The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

EP1 แนวคิดหลักการทฤษฎีทางคุณธรรมจริยธรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

EP1 แนวคิดหลักการทฤษฎีทางคุณธรรมจริยธรรม

EP1 แนวคิดหลักการทฤษฎีทางคุณธรรมจริยธรรม

Keywords: EP1 แนวคิดหลักการทฤษฎีทางคุณธรรมจริยธรรม

แนวคดิ หลักการทฤษฎที างคุณธรรมและจริยธรรมนักปราชญ์ตะวันตก

แนวคิดหลกั การทฤษฎที างคณุ ธรรมและจริยธรรมนักปราชญ์ตะวนั ออก

แนวคดิ หลกั การทฤษฎีทางคณุ ธรรมและจริยธรรมของไทย

พระครูปลดั บญุ ชว่ ย โชติวํโส,ดร.

พระครปู ลดั บุญชว่ ย โชติวโํ ส,ดร.

- อาจารย์หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
- เลขานกุ ารหลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
- กรรมการบรหิ ารงานบณั ฑติ ศกึ ษา มจร.วทิ ยาเขตขอนแกน่

- นกั ธรรมชน้ั เอก

- ปริญญาพทุ ธศาสตรบัณฑติ (พธ.บ.) พระพทุ ธศาสนา มจร.วทิ ยาเขตขอนแกน่
- ประกาศนียบตั รบัณฑติ วชิ าชีพครู (ป.บณั ฑติ ) วชิ าชพี ครู มจร.วิทยาเขตขอนแกน่
- ปริญญาศึกษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต (ศษ.ม.) การบรหิ ารการศึกษา

ม.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต (พธ.ม.) พระพุทธศาสนา มจร.วทิ ยาเขตขอนแก่น
- ปรญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ (ปร.ด.) การบริหารการศึกษา ม.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดท่ี 1

เร่ือง แนวคดิ หลักการ ทฤษฏีทางคุณธรรมและจรยิ ธรรม
ภายใตว้ ิชา คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี (รหัสวิชา 610 206)
(Morality and Professional Ethics)
อาจารยผ์ บู้ รรยาย พระครปู ลัดบญุ ชว่ ย โชติวํโส,ดร.

ภาคการศกึ ษา ที่ 2/2564
หลักสูตร ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา
สถานที่ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

พระครปู ลัดบุญช่วย โชตวิ ํโส,ดร.

หัวข้อบรรยาย

แนวคดิ หลักการทฤษฎีทางคุณธรรมและจริยธรรมนกั ปราชญต์ ะวนั ตก
แนวคิดหลกั การทฤษฎีทางคณุ ธรรมและจริยธรรม เพลโต (Plato)
แนวคดิ หลักการทฤษฎที างคุณธรรมและจรยิ ธรรม อริโตเตลิ (Aristotle)

แนวคดิ หลักการทฤษฎีทางคณุ ธรรมและจริยธรรมนักปราชญ์ตะวนั ออก
ปรชั ญาเตา๋
ปรชั ญาขงจือ้
ปรชั ญาเมง๋ จ้ือ

แนวคดิ หลักการทฤษฎีทางคุณธรรมและจรยิ ธรรมของไทย
พระธรรมปฎิ ก
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมมฺ จิตโต)
ทฤษฏตี ้นไม้คุณธรรม ดวงเดือน พนั ธม์ุ นาวนิ

พระครปู ลัดบญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.



. โสกราตสี (Socrates) เปน็

นกั ปราชญ์กรีชและเปน็ ชาวเมอื ง
เอเธนส์ ซงึ่ ถอื กันวา่ เปน็ ผูว้ างรากฐาน
ของ ปรัชญาตะวันตก

กลา่ วถึงคุณธรรมว่า คุณธรรมคือความรู้ (virtue is knowledge) การแสวงหา
ความรเู้ ก่ยี วกบั ศีลธรรม จรยิ ธรรม คอื การแสวงหาคุณธรรม เพราะคณุ ธรรมคือ
ความรทู้ แ่ี ทจ้ ริง ถ้าบคุ คลรู้และเข้าใจถึงธรรมชาตขิ องความดจี รงิ ๆ แลว้ เขาจะไม่
พลาดจากการประกอบความดีละเว้นความชั่ว

แหล่งทีม่ า : https://www.baanjomyut.com/library_3/extension-1/western_philosophy/01.html

3

1. ปญั ญา หรอื ความรู้ (wisdom) หมายถงึ ร้วู า่ อะไรดี อะไรไม่ดี

2. การปฏิบัติหนา้ ทที่ างศาสนา (duty) คอื การทาความดี การเคารพ
ยกยอ่ งส่งิ ทค่ี วรเคารพ เชน่ พระผ้เู ปน็ เจ้า พระธรรม การปฏิบตั ติ ามคา
สอนของศาสนา

3. ความกลา้ หาญ (courage) คอื กล้าในส่งิ ควรกล้าและกลวั ในส่ิงควรกลวั

4. การควบคมุ ตนเอง (self control หรือ temperance) คือ
การใช้ปัญญาควบคุมอารมณ์ ความร้สู ึก

5. ยุติธรรม (justice) คอื การปฏบิ ตั ติ อ่ ผูอ้ ่นื และต่อ
ตนเองอยา่ งเหมาะสม ไม่เบยี ดเบียนตนเองและผู้อ่นื

6

เพลโต ( Plato) เปน็ นักปรชั ญาของโสกรา

ตีส เปน็ อาจารยข์ องอริสชาวกรกี โบราณที่มี
อิทธิพลอย่างสูงตอ่ แนวคิดตะวนั ตก เขาเปน็ ลูก
ศษิ ยโ์ ตเติล

กล่าวว่า คณุ ธรรม คือ การปฏบิ ตั ทิ ด่ี ตี ามหน้าทขี องวญิ ญาณ และ
คณุ ธรรมไมส่ ามารถเกดิ ข้ึนได้โดยบังเอิญ เพราะมนษุ ยจ์ ะตอ้ งรวู้ ่าเขา

กาลังทาอะไร เพ่อื อะไร และทาอยา่ งไร คณุ ธรรมจงึ เกิดขนึ้ จาก
ความรู้ ไมใ่ ชค่ วามรูท้ ฤษฏี แต่เป็นความรู้ทมี่ าจากการปฏบิ ัตจิ ริง

แหล่งทมี่ า : https://philoflanguage.wordpress.com

7

คณุ ธรรมตามแนวคดิ ของเพลโต มี ๔ ประการ

๑. ปญั ญาหรือความรู้ (wisdom) คอื ๓. กลา้ หาญ (courage) คอื กลา้
การหยัง่ รูว้ ่าอะไรถูก อะไรผดิ อะไรดี เส่ยี งต่อความยากลาบาก อันตราย
อะไรไม่ดี อะไรควรประพฤติหรือไม่ เพ่อื อดุ มการณ์ของตนเอง หรอื ด้วย
ควรประพฤติ ความม่นั ใจวา่ ได้กระทาดีท่ีสดุ แลว้

๒. ประมาณ (temperance) คือ ๔. ยุตธิ รรม (justice) คอื การใหแ้ ก่ทกุ
การรูจ้ กั ควบคมุ ตวั เองใหอ้ ย่ใู น คนอยา่ งเหมาะสม เช่น การให้แกต่ นเอง
ขอบเขตของชีวิต มีความรบั ผดิ ชอบ ครอบครวั มติ รสหาย ผู้บังคบั บญั ชา
รูจ้ กั บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชา อยา่ งมเี หตผุ ลอนั ควร

8

เปน็ ลูกศิษย์ของเพลโต และเปน็ อาจารย์ของอเล็ก
ซานเดอร์มหาราช เขาและเพลโตไดร้ บั ยกยอ่ งให้เปน็ หนึง่ ในนัก
ปรัชญาที่มีอิทธพิ ลสงู ทสี่ ดุ คนหน่ึง ในโลกตะวันตก

อริสโตเตลิ (Aristotle) เขาไดน้ าคณุ ธรรมของเพลโต ( Plato) มาอธิบายวา่
เป็นนักปรัชญากรกี คณุ ธรรม ไดแ้ ก่ การเดินสายกลางระหวา่ งความไมพ่ อดกี บั
โบราณ ความพอดี หรอื คณุ ธรรมคอื ความพอดีพองาม ไม่เอียงสดุ ไป
ทางดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เชน่

9

ความกลา้ หาญ จะอยรู่ ะหวา่ ง
ความบา้ บิ่น กบั ความขลาด

อริสโตเติล (Aristotle) ความสภุ าพ จะอยรู่ ะหวา่ ง
เป็นนักปรชั ญากรกี ความขีอ้ าย กบั ความไรย้ างอาย
โบราณ
ความเอือ้ เฟื้อ จะอยรู่ ะหวา่ ง
ความฟ่ มุ เฟือย กบั ความตระหน่ี

10

คณุ ธรรมของ ๒. คณุ ธรรมทาง
อริสโตเติล (Aristotle) ศีลธรรม เปน็ สว่ นหนงึ่ ของ
วญิ ญาณ อยู่ในรูปคาสอน
คณุ ธรรมจงึ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ละม่งุ เพอ่ื ความดีงาม คนมี
คือ คุณธรรมก็คอื คนทม่ี ีความ
พอดี ทาดว้ ยด้วยเจตนาดี
๑. คุณธรรมทางสตปิ ญั ญา เป็น มเี หตุผล เหน็ แก่สว่ นรวม
เร่ืองของความรทู้ ้ังภาคทฤษฏีและ
ภาคปฏิบตั ิ เป็นสว่ นหนึ่งของ แหล่งท่ีมา:https://www.gotoknow.org/posts/
วญิ ญาณทมี่ เี หตผุ ล และหน้าที่ของ
วิญญาณคอื การร้แู ละค้นหาความ
จรงิ นั่นเอง

11

อริสโตเติล

เสนอคุณธรรมพเิ ศษไว้ ๔ ประการ คอื

มิตร ประ กล้า ยตุ ิ
ภาพ มาณ หาญ ธรรม

12

Want big impact?
Use big image.

13 แหล่งท่มี า:https://th.public-welfare.com/

ปรัชญาจรยิ ธรรมตะวนั ออกเกดิ จากความคิด ความเช่อื
ความศรัทธา ที่ศาสนามีสว่ นเกยี่ วข้องเป็นอยา่ งมาก แตอ่ าจจะมีความ
แตกต่างกันบา้ งในแตล่ ะภูมภิ าค ปรชั ญาตะวนั ออกไดแ้ ก่ ปรัชญาเตา๋
ปรชั ญาขงจอื๊

แหล่งท่มี า:http://www.philospedia.net/confucianism.html
14

วรรณศิ า ศรีซังส้ม กลา่ วถึงแนวคิดและหลกั คา
สอนไว้ว่า “ปรชั ญาเตา๋ (Taoism) เกดิ ขึน้ จากความเชอ่ื ถือ
บูชาพระเจา้ ประจาธรรมชาติ ซึ่งเป็นความเชือ่ ดงั่ เดมิ ของจีน

คาวา่ ‘เต๋า’ ในความหมายทางปรัชญาและศาสนา
หมายถงึ ‘สงิ่ สมบูรณส์ ูงสุด’ เตา๋ เปน็ ตน้ กาเนดิ ของสิง่
ทง้ั ปวง และครอบคลมุ ทุกอย่างเอาไว้ท้งั จักรวาล โลก
สังคมและชวี ติ ของเต๋า

15

ปรชั ญาเตา๋

16

> เหลาจือ๊ เห็นว่า กฎธรรมชาตทิ ี่ย่งิ ใหญ่ทีส่ ุด ซึง่ ครอบงาสรรพสิง่
ท้ังหลายทั่วสากลจกั รวาล คือ เตา๋ ซ่งึ แปลวา่ ทางหรอื สัจธรรม และ
สาหรับสง่ิ ทม่ี ีชีวิตไมว่ ่าจะเป็นมนุษย์ สัตว์ พืช หรืออื่น ๆ จะมี
คุณสมบัตอิ ยา่ งหนงึ่ ที่ซ่อนเรน้ อยใู่ นตัว

เรยี กวา่ “เตา๋ ” ซ่ึงแปลวา่ พลงั อานาจ (Power) หรอื คุณธรรม
(Virtue) หลกั จริยธรรมของเหลาจอ๊ื จาแนกได้ ๔ ประการ คือ
การร้จู กั ตนเอง การชนะตนเอง ความสันโดษ และอดุ มคติแห่งเตา๋
เปน็ กฎธรรมชาติ สรรพสงิ่ จึงดาเนินไปตามวิถีของเตา๋ ”

17

ปรชั ญาขงจอ้ื

18

ขงจือ้ เปน็ ชาวแคว้นหลู่
(เมอื งชวฝี ู่ มณฑลซานตง) ไดร้ บั การยก
ยอ่ งว่ามคี วามรปู้ ราดเปรื่องและมีคุณธรรม
สูง มลี กู ศิษย์มากมาย เนน้ ส่งั สอนในเร่อื ง
จารตี ประเพณี ความมีเมตตาธรรม

ความชอบธรรม เปน็ นกั
ปกครองและนกั บรหิ ารที่ดี ปรัชญาของ
ขงจื้อไมใ่ ช่ศาสนา แต่เป็นหลกั คาสอนท่ีอยู่
ในใจชาวจนี มาเปน็ เวลานาน เช่น มนุษย์
แตล่ ะคนไมเ่ ท่ากนั

19

ขงจ๊อื เหน็ วา่ ปรัชญาการเมืองมรี ากฐานมาจาก
คณุ ธรรม ความกตญั ญู ความเมตตา คณุ งามความดี ความ
ถกู ต้อง ความตรงไปตรงมา การสนบั สนุนและความไว้วางใจ
จากประชาชน

โดยสัง่ สอนให้คนปลูกฝัง ตนเองก่อนดูแลจดั การเรอื่ ง
ในครอบครวั ใหเ้ รียบร้อย จึงจะปกครองประเทศให้มีสนั ตสิ ุข
ได้ ดังนน้ั คาสอนของขงจือ๊ จงึ ถอื ว่าคุณธรรมกับการเมืองเปน็
เรอื่ งเดยี วกนั

20

ศาสตร์ส่ี แขนง ทีข่ งจื๊อวางรากฐานไว้ ได้แก่ วฒั นธรรม ความประพฤติ
ความจงรกั ภักดี และ ความซ่ือสัตย์ โดยวัฒนธรรมเนน้ ถงึ การเคารพบรรพ
บรุ ษุ และพธิ กี ารโบราณ ยดึ ถือผูอ้ าวุโสเป็นหลกั แตไ่ ม่ยดึ ตดิ หรืออายทจ่ี ะหา
ความรจู้ ากคนที่ตา่ ชน้ั หรืออายุนอ้ ยกวา่

แปดหลกั การพ้ืนฐานในการเรียนรู้ ได้แก่ สารวจตรวจสอบ ขยาย
พรมแดนความรู้ จริงใจ แก้ไขดัดแปลงตน บ่มความรู้ ประพฤตติ ามกฎ
บา้ นเมือง ประเทศตอ้ งไดร้ ับการดแู ล นาความสงบสุขมาสโู่ ลก

ลาดับการเรยี นรู้ ได้แก่ พธิ ีกรรม ดนตรี ยงิ ธนู ขี่
มา้ ประวตั ิศาสตร์ และ คณติ ศาสตร์

21

คณุ ธรรมท้ังสาม ท่ีไดจ้ ากการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภูมปิ ัญญา เมตตากรุณา และ
ความกล้าหาญ

สขี่ ้นั ตอนหลักการสอน ไดแ้ ก่ ต้งั จิตใจไว้บนมรรควธิ ี ตัง้ ตนในคุณธรรม
อาศยั หลกั เมตตาเกื้อกลู สรา้ งสรรค์ศิลปะใหม่
ส่ีลาดบั การสอน ไดแ้ ก่ คุณธรรมและความประพฤติ ภาษาและการพดู จา
รฐั บาลและกจิ การบ้านเมือง และสดุ ท้ายคือวรรณคดี

22

ปรชั ญาเมง่ จอ้ื

23 แหล่งท่มี า : https://www.sanskritbook.com/product

ปรชั ญาเม่งจ้อื
ถอื ว่าคุณธรรมของผปู้ กครองเป็นสิ่งที่สาคัญทส่ี ดุ เนื่องจาก
อานาจรฐั เปน็ สิ่งจาเป็นท่จี ะต้องใหป้ ระชาชนปฏบิ ัตติ ามหลกั ความรกั
สากล (Universal love)

ดงั น้นั หนา้ ท่ีทส่ี าคัญของผูป้ กครองของรฐั คือ การดูแล
ความประพฤติของประชาชน คอยให้รางวลั แกผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิตามหลัก
“ความรกั สากล” และคอยลงโทษผ้ทู ี่ไมป่ ฏิบัตติ าม

24

แนวคิดของเมง่ จอื๊ แนวคดิ ทางด้านจรยิ ธรรม
ทางการเมืองของเมง่ จ๊อื ไดแ้ ก่

๑) การเริม่ ตน้ จากการมองว่า โดยธรรมชาติมนุษย์ดมี าแตก่ าเนดิ มี
ความรสู้ กึ ทด่ี ี ๔ ประการ คอื

๒) ความเห็นอกเห็นใจ
๓) ความละอายในส่ิงที่ผดิ และความภาคภูมิใจในส่งิ ทถี่ กู
๔) ความอ่อนนอ้ มถ่อมตน และ
๕) ความรู้สึกผดิ ชอบช่วั ดี

25

> ความรู้สกึ เหน็ อกเห็นใจเปน็ จุดเรมิ่ ต้นของมนุษยธรรม
ความรสู้ ึกละอายในสิ่งทีผ่ ิดและภาคภมู ิใจในสิ่งทีถ่ ูกเปน็
จดุ เรม่ิ ตน้ ของความชอบธรรม

ความรู้สกึ ออ่ นนอ้ มถอ่ มตนเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของความ
ประพฤติอันเหมาะสม

ความร้สู กึ ผดิ ชอบช่วั ดีเปน็ จุดเร่มิ ตน้ ของสตปิ ัญญา

26

แนวคดิ ของเม่งจ๊ือ แนวคิดทางด้านจริยธรรม
ทางการเมืองของเมง่ จอื๊ ได้แก่

๒) มนุษย์เปน็ สัตวก์ ารเมือง และมนษุ ย์จะสามารถพฒั นา
ตวั เองได้เต็มท่ี เมือ่ อาศยั อยู่หรือดารงอยใู่ นรฐั หรือในสังคมเท่านัน้ ขณะที่
รฐั เป็นสถาบันทางศีลธรรม และผู้ปกครองของรัฐเป็นผูน้ าท่ีทรงคณุ ธรรม

๓) สิ่งที่เชือ่ มความสมั พันธ์ระหว่างมนษุ ย์กบั จกั รวาล คอื
ความถกู ตอ้ งชอบธรรมและศีลธรรมอันยิง่ ใหญ่

27

แนวคิดของซุนจอ๊ื

ถือวา่ ธรรมชาตขิ องมนุษยเ์ ลวมาแตก่ าเนดิ ความดเี กิดจากการ
ฝึกฝนอบรม ความดหี รือคณุ ธรรมมมี าจากการที่มนุษย์อยู่รวมกันเป็น
สังคม โดยรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ทาให้มสี ภาพชีวิตทดี่ ขี ้ึน และ
เพ่อื ที่จะเอาชนะสตั ว์อน่ื

การท่มี นษุ ยส์ ามารถแยกความสัมพันธใ์ นสังคม เช่น
ความสมั พันธร์ ะหว่างพ่อแม่กับลกู สามีกับภรรยา พ่กี ับน้อง เพ่อื นกบั
เพ่ือน ผูป้ กครองกบั ผถู้ ูกปกครอง และสามารถปฏบิ ตั ิต่อกันได้อยา่ ง
ถกู ตอ้ งเหมาะสมตามระเบยี บกฎเกณฑ์ทางสงั คม ความดจี ึงเกิดขนึ้
ในขณะที่สัตว์ไมส่ ามารถแยกแยะเรือ่ งเหล่านีไ้ ด้

28 แหล่งท่มี า :https://www.baanjomyut.com/

คำวำ่ ”คณุ ธรรมจรยิ ธรรม” นี้ เป็ นคำทคี่ นสว่ นใหญจ่ ะกล่ำวควบคู่
กนั เสมอ จนทำใหเ้ ขำ้ ใจผดิ ไดว้ ำ่ คำทง้ั สองคำมคี วำมหมำยอยำ่ งเดยี วกนั
หรอื มคี วำมหมำยเหมอื นกนั แทท้ จี่ รงิ แลว้ คำวำ่

“คุณธรรม” กบั คำวำ่ ”จริยธรรม” เป็นคาแยกออกได้ ๒ คา และมีความหมาย
แตกตา่ งกนั คาวา่ “ คุณ” แปลว่ำ ควำมดี เป็นคาทมี่ ีความหมายเป็นทางนามธรรม

สว่ นคาวา่ “จริย” แปลวา่ ความประพฤตกิ รยิ าที่ควรประพฤติเป็นคาทม่ี คี วามหมาย
ทางรูปธรรม ดงั นนั้ จงึ ควรที่ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความหมายของ
คาสองคานใี้ หถ้ ่องแทก้ อ่ น

29

พระธรรมปิ ฎก ไดก้ ล่าววา่
คุณธรรมเป็น ภาพของจิตใจกล่าวคือ
คุณสมบตั ิท่ีเสริมสร้างจิตใจใหด้ ีงาม ให้
เป็นจิตใจท่ีสูง ประณีตและประเสริฐ

แหล่งที่มา: <http://mediacenter.mcu.ac.th

30

เมตตา คือ ความรักปรารถนาดี เป็นมิตร อยากใหผ้ อู้ ื่นมีความสุข

กรุณา คือ ความสงสารอยากช่วยเหลือผอู้ ื่นมีความสุข

มุทติ า คือ ความพลอยยนิ ดีพร้อมท่ีจะส่งเสริมสนบั สนุนผทู้ ี่ประสบความสาเร็จ
ให้มีความสุขหรือกา้ วหนา้ ในการทาสิ่งที่ดีงาม
อเุ บกขา คือ การวางตวั วางใจเป็นกลาง เพ่อื รักษาธรรมเมื่อผอู้ ่ืนควรจะตอ้ ง
รับผิดชอบตอ่ การกระทาของเขาตามเหตแุ ละผล

จาคะ คือ ความมีน้าใจเสียสละ เอ้ือเฟ้ื อเผ่อื แผ่ ไมเ่ ห็นแก่ตวั

31

แหล่งทมี่ า : http://first66bobo.blogspot.com/ ประยรู ธมมจติ โต กล่าวว่า คุณธรรมคือ
คุณสมบัตทิ ด่ี ขี องจิตใจ ถ้าปลกู ฝังเรื่องคุณธรรม
ได้จะเป็ นพืน้ ฐานจรรยาบรรณ...

จรรยาบรรณนเี้ ป็ นเรื่องพฤติกรรมในการทจี่ ะ
พฒั นาต้องตีความออกไปว่า พฤตกิ รรมเหล่านมี้ ี
พนื้ ฐานจากคุณธรรมข้อใด

เช่น เบญจศีลเป็ นจริยธรรม เบญจธรรมเป็ น
คุณธรรมคือ ความเมตตากรุณา ถ้ามีความเมตตา
กรุณาจะมฐี านของศีลข้อท่ี ๑ เป็ นต้น

32

พจนานุกรมไทยฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ให้ความหมายของ จริยธรรมไวว้ า่
หมายถึง ธรรมที่เป็นขอ้ ประพฤติ ศีลธรรมอนั ดี เป็นกฎเกณฑแ์ ห่งความประพฤติ หรือหลกั
ความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดผลสาเร็จสอดคลอ้ งตามความ
เป็นจริงของธรรมชาติ และความจริงของมนุษยจ์ ึงจะเกิด ผลสาเร็จไดด้ ว้ ยดี

พจนานุกรมไทยฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ให้ความหมายของคณุ ธรรมวา่
คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงาม ความดี หรือหนา้ ท่ี อนั พึงมีอยใู่ นตวั
คุณธรรม หมายถึง คุณลกั ษณะท่ีเป็นความดีความงามที่มีอยใู่ นจิตใจของแต่ละ
บคุ คล โดยไดย้ ดึ ถือปฏิบตั ิจนเป็นนิสยั และเป็นที่ยอมรับวา่ เป็นส่ิงท่ีถูกตอ้ งดีงาม
ของบคุ คลทวั่ ไป

33

ทฤษฎตี ้นไม้ของดวงเดือน พนั ธ์ุมนาวิน

ส่วนทหี่ น่ึง ไดแ้ ก่ ดอกและผลไม้ สว่ นที่ ๑
บนตน้ ทแ่ี สดงถงึ พฤติกรรมการ

ทาดีละเวน้ ชว่ั และ

พฤตกิ รรมการทางานอยา่ ง ท่มี า : http://www.baanjomyut.com/library_2/ethics/06.html
ขยันขันแข็งเพอ่ื ส่วนรวม ซึง่
ล้วนแตเ่ ปน็ พฤตกิ รรมของ
พลเมืองดี

34

ทฤษฎีต้นไม้ของดวงเดือน พนั ธ์ุมนาวิน

ส่วนที่สอง ได้แก่ สว่ นลาต้นของตน้ ไม้ สว่ นที่ ๒
แสดงถงึ พฤตกิ รรมการทางานอาชพี อย่าง ทม่ี า : http://www.baanjomyut.com/library_2/ethics/06.html
ขยนั ขันแข็ง ซง่ึ ประกอบดว้ ยจติ ลกั ษณะ ๕
ดา้ น คือ

1) เหตผุ ลเชิงจริยธรรม
2) มุง่ อนาคตและการควบคมุ ตนเอง
3) ความเชือ่ อานาจในตน
4) แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธ์ิ
5) ทศั นคติ คณุ ธรรมและคา่ นยิ ม

35

ทฤษฎตี ้นไม้ของดวงเดือน พนั ธ์ุมนาวนิ

สว่ นท่สี าม ได้แก่ รากของต้นไม้ ท่ี
แสดงถึงพฤติกรรมการทางาน
อาชีพอยา่ งขยนั ขนั แขง็ ซ่งึ

ประกอบดว้ ยจิตลกั ษณะ

3 ด้าน คอื สว่ นท่ี ๓
1) สติปญั ญา ทมี่ า : http://www.baanjomyut.com/library_2/ethics/06.html
2) ประสบการณท์ างสงั คม
3) สุขภาพจิต

36

จบการนาเสนอ
ขอบคุณ

37

พระครปู ลดั บญุ ช่วย โชตวิ ํโส,ดร.


Click to View FlipBook Version