกลาง และท่สี ดุ เป็นผยู้ อดเย่ยี มใน
โลก

พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

ในทางพระพุทธศาสนา ความสขุ ในระดบั โลกิยะเป็นความสขุ ในระดบั หนง่ึ
พระพทุ ธศาสนาไม่ไดป้ ฏิเสธความจริงอันเป็นสมมติสจั จะและโลกแห่งวัตถเุ หล่านี้
เพราะในความเป็นจริง ความสุขในระดับโลกียะเป็นแนวทางใหบ้ ุคคลมีความ
พยายามเพ่ือบรรลุความสุขชั้นสูงสุด อันเป็นบรมสุขกล่าวคือพระนิพพานซ่ึงเป็น
ความสขุ ในระดบั โลกตุ ตระ จะเห็นไดว้ ่าเปา้ หมายของชีวิตในระดบั โลกิยะและโลกุต
ตระจะสมั พนั ธก์ ันโดยความ เป็นเหตเุ ป็นผลของกันและกนั ความสขุ ท่ีเกิดจากโลก
แหง่ วตั ถุ เป็นเปา้ หมายในระดบั สมั มาสติสจั จะ อยใู่ นระดบั โลกิยวิสยั จงึ หาความจริง
แทไ้ มได้

พระครูปลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

เพราะเป็นความสขุ ท่ีท่สี ามารถเปล่ียนแปลงไปไดต้ ามสภาวะแหง่ สามญั ญ
ลกั ษณะ และการมีสขุ เชน่ นี้ ก็ไมน่ บั วา่ เป็นเปา้ หมายท่สี งู สตุ ในพระพทุ ธศาสนา
แตค่ วามสขุ ในระดบั โลกิยะนนั้ เป็นส่ิงสาคญั ตอ่ การขดั เกลาจิตในระดบั เบอื้ งตน้
ถา้ หากบคุ คลไมไ่ ดร้ บั การฝึกฝนและไตร้ บั ความสขุ ระดบั เบอื้ งตน้ ความ
พยายามในท่จี ะใหค้ วามสขุ ในระดบั โลกตุ ระอนั เป็นจดุ หมายปลายทางเกิดขนึ้
ก็จะมีไมไ่ ด้ เพราะฉะนน้ั จงึ กลา่ วไดว้ า่ ความสขุ ในระดบั โลกิยะและความสขุ ใน
ระดบั โลกตุ ตระจงึ เป็นเหตผุ ลของกนั และกนั และสมั พนั ธก์ นั ดงั กลา่ วมา

พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

พุทธปรัชญา ไดส้ อนหลกั จรยิ ธรรมการดาเนินชวี ิตไวท้ กุ ระดบั ตงั้ แตจ่ รยิ ธรรม
สาหรบั ผอู้ ยคู่ รองเรือนจนถึงบรรพชิตผอู้ อกแสวงหาความสงบ และความหลดุ พน้ จาก
กองกิเลสท้ังปวงพระพุทธศาสนาได้แสดงอรรถะ คือจุดมุ่งหมายของชีวิตท่ีตึงาม
ท่มี นษุ ยพ์ งึ ประสงคไ์ ว้ ๓ ระดบั คือทิฏฐธมั มิกตั ถะ หรอื ประโยชนใ์ นปัจจบุ นั ประโยชน์
ในโลกนี้ อันเป็ นจุดหมายเบื้องต้นหรือจุดหมายเฉพาะหน้าท่ีมองเห็นได้ใน
ชีวิตประจาวนั อนั ไดแ้ ก่ ลาภ ยศ สขุ สรรเสรญิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ฐานะเป็นตน้

พระครูปลดั บุญชว่ ย โชติวํโส,ดร.

รวมถึงการแสวงหาส่ิงเหลา่ นโี้ ดยชอบธรรม มี ๔ ประการ คอื
๑.๑ อฏุ ฐานสมั ปทา หาเลีย้ งชีพดว้ ยความหม่นั คือ ขยนั หม่นั เพียรในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีการ
งาน ประกอบอาชีพอนั สจุ รติ มีความชานาญ รูจ้ กั ใชป้ ัญญาสอดสอ่ งตรวจตรา หาอบุ ายวิธี
สามารถดาเนินการใหไ้ ดผ้ ลตี
๑.๒ อารกั ขสมั ปทา ถงึ พรอ้ มดว้ ยการรกั ษา คือรูจ้ กั คมุ้ ครองเก็บรกั ษาโภคทรพั ยแ์ ละผลงาน
อนั ตนไดท้ าไวด้ ว้ ยความขยนั หม่นั เพียรโตยชอบธรรม ดว้ ยกาลงั ของตน ไม่ใหเ้ ป็นอนั ตราย
หรอื สญู หาย
๑.๓ กลั ยาณมิตตตา การคบคนดเี ป็นมิตร คอื รูจ้ กั กาหนดบคุ คลผถู้ ึงพรอ้ มดว้ ย
ศรทั ธา ศลี จาคะ และปัญญา ไมแ่ นะนาไปสอู่ บายมขุ
๑.๔ สมชีวิตา มีความอยพู่ อเหมาะสม คือรูจ้ กั กาหนดรายไดแ้ ละรายจ่าย เลีย้ ง
ชีวิตแต่พอตี ไม่ให้ฝืดเคืองนัก ไม่พุ่มเฟื อยนัก ใหร้ ายได้เหนือรายจ่าย มีประหยัดเก็บไว้
(อง.อฎฐก.)

พระครปู ลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

๒. สัมปรายกตั ถะ หรอื ประโยชนเ์ ปอ้ งหนา้ ประโยชนใ์ นภพหนา้ เป็นประโยชนข์ นั
สงู ที่ลึกลา้ กว่าจะมองเห็นไดเ้ ฉพาะหนา้ เก่ียวเนื่องดว้ ยคณุ ค่าของชีวิต เป็นหลกั ประกนั ว่า
เมื่อละชีวิตจากโลกนไี้ ปแลว้ จะไมต่ กลงไปสทู่ ี่ช่วั อนั ไดแ้ ก่ ความเจรญิ ตา้ นจิตใจท่ีประกอบ
ไปดว้ ยคณุ ธรรมและศีลธรรม ไผ่ใจในทางในเรื่องบุญกุศล มีความสงบสขุ ทางจิตใจ มี ๔
ประการ คือ
๒.๑ สทั ธาสมั ปทา ความถึงพรอ้ มดว้ ยศรทั ธา คือ เชื่อในส่ิงที่ควรเชื่อ เช่น เชื่อว่าทาดีไดด้ ี
ทาช่วั ไดช้ ่วั เป็นตน้
๒.๒ สีลสมั ปทา ความถึงพรอ้ มดว้ ยศีล คือรกั ษากาย วาจา ใหเ้ รยี บรอ้ ย ไม่มีโทษและรูจ้ ัก
รกั ษาระเบียบวินยั เป็นอนั ดี
๒.๓ จาคสมั ปทา ความถึงพรอ้ มดว้ ยการเสยี สละ เป็นการเฉลีย่ ความสขุ ใหแ้ ก่ผอู้ ่นื
๒.๔. ปัญญาสมั ปทา ความถงึ พรอ้ มดว้ ยปัญญา คือ รูจ้ กั บาป คณุ โทษ ประโยชนแ์ ละมีใช่
ประโยชน์ เป็นตน้

พระครูปลัดบุญชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

๓. ปรมัตถะ หรือประโยชน์สงู สดุ ประโยซน์อย่างยิง่ อนั เป็นจุดมงุ่ หมายสงู สดุ
หมายถึง จิตท่ีหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ท้ังปวง คือวิมุตติและ

พระนิพพานอันเป็นสาระแท้ของชีวิต ได้แก่การรู้แจ้งและรู้เท่าทันคติธรรมดาของ
สงั ขารธรรม ไม่ตกเป็นทาสของโลกและชวี ติ (อง.อฎฐก) ๑

สรุปไดว้ า่ ชอบเขตของพทุ ธจริยศาสตรน์ ัน้ อยทู่ ี่การกระทาทางกาย วาจา และ
ใจเป็นพ้ืนฐานให้เกิดคุณธรรมช้ันสูงๆ ขึ้นไปเท่านั้น เพราะจริยศาสตร์เป็นเป็นเรื่อง
ท่ีว่าด้วยคุณค่าของการกระทาที่มีค่าในระดับ โลกิยธรรมเท่านั้น ไม่ใช่อยู่ในข้ัน
ปรมตั ถ์หรอื โลกตุ รธรรม

พระครูปลดั บญุ ช่วย โชติวํโส,ดร.

๑ ระดบั โลกียธรรม เป็น เปา้ หมายของชีวิตมนษุ ยใ์ นสภาวะท่สี บื เน่ืองอยใู่ นโลกแหง่
ปรากฏการณ์ สามารถรบั รูไ้ ดด้ ว้ ยประสาทสมั ผสั เปา้ หมายของชีวิตในระดบั นีจ้ งึ
สามารถเปล่ียนแปลงไดต้ ลอดเวลา เพราะเปา้ หมายในระดบั นีว้ ดั จากรูปธรรมอนั
ปรากฏใหเ้ หน็ เทา่ นนั้ แตม่ ิไตห้ มายความวา่ อตุ มคติของชวี ิตในระดบั นีจ้ ะเป็นส่ิง
เลวรา้ ย ในทางตรงกนั ขา้ มหากสรา้ งและดาเนินชวี ิตตามอตุ มคติท่วี างไวไ้ ดอ้ ยา่ ง
ถกู ตอ้ ง ตามกฎศีลธรรมแลว้ ชีวิตกจ็ ะสมบรู ณใ์ นระดบั หน่งึ
๒) ระดบั โลกตุ รธรรม เป็นเปา้ หมายของมนษุ ยอ์ นั อยใู่ นสภาวะท่พี น้ จากโลก
เปา้ หมายในระดบั นีไ้ มไ่ ดส้ ามารถวดั ไดด้ ว้ ยวตั ถุ ส่ิงของ หรอื ประสาทสมั ผสั ทงั้ ๕
เพราะเป็นขน้ั ท่หี ลดุ พนั จากอานาจกิเลสทงั้ ปวง เป็นเปา้ หมายในระดบั ปรมตั ถะ เป็น
ความสขุ ท่ีไมเ่ ปล่ียนแปลงไปตามสภาวะอ่นื ใต อนั ไดแ้ ก่ พระนิพพาน

พระครูปลดั บุญชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

๔.๓ การจดั ลาํ ดบั พทุ ธจริยธรรม
พุทธจริยธรรม มจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ใหบ้ ุคคลมีชวี ิตท่ดี ี ชว่ ยเหลือเก้อื กูลกัน สามารถ

อยรู่ ่วมกันเป็นสงั คมไดเ้ ป็นอยา่ งตี มีความสุข และทาให้มีการดาเนนิ ชวี ติ การครองชีพ
อยา่ งประเสริฐ เพราะฉะนน้ั พทุ ธจรยิ ธรรมจึงเป็นแนวทางในการดาเนินชวี ติ ท่ดี ีของชาว
พทุ ธ การจัดพุทธจริยธรรมสามารถจัดไดต้ งั นี้

๑. พทุ ธจริยธรรม ขนั้ พน้ื ฐาน เปน็ เบ้ืองต้นของธรรมจริยา หรืออกุศลกรรมบถ ๑๐
ประการ" และยงั เปน็ พื้นฐานของคณุ ธรรมชนั้ สงู ๆขน้ึ ไป จรยิ ธรรมในระดับนีจ้ ะเปน็
จริยธรรมชั้นพืน้ ฐานทีจ่ าเปน็ ท้งั ตอ่ ตนเองและสงั คม กลา่ วอกี นยั หนง่ึ วา่ เปน็ หลกั
มนุษยธรรมชนั้ ฟืน้ ฐานได้แก่ เบญจศลี อนั ไต้แก่ ศลี ๕ (five percepts) และเบญจธรรม
อนั ไดแ้ ก่ ธรรม ๕ ประการซงึ่ เป็นข้อปฏิบัติฝา่ ยศลี และธรรมท่ีสนับสนนุ กนั เป็นส่ิงทตี่ ้อง
ปฏบิ ัติควบคกู่ ัน

พระครปู ลัดบุญช่วย โชติวโํ ส,ดร.

๑.๑ เบญจศีล
๑.๑.๑ เวน้ จากการฆา่ สตั ว์ (ปาณาตปิ าตา เวรมณี)
๑.๑.๒ เวน้ จากการลกั ทรัพย์ (อทนิ นุ าทานา เวรมณ)ี
๑.๑.๓ เว้นจากประพฤตผิ ดิ ในกาม (กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี )
๑.๑.๔ เว้นจากการพดู ปด (มุสาวาทา เวรมณ)ี
๑.๑.๕ เว้นจากการดื่มสรุ าและเมรัย (สรุ าเมรยมซฺชปมาทฎฐานา เวรมณ)ี

๑.๒ เบญจธรรม
๑.๒.๓ มเี มตตากรุณาต่อสัตว์ (เมตตา-กรุณา)
๑.๒.๒ เลย้ี งชีวติ ในทางท่ีถกู ต้อง (ส้มมาอาชีวะ)
๑.๒.๓ มีความสารวมระวังในกาม (กามสงั วร)
๑.๒.๕. พูดแต่คาสตั ยจ์ รงิ (สจั จะ)
๑.๒.๕ มสี ตริ กั ษาตนไว้เสมอ (สต-ิ สมั ปชญั ญะ)"*

พระครูปลดั บุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

๒. พุทธจรยิ ธรรมขน้ั กลาง ในระตบั นเี้ ป็นการพฒั นาจรยิ ธรรมให้สงู ข้นึ ไป คอื กศุ ล
กรรมบถ ๑๐ ประการ แบ่งประเภทออกเป็น ๓ ทาง คือ (๑) ความตีทางกาย
เร่ียกว่า กายสุจริต (๒) ความตีทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต และ (๓) ความดีทางใจ
เรยี กวา่ มโนสจุ รติ ไดแ้ ก่

๒.๑ ความดีทางกาย มี ๓ คอื (๑) เว้นจากการฆ่าสัตว์ (๒) เว้นจากการลักทรพั ย์
(๓) เว้นจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม

๒.๒ ความดีทางวาจา มี ๔ คือ (๑) เว้นจากการพูดปด (๒) เว้นจากการพดู คา
หยาบ (๓) เว้นจากการพูดสอ่ เสียด (๔) เว้นจากการพูดเพอ้ เจอ้ ไรส้ าระ

๒.๓ ความตีทางใจ มี ๓ คือ (๑) ไม่โลภอยากได้ของเขา (๒) ไมค่ ิดปองรา้ ยผอู้ ื่น
(๓) ไมเ่ ห็นผิดจากทานองคลองธรรม*

พระครูปลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

๓. พทุ ธจรยิ ธรรม ขัน้ สงู คือ อรยิ อัฏฐงั คิกมรรค ไดแ้ ก่ มรรคมอี งค์ ๘ หรือเรยี ก
อกี อย่างว่า อรยิ มรรค มคี วามหมายว่า ทางอนั ประเสริฐหรอื ทางนาผปู้ ฏิบตั ใิ ห้
เป็นผู้ประเสรฐิ มี ๘ ขอ้ คอื

๓.๑ สมั มาทฏิ ฐิ มคี วามเข้าใจถกู ตอ้ ง ดงั น้ีคือ
๓.๑.๑ เห็นวา่ ทานทีใ่ ห้แลว้ มผี ล
๓.๑.๒ เห็นวา่ ของที่เราบชู าแล้วมีผล
๓.๑.๓ เห็นวา่ ของท่เี ราบางสรวงแลว้ มีผล

พระครปู ลัดบญุ ชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

จากการจัดลําดับพุทธจริยธรรม ท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ัน สรุปการจัดระดับ
พุทธจริยธรรมตามแนวมรรคมีองค์ ๘ ประการตังกล่าวแล้วน้ัน สามารถแบ่งออกเป็น
๓ ระดับย่นย่อลงในไตรสิกขา คือ ระดับศีล ระดับสมาธิ และระดับปัญญา หรือแบ่ง
ออกเปน็ ระดับ ได้ดงั นี้

๑. ระดบั ต้น ได้แก่ เบญจศีล เบญจธรรม
๒. ระดบั กลาง ได้แก่ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ
เม่ือกล่าว โดยสรุป พุทธจริยธรรม ได้แก่มรรคมีองค์ ๘ หรือที่เรียกว่า มัชฌิม
ปฏปิ ทายอ่ เขา้ ในไตรสิกขา ก็คือ ศลี สมาธิ และปัญญา เพราะเป็นข้อปฏิบัติท่ีสามารถ
นาไปสปู ระโยชน์และความสุขทั้งแก่ตนเองและผู้ อนื่

พระครูปลัดบุญชว่ ย โชตวิ ํโส,ดร.

๔.๔ เกณฑต์ ดั สินพุทธจรยิ ธรรม
ต่อไปนจี้ ะ เปน็ การศกึ ษาปญั หาเกณฑต์ ดั สนิ พุทธจริยธรรม คือ ปัญหาที่ว่า การกระทาท่ี

มีคุณค่าทางจริยะท่ีว่า การกระทาที่เรียกว่า ต่ี ถูก ผิต หรือควร ไม่ควร เป็นอย่างไรและมี
อะไรเป็นเกณฑ์ในการตัดสินในการกระทานั้นว่า ดี ถูก ผิด หรือควร ไม่ควรหลักจริยธรรม
ในระบบพุทธจริยศาสตร์นั้น เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่ามี ๒ อย่างคือ สัจธรรม และศีลธรรม
สจั ธรรมเป็นอันติมสัจจะ กล่าวคือ เป็นความจริงสูงสุดอันเป็นฐานรองรับหลักศีลธรรม และ
หลักจรยิ ธรรม หรอื การกระทาอันมคี าทางพุทธจริยศาสตร์ท่ีดาเนินไปถึงเพ่ือเข้าถึงเป้าหมาย
อันเป็นอันติมสัจจะน้ัน เป็นส่ิงท่ีมีอยู่เอง มีอยู่อย่างเท่ียงแท้ และสามารถดารงอยู่ได้โดย
ธรรมดา ถ้ามนษุ ยไ์ ม่มีเปา้ หมายในการกระทา ก็ไมส่ ามารถกล่าวได้วา่ การกระทาใดถูก หรือ
ผิด เพราะฉะน้ัน เกณฑ์ในการตัดสินค่าจริยะว่า ส่ิงนี้ถูก ผิด ควร ไม่ควร จึงต้องอาศัย
เปา้ หมายเป็นแนว ในขน้ั น้ี ผู้วจิ ยั จะศกึ ษาวิเคราะหป์ ญั หาที่ว่า มาตรการวัดและตัดสนิ คุณค่า

พระครปู ลดั บุญช่วย โชตวิ โํ ส,ดร.

ตามแนวพุทธ จริยศาสตร์น้ัน ให้ถือเจตนาเป็นเกณฑ์ในการตัดสินว่า การ
กระทาใด ดีหรือชว่ั ถูก หรือผิด เพราะการกระทาท้ังหมดของมนุษย์มีเจตนาเป็นตัว
คอยบ่งชี้ เพราะฉะนั้นเจตนาจึงเป็นตัวแท้ของกรรม"บุคคลคิดแล้วจึงกระทา กรรม
ดว้ ยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ"๙

เค.เอ็น. ชยติลเลเก ได้ให้ทัศนะในปัญหาน้ีว่า พระพุทธศาสนาถือว่า
การกระทาที่ถูกต้องและผิดน้ันจะต้องเป็นการ กระทาที่เป็นไปอย่างเสรี แต่เป็น
เสรีภาพท่ีเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับกฎของเหตุผล ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา
มีเงื่อนไขที่สาคัญอีกประการหน่ึงท่ีทาให้การกระทาท่ีถูกแตกต่างจากการกระทา
ทผี่ ิด น่ันคอื แรงจงู ใจและความตงั้ ใจหรือเจตนาท่ีบคุ คลมีต่อการกระทาๆ

พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

โดยนัยนี้ กล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนา เชื่อว่า มนุษย์มีเจตจานงเสริในการ
กระทา ซงึ่ เปน็ เจตจานงเสรีท่ีความสัมพันธ์กันในเหตุผลเชิงจริยธรรม เพราะถ้ามนุษย์
ไมม่ เี จตน์จานงเสรีในการกระทา ก็จะไม่มีความชว่ั ถูก ผิด ควร หรอื ไมค่ วร การกระทา
ก็เป็นแต่สักว่า ทาแล้ว กาลังทา หรือทาอยู่เท่านั้น แต่มนุษย์มีเจตจานงเสรีในการ
กระทา และการกระทาทกุ อยา่ งย่อมประกอบด้วยความจงใจหรือเจตนาสมอ

เพราะฉะนั้น ด้วยการกระทาที่ประกอบด้วยเจตนาหรือความจงใจนี้เอง
พระพุทธศาสนาจึงกลา่ วว่า ถา้ ประกอบดว้ ยกุศล กจ็ ัดเป็นกศุ ลกรรม ถ้าประกอบตัวยอ
กุศล จัดว่าเป็นอกุศลกรรม ดังพุทธพจน์ว่ากรรมท่ีถูก โลภะครอบงา...กรรมท่ีถูกโทสะ
ครอบงา...กรรมท่ีถูกโมหะครอบงา เกิดแต่โมหะ มีโมหะเป็นเหตุ มีโมหะเป็นแดนเกิด
ย่อมให้ผลในท่ีที่เกิดอัตภาพของเขา กรรมน้ันให้ผลในขันธ์ใด ในขันธ์น้ัน เขาจะต้อง
เสวยวบิ ากของกรรมนัน้ ในลาดับทีเ่ กิดหรือตอ่ ๆ ไปใน

พระครปู ลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

จึงกล่าวได้ ว่า ตามหลักพุทธจริศาสตร์ เจตนาที่ประกอบด้วยความ
พยายามในการกระทาอนั เป็นเหตุเบ้ืองต้น หรือเป็นความพยายามเพ่ือให้
การกระทาสาเร็จลงเป็นเกณฑ์ตัดสินคุณค่าเชิงพุทธ จริยธรรม ดังพุทธ
พจน์ท่ีว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายเรากล่าวเจตนาว่าเป็นกรรมบุคคลคิดแล้วจึง
กระทากรรมดว้ ยกาย ดว้ ยวาจา*

พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

๔.๕ สรปุ
จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น หลักจริยธรรม ในระบบพุทธจริยศาสตร์น้ัน

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่ามี ๒ อย่างคือ สัจธรรม และศีลธรรม สัจธรรมเป็นอันติม
สัจจะ กล่าวคือ เป็นความจริงสูงสุดอันเป็นฐานรองรับหลักศีลธรรม และหลัก
จริยธรรม หรือการกระทาอันมีค่าทางพุทธจริยศาสตร์ที่ดาเนินไปถึงเพ่ือเข้าถึง
เป้าหมาย อันเป็นอันติมสัจจะน้ัน เป็นสิ่งที่มีอยู่เอง มีอยู่อย่างเที่ยงแท้ และ
สามารถดารงอยู่ได้โดยธรรมดา ถ้ามนุษย์ไม่มีเป้าหมายในการกระทา ก็ไม่
สามารถกล่าวได้ว่า การกระทาใดถูก หรือผิด เพราะฉะนั้น เกณฑ์ในการตัดสิน
ค่าจริยะว่า สิ่งนี้ถูก ผิด ควร ไม่ควร จึงต้องอาศัยเป้าหมายเป็นแนว ในชั้นนี้
ผ้วู จิ ัยจะศกึ ษาวิเคราะหป์ ัญหาทวี่ า่ มาตรการวัดและตัดสินคุณค่าทางจริยะเหล่าน้ี
ในทางพุทธจริยศาสตร์คืออะไร และมอี ะไรบ้างนเ้ี ป็นปญั หาท่จี ะต้องศึกษาต่อไป

พระครปู ลัดบุญชว่ ย โชตวิ โํ ส,ดร.

จบการบรรยาย

พระครูปลัดบุญชว่ ย โชติวํโส,ดร.


Click to View FlipBook Version