ตัวบ่งช้ที ่ี ๑.๑ การบรหิ ารจดั การหลักสตู รตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รทก่ี าํ หนดโดยสาํ น
เกณฑ์การประเมนิ ปริญญาตรี ปริญญาโท
๑.จาํ นวนอาจารย์
ไมน่ ้อยกวา่ ๕ คนและเปน็ ไมน่ ้อยกว่า ๕ คนและเปน็
ประจาํ หลักสตู ร อาจารยป์ ระจาํ เกนิ กว่า ๑ อาจารยป์ ระจําเกนิ กวา่ ๑
หลักสูตรไมไ่ ดแ้ ละประจํา หลกั สตู รไมไ่ ด้ และประจาํ
หลกั สตู รตลอดระยะเวลาท่ี หลกั สตู รตลอดระยะเวลาท่จี ัด
จัดการศึกษาตามหลักสตู ร การศึกษาตามหลกั สูตรน้ัน
นน้ั
นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ปรญิ ญาเอก หมายเหตุ
ไมน่ อ้ ยกว่า ๕ คนและเปน็ อาจารยป์ ระจาํ บนั ทกึ ข้อความที่ ศธ ๐๕๐๖(๒)/ว
เกนิ กว่า ๑ หลกั สตู รไม่ได้ และประจาํ ๕๖๙ ลว. ๑๘ เมย. ๒๕๔๙ กาํ หนด
หลักสูตรตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษา ว่า
ด ตามหลักสูตรนน้ั - อาจารย์ประจําสามารถเป็น
อาจารย์ประจําหลกั สูตรที่เป็น
หลกั สตู รพหวุ ิทยาการ
(Multidisciplinary) ได้อกี ๑
หลกั สูตร โดยต้องเป็นหลักสูตร
ท่ตี รงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรท่ี
ไดป้ ระจาํ อยู่แล้ว
- อาจารยป์ ระจําหลักสตู รใน
ระดับบณั ฑติ ศึกษา สามารถ
เป็นอาจารย์ประจาํ หลักสตู รใน
ระดับปรญิ ญาเอกหรือปรญิ ญา
โทในสาขาวิชาเดียวกนั ได้อกี ๑
หลกั สตู ร
บนั ทึกข้อความที่ ศธ ๐๕๐๖(๔)/
ว๒๕๔ ลงวันที่ ๑๑ มคี . ๒๕๕๗
กําหนดว่า
๔๖ ปรญิ ญาตรี คมู่ ือประกัน
เกณฑก์ ารประเมนิ ปริญญาโท
๒. คุณสมบตั ขิ อง คุณวฒุ ริ ะดับปรญิ ญาโทหรอื ตอ้ งทําหน้าทเี่ ป็นอาจารย์
อาจารยป์ ระจํา เทยี บเทา่ หรือดํารงตาํ แหนง่ ประจําหลักสตู รที่ระบุไว้
หลกั สูตร ทางวชิ าการไมต่ าํ่ กวา่ ผชู้ ว่ ย หลักสูตรใดหลักสูตรหนง่ึ
ศาสตราจารย์ ในสาขาท่ีตรง เทา่ น้ันโดยมคี ณุ สมบัตเิ ป็น
๓. คุณสมบัติของ หรอื สมั พนั ธก์ ับสาขาวชิ าท่ี อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร
อาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบ เปดิ สอน อย่างน้อย ๒ คน หรอื อาจารย์ท่ีปรกึ ษา
หลักสูตร
วทิ ยานพิ นธ์ หรอื อาจารย์
ผู้สอบวิทยานพิ นธ์ หรือ
อาจารยผ์ ู้สอน
คุณวุฒไิ มต่ ่ํากว่าปรญิ ญาเอก
หรอื เทียบเท่า หรือดาํ รง
ตาํ แหน่งรองศาสตราจารย์ขน้ึ
ไป ในสาขาวิชาน้นั หรอื
นคณุ ภาพการศึกษา
ปริญญาเอก หมายเหตุ
ต้องทาํ หนา้ ที่เปน็ อาจารยป์ ระจาํ หลักสูตร - กรณีหลักสูตรปริญญาตรที ี่มี
ทรี่ ะบุไวห้ ลักสูตรใดหลักสูตรหน่ึงเท่านั้น แขนงวชิ า/กลมุ่ วชิ าชีพ
โดยมคี ุณสมบตั ิเปน็ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ กาํ หนดให้ต้องมีอาจารยป์ ระจาํ
หลกั สูตร หรืออาจารย์ท่ีปรกึ ษา หลกั สตู รจํานวนไม่นอ้ ยกวา่ ๓
วทิ ยานิพนธ์ หรอื อาจารยผ์ ู้สอบ คน ให้ครบทุกแขนงวิชา/กลมุ่
วทิ ยานพิ นธ์หรอื อาจารยผ์ สู้ อน วิชาของหลกั สูตร โดยมคี ุณวุฒิ
ครอบคลุมแขนงวิชา/กลุ่มวชิ า
ทเี่ ปิดสอน
คณุ วุฒไิ ม่ตํ่ากว่าปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเทา่
หรือดาํ รงตาํ แหน่งศาสตราจารยข์ น้ึ ไป ใน
สาขาวชิ านัน้ หรือสาขาวชิ าทสี่ ัมพันธ์กนั
จํานวนอย่างน้อย ๓ คน
บทที่ ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร
เกณฑก์ ารประเมิน ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท
๔. คุณสมบตั ิของ สาขาวชิ าทส่ี มั พนั ธ์กนั จาํ นวน
อาจารยผ์ ู้สอน อย่างน้อย ๓ คน
๑. อาจารยป์ ระจาํ หรือ
๕. คณุ สมบัติของ ผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอกสถาบนั
อาจารยท์ ป่ี รึกษา มคี ุณวุฒิปริญญาโทหรือดํารง
วิทยานพิ นธ์หลกั และ ตาํ แหนง่ ทางวชิ าการไมต่ ่ํากว่า
อาจารยท์ ่ีปรึกษาการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ใน
ค้นคว้าอสิ ระ สาขาวิชาน้ันหรอื สาขาวิชาที่
สมั พันธก์ ัน และ
๒. มีประสบการณด์ ้านการ
สอน และ
๓. มีประสบการณใ์ นการทาํ
วจิ ัยทไ่ี มใ่ ช่สว่ นหน่งึ ของ
การศกึ ษาเพอื่ รับปริญญา
๑. เป็นอาจารย์ประจําท่ี
คุณวุฒิปริญญาเอกหรือดําร
ตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว
รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิช
๔๗ หมายเหตุ
ปริญญาเอก
๑. อาจารยป์ ระจาํ หรือผูท้ รง คุณวุฒิ หลักสตู รปรญิ ญาโท ตามบันทึก
ภายนอกสถาบัน มีคณุ วุฒิปริญญาเอก ขอ้ ความท่ี ศธ ๐๕๐๔(๔)/ว๘๖๗
หรือดาํ รงตําแหน่งทางวชิ าการไม่ต่ํากว่า กําหนดวา่ ใหอ้ าจารย์ท่มี คี ุณวฒุ ิ
ระดบั ปรญิ ญาเอกเปน็ อาจารย์ผสู้ อน
า รองศาสตราจารย์ ในสาขาวชิ านั้นหรอื ในหลกั สูตรระดับปริญญาโทได้ แม้
สาขาวชิ าทส่ี ัมพนั ธก์ นั และ จะยงั ไมม่ ผี ลงานวิจยั หลงั จากสําเรจ็
๒. มีประสบการณ์ดา้ นการสอน และ การศึกษา ทัง้ น้ี ภายในระยะเวลา ๒
๓. มปี ระสบการณใ์ นการทาํ วิจยั ทไ่ี มใ่ ช่ ปี นับจากวนั ทเี่ รม่ิ สอน จะต้องมี
ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา ผลงานวิจยั จึงจะสามารถเป็น
อาจารย์ผ้สู อนในระดับปริญญาเอก
และเป็นอาจารย์ประจําหลักสูตร
อาจารยท์ ป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์ และ
อาจารย์ผู้สอบวทิ ยานิพนธ์ในระดับ
ปริญญาโทและปริญญาเอกได้
มี ๑. เป็นอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญา - การพจิ ารณากรณีอาจารย์
รง เอกหรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่า เกษียณอายุงานหรือลาออกจาก
ว่า กวา่ รองศาสตราจารย์ ในสาขาวชิ านน้ั หรือ ราชการ ดังนี้
๑) หลักสตู รสามารถจา้ งอาจารย์
ชา สาขาวชิ าท่สี ัมพนั ธ์กัน และ ทม่ี ีคณุ สมบตั ิตามเกณฑฯ์ ซ่งึ
เกษยี ณอายงุ านหรือลาออกจาก
๔๘ ปรญิ ญาตรี คมู่ ือประกัน
เกณฑก์ ารประเมนิ
ปรญิ ญาโท
น้ันหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กั
และ
๒. มีประสบการณ์ในการท
วิ จั ย ที่ ไ ม่ ใ ช่ ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ
การศึกษาเพ่อื รบั ปริญญา
๖. คณุ สมบตั ขิ อง ๑. เป็นอาจารย์ประจําหร
อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ภ า ย น อ ก ที่
วทิ ยานิพนธ์รว่ ม (ถา้ มี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือดําร
ตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว
นคุณภาพการศึกษา
ปรญิ ญาเอก หมายเหตุ
น ๒. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่ ราชการ กลบั เขา้ มาทํางานแบบเตม็
ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาเพ่ือรับปรญิ ญา เวลาหรอื บางเวลาได้โดยใช้ระบบ
ทํา การจา้ งพนักงานมหาวทิ ยาลัย คือมี
อง สัญญาจ้างที่ให้ค่าตอบแทนเป็นราย
เดือนและมกี ารกําหนดภาระงานไว้
อยา่ งชดั เจน อาจารยด์ ังกล่าว
สามารถปฏบิ ัติหน้าท่เี ปน็ อาจารย์
ประจําหลกั สตู ร อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานพิ นธห์ ลกั อาจารย์ท่ปี รกึ ษา
วิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผสู้ อบ
วทิ ยานพิ นธ์ และอาจารย์ผู้สอนได้
๒) “อาจารย์เกษียณอายงุ าน”
สามารถปฏิบตั หิ น้าที่อาจารย์ที่
ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์หลักไดต้ ่อไปจน
นิสิตสาํ เร็จการศึกษา หากนักศึกษา
ไดร้ ับอนุมัตโิ ครงร่างวทิ ยานิพนธก์ ่อน
การเกษยี ณอายุ
รือ ๑. เป็นอาจารย์ประจําหรือผู้ทรงคุณวุฒิ แนวทางบริหารเกณฑ์มาตรฐาน
มี ภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารง หลกั สูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.
รง ตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว่ารอง ๒๕๔๘ ข้อ ๗.๖ ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะ
ว่า หมายถงึ บคุ ลากรท่ีมีความรคู้ วาม
บทท่ี ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร
เกณฑ์การประเมิน ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท
รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิช
น้ันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กั
และ
๒. มีประสบการณ์ในการท
วิ จั ย ท่ี ไ ม่ ใ ช่ ส่ ว น ห น่ึ ง ข อ
การศกึ ษาเพ่ือรบั ปริญญา
๔๙
ปรญิ ญาเอก หมายเหตุ
ชา ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาน้ันหรือ เชย่ี วชาญในสาขาวิชาท่เี ปิดสอนเป็น
น สาขาวิชาท่สี มั พนั ธก์ ันและ อยา่ งดี ซึ่งอาจเป็นบุคลากรที่ไม่อยู่
๒. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยท่ีไม่ใช่ ในสายวชิ าการ หรือเปน็ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
ทํา สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาเพอ่ื รับปรญิ ญา ภายนอกสถาบนั โดยไม่ต้อง
อ ง พิจารณาด้านคณุ วฒุ ิและตาํ แหน่ง
ทางวิชาการ ผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะทจ่ี ะ
เป็นอาจารย์ทีป่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์
หลัก ตอ้ งเปน็ บุคลากรประจาํ ใน
สถาบนั เทา่ น้นั ส่วนผูเ้ ชีย่ วชาญ
เฉพาะทจี่ ะเปน็ อาจารย์ท่ีปรึกษา
วทิ ยานพิ นธ์ร่วม อาจเป็นบุคคลากร
ประจาํ ในสถาบนั หรือผทู้ รงคุณวุฒิ
ภายนอกสถาบนั ที่มคี วามรู้ ความ
เช่ียวชาญและประสบการณ์สูงใน
สาขาวิชานั้น ๆ เปน็ ทย่ี อมรับใน
ระดบั หน่วยงานหรือระดับกระทรวง
หรือวงการวชิ าชพี ด้านนัน้ เทียบได้
ไม่ต่าํ กว่าระดับ ๙ ข้นึ ไป ตาม
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ีสํานกั งาน
๕๐ ปรญิ ญาตรี คู่มือประกัน
เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท
๗. คณุ สมบตั ิของ ๑. อาจารย์ประจาํ และ
อาจารยผ์ ูส้ อบ ผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอกสถาบนั
วิทยานิพนธ์ ท่มี คี ณุ วฒุ ิปริญญาเอกหรือ
เทียบเทา่ หรอื ดาํ รงตําแหน่ง
นคณุ ภาพการศกึ ษา
ปริญญาเอก หมายเหตุ
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
๑. อาจารย์ประจําและผูท้ รงคณุ วฒุ ิ และหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งกําหนด
ภายนอกสถาบนั ที่มีคุณวุฒิปรญิ ญาเอก
หรอื เทยี บเท่าหรือดํารงตาํ แหนง่ ทาง ในกรณหี ลกั สูตรปริญญาเอกไม่มี
วิชาการไม่ตาํ่ กวา่ รองศาสตราจารย์ ใน อาจารย์ที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม
อาจารยผ์ ูส้ อบวทิ ยานิพนธ์ หรือ
อาจารยผ์ ้สู อน ที่ไดร้ ับคุณวุฒิ
ปริญญาเอก หรือไม่เปน็ ผูด้ ํารง
ตาํ แหน่งทางวชิ าการตง้ั แต่รอง
ศาสตราจารย์ขึ้นไปในสาขาวิชาที่
เปิดสอน สถาบันอุดมศึกษาอาจ
แต่งตั้งผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านแทน
เปน็ กรณๆี ไป โดยความเหน็ ชอบ
ของสภาสถาบนั อดุ มศึกษา และตอ้ ง
แจง้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาให้
รบั ทราบการแต่งตง้ั นัน้ ด้วย
บทที่ ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร
เกณฑ์การประเมนิ ปริญญาตรี ปริญญาโท
ทางวชิ าการไม่ตา่ํ กว่ารอง
๘. การตีพมิ พ์เผยแพร่
ผลงานของผู้สําเรจ็ ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานน้ั
การศึกษา
หรือสาขาวิชาทสี่ มั พนั ธ์กันและ
๙. ภาระงานอาจารยท์ ี่
ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธแ์ ละ ๒. มีประสบการณใ์ นการทาํ
การค้นควา้ อิสระใน
ระดบั บัณฑติ ศึกษา วจิ ัยที่ไมใ่ ช่สว่ นหนงึ่ ของ
การศึกษาเพ่อื รับปริญญา
(เฉพาะแผน ก เทา่ น้ัน)
ต้องเปน็ รายงานสืบเน่ืองฉบบั
เต็มในการประชุมทางวชิ าการ
(Proceedings) หรือวารสาร
หรือสิง่ พมิ พ์วชิ าการซ่งึ อยู่ใน
รูปแบบเอกสารหรอื ส่ือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์
วทิ ยานพิ นธ์
อาจารย์ ๑ คน ต่อ นักศกึ ษา ๕
คน
การคน้ คว้าอิสระ
อาจารย์ ๑ คน ตอ่ นกั ศึกษา
๑๕ คน
๕๑ หมายเหตุ
ปรญิ ญาเอก
สาขาวชิ านน้ั หรือสาขาวชิ าทสี่ ัมพันธ์กนั
น และ
ะ ๒. มปี ระสบการณ์ในการทําวจิ ยั ทไ่ี ม่ใช่
สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาเพ่ือรับปริญญา
วารสารหรอื สิ่งพิมพว์ ชิ าการที่มีกรรมการ วทิ ยานิพนธ์ซ่ึงเกีย่ วข้องกบั
ภายนอกมารว่ มกลน่ั กรอง(Peer Review) สิ่งประดิษฐ์ การจดทะเบยี น
ร ซงึ่ อยใู่ นรปู แบบเอกสาร หรอื สอื่ สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรสามารถ
อิเลก็ ทรอนิกส์ ทดแทนแทนการตีพิมพ์ในวารสาร
หรอื ส่ิงพมิ พ์ทางวิชาการได้ โดย
พจิ ารณาจากปที ่ีได้รบั สิทธบิ ัตร หรอื
อนุสทิ ธิบัตร ไมใ่ ชป่ ีทีข่ อจด
วิทยานพิ นธ์ - ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง
๕ อาจารย์ ๑ คน ตอ่ นกั ศึกษา ๕ คน เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดบั
บัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ข้อ ๑๐
กําหนดวา่ อาจารย์ประจํา ๑ คนให้
เป็นอาจารย์ทีป่ รึกษาได้ไม่เกิน ๕
คน หากหลักสูตรใดมีอาจารย์
ประจําท่มี ีศักยภาพพร้อมท่ีจะดูแล
นกั ศึกษาได้มากกว่า ๕ คน ให้อยู่ใน
๕๒ ปรญิ ญาตรี คู่มอื ประกัน
เกณฑ์การประเมนิ
ปริญญาโท
หากเป็นท่ปี รกึ ษาทั้ง ๒
ประเภทใหเ้ ทียบสดั สว่ น
นักศกึ ษาที่ทําวิทยานิพนธ์ ๑
คนเทียบเท่ากบั นักศกึ ษาท่ี
คน้ คว้าอิสระ ๓ คน
๑๐. อาจารย์ทป่ี รกึ ษา อย่างน้อย ๑ เรอ่ื งในรอบ ๕ ป
วิทยานิพนธ์และการ โดยนับรวมปีทีป่ ระเมนิ
คน้ คว้าอสิ ระในระดบั
บัณฑติ ศึกษามี ตอ้ งไมเ่ กนิ ๕ ปี ต้องไม่เกนิ ๕ ปี
ผลงานวิจยั อย่าง (จะต้องปรบั ปรุงใหเ้ สร็จและ (จะต้องปรับปรุงให้เสรจ็ และ
ตอ่ เนื่องและสมํ่าเสมอ อนมุ ตั ิ/ใหค้ วามเห็นชอบโดย อนุมัติ/ให้ความเหน็ ชอบโดย
๑๑. การปรับปรงุ สภามหาวทิ ยาลยั /สถาบัน สภามหาวิทยาลยั /สถาบนั
หลกั สูตรตามรอบ เพื่อใหห้ ลักสูตรใชง้ านในปีท่ี เพอ่ื ให้หลักสตู รใชง้ านในปีที่ ๖
ระยะเวลาที่กาํ หนด ๖)
นคุณภาพการศกึ ษา หมายเหตุ
ปรญิ ญาเอก
ดุลยพินจิ ของสถาบนั อุดมศึกษานน้ั
ปี อยา่ งน้อย ๑ เร่อื งในรอบ ๕ ปี แต่ท้ังนี้ต้องไม่เกิน ๑๐ คน เพ่ือ
โดยนบั รวมปีทปี่ ระเมนิ สนบั สนุนนักวจิ ัยทมี่ ีศักยภาพสูงทมี่ ี
ความพร้อมทางด้านทุนวิจัยและ
เครื่องมือวจิ ัย รวมทั้งผูท้ ด่ี ําเนิน
โครงการวจิ ัยขนาดใหญ่อย่าง
ตอ่ เนื่อง ในการผลติ ผลงาน
เป็นเจตนารมย์ทปี่ ระสงคใ์ ห้มีการ
พฒั นางานวิจัยอยา่ งสมํ่าเสมอ
ตอ้ งไมเ่ กิน ๕ ปี
(จะต้องปรบั ปรุงใหเ้ สรจ็ และอนุมัติ/ให้
ความเห็นชอบโดยสภามหาวทิ ยาลยั /
สถาบนั เพ่อื ให้หลกั สตู รใช้งานในปีที่ ๖)
๖)
บทท่ี ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
เกณฑก์ ารประเมนิ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท
รวม หมายเหตุ สาํ หรับหลักสูตร เกณฑ์ ๑๑ ข้อ
๕ ปี ประกาศใช้ในปีท่ี ๗
หรือหลักสูตร ๖ ปี
ประกาศใช้ในปีที่ ๘)
เกณฑ์ ๓ ข้อ
เกณฑ์การประเมินดังกล่าวเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.๒๕๔๘ หากม
เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรฉบบั ท่ปี ระกาศใช้ลา่ สุด
ผลการประเมินตวั บ่งชี้ที่ ๑.๑ กาํ หนดไว้เป็น “ผา่ น” และ “ไมผ่ ่าน” หากไม่ผ่านเก
หลกั ฐานเอกสารทต่ี ้องการนอกเหนือจากเอกสารประกอบแต่ละรายตัวบง่ ช้ี
๑. เอกสารหลกั สูตรฉบบั ท่ี สกอ. ประทับตรารับทราบ
๒. หนังสอื นาํ ท่ี สกอ. แจ้งรบั ทราบหลักสูตร (ถ้าม)ี
๓. กรณหี ลกั สตู รยังไม่ไดแ้ จ้งการรบั ทราบ ใหม้ ีหนงั สอื นําสง่ สกอ. หรอื หนังสอื
๕๓ หมายเหตุ
ปริญญาเอก
เกณฑ์ ๑๑ ข้อ
มีการประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฉบับใหม่ เกณฑ์การประเมินตามตัวบ่งช้ีนี้จะต้อง
กณฑ์ข้อใดข้อหนึง่ ถอื วา่ หลักสตู รไม่ไดม้ าตรฐาน (คะแนนเป็น ศูนย)์
อสง่ คนื จาก สกอ. และรายงานการประชุมสภาท่อี นมุ ัติ / ให้ความเห็นชอบหลกั สตู ร
องค์ประกอบที่ ๒ บัณฑิต
พันธกิจท่ีสําคัญท่ีสุดของสถาบันอุดมศึกษาคือ การผลิตบัณฑิต หรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้
ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรท่ีกําหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะต้องเป็นผู้มี
ความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพ่ือการ
ดํารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีความสํานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง
และพลโลก มีคณุ ลกั ษณะตามเอกลกั ษณ์และอัตลกั ษณ์ของสถาบนั อุดมศึกษา
สกอ. ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานในการกํากับและส่งเสริมการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ได้จัดทํา
มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบัณฑิต เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เพ่ือมุ่งเน้นเป้าหมายการจัดการศึกษาท่ีผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งเป็นการประกัน
คุณภาพบัณฑิตท่ีได้รับคุณวุฒิแต่ละคุณวุฒแิ ละสื่อสารใหส้ ังคม ชุมชน รวมท้ังหน่วยงานที่เก่ียวข้องต่างๆ ได้เชื่อมั่น
ถึงคุณภาพของบณั ฑิตที่ผลติ ออกมาเปน็ ไปตามท่กี ําหนดไว้ในผลลพั ธ์การเรยี นรูใ้ นแตล่ ะหลักสูตร
คุ ณ ภ า พ บั ณ ฑิ ต ใ น แ ต่ ล ะ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ส ะ ท้ อ น ไ ป ท่ี คุ ณ ภ า พ บั ณ ฑิ ต ต า ม ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยพิจารณาจากผลลัพธ์การเรียนรู้ การมีงานทํา และคุณภาพผลงานวิจัยของนักศึกษา
และผสู้ าํ เร็จการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษาในปีการศกึ ษานัน้ ๆ คณุ ภาพบัณฑิตจะพจิ ารณาไดจ้ ากตัวบ่งชีด้ งั ตอ่ ไปนี้
ตัวบง่ ช้ีที่ ๒.๑ คณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ
ตัวบง่ ช้ที ี่ ๒.๒ การได้งานทาํ หรอื ผลงานวิจัยของผู้สําเร็จการศึกษา
- (ปริญญาตรี) ร้อยละของของบัณฑิตบรรพชิตปริญญาตรีที่ปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะ
สงฆ์และบณั ฑติ คฤหสั ถ์ปรญิ ญาตรีท่ีได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
- (ปริญญาโท) ผลงานของนิสิตและผู้สําเรจ็ การศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์
หรือเผยแพร่
- (ปริญญาเอก) ผลงานของนิสิตและผู้สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกท่ีได้รับการ
ตพี มิ พ์หรือเผยแพร่
บทที่ ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๕๕
ตัวบง่ ชที้ ่ี ๒.๑ คณุ ภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ
ชนิดของตวั บง่ ช้ี ผลลัพธ์
คําอธิบายตัวบง่ ช้ี
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher
Education: TQF) ได้มีการกําหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรกําหนดไว้ใน มคอ.๒ ซึ่ง
ครอบคลุมผลการเรียนรู้อย่างน้อย ๕ ด้านคือ ๑) ด้านคุณธรรมจริยธรรม ๒) ด้านความรู้ ๓) ด้านทักษะทางปัญญา
๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและ ๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
ส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตัวบ่งชีน้ ้จี ะเป็นการประเมินคณุ ภาพบณั ฑิตในมุมมองของผใู้ ชบ้ ณั ฑิต
เกณฑก์ ารประเมิน
ใช้คา่ เฉลย่ี ของคะแนนประเมินบัณฑติ (คะแนนเต็ม ๕)
สตู รการคาํ นวณ
ผลรวมของคา่ คะแนนท่ีได้จากการประเมนิ บัณฑิต
จาํ นวนบัณฑติ ท่ไี ดร้ บั การประเมนิ ท้ังหมด
ขอ้ มลู ประกอบ
จํานวนบัณฑิตท่ีรับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ของจํานวนบัณฑิตท่ีสําเร็จ
การศึกษา
ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๒ (ปริญญาตรี) ร้อยละของของบัณฑิตบรรพชิตปริญญาตรีที่ปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์และ
บณั ฑติ คฤหัสถป์ ริญญาตรีที่ไดง้ านทาํ หรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ผลลัพธ์
คาํ อธบิ ายตัวบง่ ช้ี
บัณฑิตปริญญาตรีที่สําเร็จศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาในสาขาวิชาน้ันๆ ที่ได้
ปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์ ได้งานทําหรือมีกิจการของตนเองท่ีมีรายได้ประจําภายในระยะเวลา ๑ ปีนับจาก
วันทส่ี ําเร็จการศกึ ษาเมอื่ เทียบกับบณั ฑิตทส่ี าํ เรจ็ การศึกษาในปีการศึกษาน้นั
การนับบัณฑิตบรรพชิตท่ีปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์ นับจากผู้ได้รับแต่งต้ังเป็นพระสังฆาธิการ ครู
สอนพระปริยตั ิธรรม พระสอนศีลธรรมในโรงเรยี นหรอื งานลักษณะอน่ื ทเี่ ทยี บเคยี งกนั ได้
การนับการมีงานหรือประกอบอาชีพอิสระของบัณฑิตคฤหัสถ์ นับกรณีการทํางานสุจริตทุกประเภทที่
สามารถสรา้ งรายได้เข้ามาเป็นประจําเพื่อเล้ียงชีพตนเองได้ การคาํ นวณร้อยละของผู้มีงานทําของผู้สําเร็จการศึกษา
ทลี่ งทะเบียนเรยี นในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาให้คํานวณเฉพาะผู้ทีเ่ ปล่ยี นงานใหมห่ ลังสาํ เร็จการศกึ ษาเทา่ นน้ั
๕๖ ค่มู ือประกนั คณุ ภาพการศึกษา
เกณฑก์ ารประเมิน
แปลงค่าร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตปริญญาตรีที่ปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์และบัณฑิตคฤหัสถ์
ปริญญาตรีที่ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี เป็นคะแนนระหว่าง ๐ – ๕ โดยกําหนดให้คะแนนเตม็
๕ = ร้อยละ ๑๐๐
สูตรการคาํ นวณ
๑. คาํ นวณร้อยละของบัณฑติ บรรพชิตปรญิ ญาตรีทปี่ ฏบิ ัติหน้าท่สี นองงานคณะสงฆ์และบัณฑติ คฤหัสถ์
ปริญญาตรีทีไ่ ดง้ านทาํ หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี ตามสตู ร
จํานวนบณั ฑติ บรรพชิตปริญญาตรที ่ปี ฏิบัตหิ น้าที่สนองงานคณะสงฆแ์ ละ
บัณฑติ คฤหัสถ์ปรญิ ญาตรที ี่ไดง้ านทาํ หรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน ๑ ปี X ๑๐๐
จํานวนบัณฑติ ที่ตอบแบบสํารวจทั้งหมด
การคาํ นวณค่ารอ้ ยละนี้
- บัณฑิตบรรพชติ ไม่นาํ บณั ฑิตท่ีศึกษาต่อมานับรวม
- บัณฑติ คฤหัสถ์ ไมน่ ําบัณฑิตทศ่ี กึ ษาต่อ เกณฑ์ทหาร อุปสมบท และบัณฑติ ท่มี งี านทําแล้วแตไ่ ม่ได้เปลี่ยน
งาน มานบั รวม
๒. แปลงค่ารอ้ ยละที่คํานวณได้ในขอ้ ๑ เทยี บกบั คะแนนเต็ม ๕
คะแนนทไ่ี ด้ = ร้อยละของบณั ฑติ บรรพชิตปริญญาตรีท่ปี ฏบิ ตั ิหน้าท่สี นองงานคณะสงฆแ์ ละ
บัณฑติ คฤหัสถ์ปรญิ ญาตรที ี่ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน ๑ ปี X ๕
๑๐๐
หมายเหตุ : จํานวนบัณฑิตทตี่ อบแบบสํารวจจะต้องไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ของจาํ นวนบณั ฑิตทส่ี ําเร็จการศกึ ษา
บทที่ ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๕๗
ตัวบง่ ชี้ที่ ๒.๒ (ปริญญาโท) ผลงานของนิสิตและผู้สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ
เผยแพร่
ชนดิ ของตวั บง่ ช้ี ผลลพั ธ์
คําอธิบายตวั บ่งช้ี
การศึกษาในระดับปริญญาโทจะต้องมีการค้นคว้า คิดอย่างเป็นระบบ วิจัยเพื่อหาคําตอบที่มีความ
น่าเชื่อถือ ผู้สําเร็จการศึกษาจะต้องประมวลความรู้เพื่อจัดทําผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการใช้ความรู้อย่าง
เป็นระบบและสามารถนําเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการประเมินคุณภาพของผลงาน
ของผ้สู าํ เร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาโท
เกณฑ์การประเมนิ
แปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อผู้สําเร็จการศึกษาเป็นคะแนน
ระหวา่ ง ๐ – ๕ กาํ หนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ ๕ = รอ้ ยละ ๔๐ ขึ้นไป
สูตรการคาํ นวณ
๑. คาํ นวณรอ้ ยละของผลรวมถว่ งนา้ํ หนักของผลงานทตี่ ีพมิ พเ์ ผยแพรต่ ่อผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา ตามสูตร
ผลรวมถว่ งน้ําหนักของผลงานทต่ี พี มิ พ์หรอื เผยแพร่ของนสิ ิตและผู้สําเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาโท X ๑๐๐
จาํ นวนผสู้ าํ เร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาโททั้งหมด
๒. แปลงค่าร้อยละท่ีคาํ นวณไดใ้ นขอ้ ๑ เทยี บกับคะแนนเต็ม ๕
คะแนนที่ได้ = รอ้ ยละของผลรวมถว่ งนํา้ หนักของผลงานทตี่ ีพมิ พห์ รือเผยแพร่ต่อผ้สู ําเร็จการศึกษา X ๕
๔๐
กําหนดระดบั คณุ ภาพผลงานวชิ าการ ดงั น้ี
คา่ นํ้าหนกั ระดับคณุ ภาพ
๐.๑๐ -บทความฉบับสมบรู ณท์ ตี่ ีพมิ พ์ในลักษณะใดลักษณะหน่งึ
๐.๒๐ -บทความฉบับสมบรู ณ์ท่ีตีพมิ พ์ในรายงานสบื เน่ืองจากการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ
๐.๔๐ -บทความฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติท่ีไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ
ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.๒๕๕๖ แต่สถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติ
และจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการท่ัวไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ.ทราบภายใน ๓๐
วันนบั แต่วันท่ีออกประกาศ
-ผลงานท่ีได้รบั การจดอนสุ ิทธิบัตร
๐.๖๐ -บทความทีต่ ีพมิ พ์ในวารสารวชิ าการทปี่ รากฏในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ ๒
๕๘ คมู่ ือประกนั คุณภาพการศึกษา
ค่านํ้าหนกั ระดบั คณุ ภาพ
๐.๘๐
-บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ
๑.๐๐ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสาร
ทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.๒๕๕๖ แต่สถาบันนําเสนอสภา
สถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการท่ัวไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ.ทราบ
ภายใน ๓๐ วนั นับแต่วนั ท่ีออกประกาศ หรอื ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทีป่ รากฏในฐานข้อมูล
TCI กล่มุ ท่ี ๑
-บทความท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ
ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พจิ ารณาวารสารทางวิชาการ สําหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ. ๒๕๕๖
-ผลงานที่ได้รบั การจดสิทธิบตั ร
กําหนดระดบั คุณภาพงานสรา้ งสรรค์ ดังน้ี
คา่ นํ้าหนกั ระดบั คณุ ภาพ
๐.๒๐ งานสรา้ งสรรคท์ ี่มีการเผยแพรส่ ู่สาธารณะในลักษณะใดลกั ษณะหนง่ึ หรือผ่านสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
Online
๐.๔๐ งานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ด้รับการเผยแพรใ่ นระดบั สถาบนั
๐.๖๐ งานสร้างสรรคท์ ่ไี ดร้ บั การเผยแพร่ในระดับชาติ
๐.๘๐ งานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดับความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ
๑.๐๐ งานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดับภูมภิ าคอาเซยี น/นานาชาติ
ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการท่ีมีองค์ประกอบไม่น้อยกว่า ๓ คน โดยมี
บคุ คลภายนอกสถาบันร่วมพจิ ารณาดว้ ย
หมายเหตุ
๑. ผลงานวจิ ยั ท่ีมีช่อื นสิ ติ และอาจารยร์ ว่ มกันและนับในตัวบง่ ชีน้ ีแ้ ลว้ สามารถนาํ ไปนับในตวั บง่ ช้ีผลงาน
ทางวชิ าการของอาจารย์
๒. ผลงานของนิสิตและผ้สู ําเร็จการศกึ ษาให้นบั ผลงานทุกช้ินท่มี ีการตีพิมพเ์ ผยแพรใ่ นปกี ารประเมนิ นนั้ ๆ
๓. ในกรณที ไ่ี มม่ ีผสู้ าํ เรจ็ การศึกษาไม่พจิ ารณาตัวบง่ ช้นี ้ี
บทท่ี ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๕๙
ตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๒ (ปรญิ ญาเอก) ผลงานของนสิ ิตและผสู้ ําเรจ็ การศึกษาในระดับปริญญาเอกทไ่ี ด้รับการตพี ิมพ์
หรือเผยแพร่
ชนดิ ของตัวบง่ ช้ี ผลลพั ธ์
คาํ อธิบายตวั บ่งช้ี
การศึกษาในระดับปริญญาเอกเป็นการศึกษาในระดับสูงจะต้องมีการค้นคว้า คิดอย่างเป็นระบบ วิจัยเพื่อหา
ประเด็นความรู้ใหมท่ ี่มีความนา่ เชื่อถือ เปน็ ประโยชน์ ผู้สาํ เรจ็ การศึกษาจะต้องประมวลความรู้เพื่อจัดทําผลงานท่ีแสดง
ถึงความสามารถในการใช้ความรู้อย่างเป็นระบบและสามารถนําเผยแพร่ให้เป็นประโยชนต์ ่อสาธารณะ ตวั บง่ ชี้น้ีจะเป็น
การประเมนิ คณุ ภาพของผลงานของผสู้ าํ เร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาเอก
เกณฑก์ ารประเมิน
แปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ต่อผู้สําเร็จการศึกษา เป็นคะแนนระหว่าง
๐ – ๕ กาํ หนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ ๕ = ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป
สูตรการคาํ นวณ
๑. คํานวณร้อยละของผลรวมถ่วงนํ้าหนกั ของผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อผู้สําเรจ็ การศึกษา ตามสตู ร
ผลรวมถ่วงนา้ํ หนกั ของผลงานท่ีตพี ิมพ์หรือเผยแพร่ของนิสติ และผ้สู าํ เรจ็ การศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก X ๑๐๐
จาํ นวนผู้สําเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาเอกท้ังหมด
๒. แปลงคา่ ร้อยละที่คาํ นวณได้ในข้อ ๑ เทียบกับคะแนนเต็ม ๕
คะแนนที่ได้ = รอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานท่ีตีพมิ พห์ รือเผยแพร่ต่อผสู้ าํ เร็จการศึกษา X ๕
๘๐
กําหนดระดับคณุ ภาพผลงานวิชาการ ดงั นี้
ค่านาํ้ หนกั ระดบั คุณภาพ
๐.๒๐ - บทความฉบบั สมบูรณ์ทตี่ ีพิมพใ์ นรายงานสืบเนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ
๐.๔๐ - บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ
หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ
ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.๒๕๕๖ แต่สถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติ
และจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ.ทราบภายใน ๓๐
วันนับแตว่ นั ท่ีออกประกาศ
- ผลงานทไ่ี ด้รับการจดอนสุ ทิ ธิบตั ร
๐.๖๐ - บทความที่ตีพมิ พ์ในวารสารวชิ าการทป่ี รากฏในฐานข้อมลู TCI กล่มุ ท่ี ๒
๐.๘๐ - บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ
ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสาร
ทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.๒๕๕๖ แต่สถาบันนําเสนอสภา
๖๐ คู่มอื ประกนั คุณภาพการศึกษา
ค่านา้ํ หนัก ระดบั คุณภาพ
๑.๐๐
สถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการท่ัวไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ.ทราบ
ภายใน ๓๐ วนั นับแต่วนั ทีอ่ อกประกาศ หรอื ตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการท่ปี รากฏในฐานข้อมูล
TCI กล่มุ ท่ี ๑
- บทความทต่ี พี ิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาตทิ ี่ปรากฏในฐานข้อมูลระดบั นานาชาติ
ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.สําหรับการ
เผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๖
- ผลงานทไ่ี ด้รบั การจดสทิ ธิบัตร
การส่งบทความเพ่ือพิจารณาคัดเลือกให้นําเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper)
และเมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซ่ึงสามารถอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือ
ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้
กาํ หนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ ดงั น้ี
คา่ นาํ้ หนกั ระดบั คณุ ภาพ
๐.๒๐ งานสร้างสรรค์ท่ีมีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนกิ ส์ Online
๐.๔๐ งานสรา้ งสรรค์ที่ไดร้ บั การเผยแพร่ในระดับสถาบัน
๐.๖๐ งานสรา้ งสรรค์ที่ไดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดบั ชาติ
๐.๘๐ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพรใ่ นระดับความร่วมมอื ระหว่างประเทศ
๑.๐๐ งานสร้างสรรค์ทีไ่ ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดับภูมิภาคอาเซยี น/นานาชาติ
ผลงานสรา้ งสรรค์ทกุ ชน้ิ ตอ้ งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองคป์ ระกอบไม่น้อยกวา่ ๓ คน โดยมี
บคุ คลภายนอกสถาบนั รว่ มพิจารณาดว้ ย
หมายเหตุ
๑. ผลงานวิจัยที่มีชื่อนิสิตและอาจารย์ร่วมกันและนับในตัวบ่งชี้นี้แล้ว สามารถนําไปนับในตัวบ่งช้ีผลงาน
ทางวชิ าการของอาจารย์
๒. ผลงานของนสิ ติ และผ้สู าํ เร็จการศกึ ษาให้นบั ผลงานทุกช้นิ ท่มี ีการตพี มิ พเ์ ผยแพร่ในปีการประเมินนนั้ ๆ
๓. ในกรณที ไี่ มม่ ีผสู้ ําเรจ็ การศกึ ษาไม่พจิ ารณาตัวบ่งชน้ี ี้
บทท่ี ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๖๑
องค์ประกอบท่ี ๓ นิสติ
ความสําเร็จของการจัดการศึกษาข้ึนอยู่กับปัจจัยสําคัญปัจจัยหนึ่ง คือ นิสิต ระบบประกันคุณภาพนิสิต
ต้องให้ความสําคัญกับการรับหรือคัดเลือกนิสิตเข้าศึกษาในหลักสูตร ซึ่งต้องเป็นระบบที่สามารถคัดเลือกนิสิตที่มี
คุณสมบัติและความพร้อมในการเรียนในหลักสตู รจนสําเร็จการศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานสิ ิตให้มีความพร้อม
ทางการเรียน และมีกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะ
การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ และสาํ หรบั หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศึกษามีทกั ษะการวจิ ัยท่ีสามารถสร้างองค์ความรู้ได้
ทักษะที่จําเป็นสําหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ประกอบด้วย ๔ กลุ่มหลัก ได้แก่ (๑) กลุ่มวิชาหลัก
(Core Subjects) (๒) กลุ่มทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) (๓) กลุ่มทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) และ (๔) กลมุ่ ทักษะสารสนเทศ ส่ือและเทคโนโลยี (Information,
Media, and Technology Skills)
ทกั ษะสําคญั ทีค่ นส่วนใหญ่ให้ความสาํ คัญมาก คอื
๑) กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ได้แก่ (๑) การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical
Thinking and Problem Solving) (๒) นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) (๓) การ
สื่อสารและความร่วมมือกนั (Communication and Collaboration)
๒) กลุ่มทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills)
ประกอบด้วย การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) การรู้สื่อ (Media Literacy) และ การรู้ ICT (ICT
Literacy)
๓) กล่มุ ทกั ษะชวี ิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ประกอบดว้ ยความสามารถในการปรับตัว
และยืดหยุ่น (Flexibility and Adaptability) ความคิดริเร่ิมและการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (initiative and Self-
Direction) ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-cultural Interaction) ความรับผิดชอบ
และความสามารถผลิตผลงาน (Accountability and Productivity) ความเป็นผู้นําและรับผิดชอบต่อสังคม
(Leadership and Social Responsibility)
การประกนั คุณภาพหลักสูตรในองค์ประกอบด้านนิสติ เร่ิมดาํ เนินการต้ังแต่ระบบการรับนิสติ การสง่ เสริม
และพัฒนานิสิต และผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นกับนิสิตภายใต้กระบวนการดําเนินการดังกล่าว ให้พิจารณาจากตัวบ่งชี้
ดงั ตอ่ ไปนี้
ตัวบ่งชีท้ ่ี ๓.๑ การรับนิสติ
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓.๒ การสง่ เสริมและพัฒนานิสติ
ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๓ ผลที่เกิดกบั นสิ ิต
๖๒ คูม่ ือประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ตวั บ่งช้ที ี่ ๓.๑ การรับนิสิต
ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนการ
คําอธิบายตัวบ่งช้ี
คุณสมบัติของนิสิตที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตรเป็นปัจจัยพ้ืนฐานของความสําเร็จ แต่ละหลักสูตรจะมีแนวคิด
ปรัชญาในการออกแบบหลักสูตร ซ่ึงจําเป็นต้องมีการกําหนดคุณสมบัติของนิสิตท่ีสอดคล้องกับลักษณะธรรมชาติของ
หลักสูตร การกําหนดเกณฑ์ท่ีใช้ในการคัดเลือกต้องมีความโปร่งใส ชัดเจน และสอดคล้องกับคุณสมบัติของนิสิตที่
กําหนดในหลักสูตร มีเครื่องมือท่ีใช้ในการคัดเลือก ข้อมูล หรือวิธีการคัดนิสิตให้ได้นิสิตที่มีความพร้อมทางปัญญา
สุขภาพกายและจิต ความมุ่งม่ันที่จะเรียน และมีเวลาเรียนเพียงพอ เพื่อให้สามารถสําเร็จการศึกษาได้ตาม
ระยะเวลาท่ีหลกั สตู รกาํ หนด
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานอย่างน้อย
ให้ครอบคลุมในประเดน็ ต่อไปน้ี
- การรับนสิ ติ
- การเตรยี มพร้อมก่อนเข้าศึกษา
ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยใู่ นระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนนิ งานท้ังหมด
ทที่ ําให้ได้นิสิตท่ีมคี วามพรอ้ มที่จะเรียนในหลักสูตร
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไมม่ ีระบบ - มีระบบ มี - มีระบบ มกี ลไก - มรี ะบบ มีกลไก - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มกี ลไก
- ไมม่ ีกลไก กลไก - มีการนําระบบกลไก - มีการนําระบบ กลไก - มีการนาํ ระบบ
- ไม่มี - ไม่มีการนาํ ไปสูก่ ารปฏบิ ัต/ิ กลไกไปสกู่ าร - มีการนาํ ระบบ กลไกไปสู่การ
แนวคิดใน ระบบกลไก ดาํ เนินงาน ปฏิบตั ิ/ กลไกไปส่กู าร ปฏบิ ตั ิ/ดาํ เนินงาน
การกาํ กบั ไปสู่การ - มกี ารประเมิน ดําเนินงาน ปฏิบัติ/ - มกี ารประเมนิ
ติดตาม ปฎบิ ตั /ิ กระบวนการ - มีการประเมิน ดาํ เนนิ งาน กระบวนการ
และ ดาํ เนินงาน - ไมม่ ีการปรบั ปรงุ / กระบวนการ - มีการประเมนิ - มีการปรบั ปรงุ /
ปรบั ปรงุ พัฒนากระบวนการ - มีการปรับปรงุ / กระบวนการ พัฒนา
- ไมม่ ขี อ้ มลู พัฒนา - มีการ กระบวนการจาก
หลกั ฐาน กระบวนการจาก ปรับปรุง/ ผลการประเมิน
ผลการประเมนิ พฒั นา - มีผลจากการ
กระบวนการ ปรบั ปรุงเห็นชดั
จากผลการ เป็นรูปธรรม
ประเมิน - มแี นวทางปฏิบตั ทิ ่ี
- มผี ลจากการ ดี โดยมีหลักฐาน
ปรบั ปรงุ เชงิ ประจกั ษ์ยนื ยนั
เห็นชดั เป็น และกรรมการ
รปู ธรรม ผตู้ รวจประเมนิ
สามารถใหเ้ หตุผล
อธิบายการเป็น
แนวปฏิบัตทิ ี่ดไี ด้
ชัดเจน
บทท่ี ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๖๓
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๓.๒ การส่งเสรมิ และพัฒนานิสิต
ชนดิ ของตวั บง่ ชี้ กระบวนการ
คําอธิบายตวั บง่ ช้ี
ในช่วงปีแรกของการศึกษา ต้องมีกลไกในการพัฒนาความรู้พ้ืนฐานหรือการเตรียมความพร้อมทางการ
เรียนแก่นิสิตเพื่อให้มีความสามารถในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาได้อย่างมีความสุข อัตราการลาออกกลางคันน้อย
ในระหว่างการศึกษามีการจัดกิจกรรมการพัฒนาความรู้ความสามารถในรูปแบบต่างๆ ท้ังกิจกรรมในห้องเรียนและ
นอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดีท่ีมีจิตสํานึกสาธารณะ มีการวางระบบการดูแลให้
คําปรึกษาจากอาจารย์ท่ีปรึกษาวิชาการ (ระดับปริญญาตรี โท เอก) ระบบการป้องกันหรือการบริหารจัดการความ
เส่ียงของนิสิต เพื่อให้สามารถสําเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด รวมทั้งการส่งเสริมการเผยแพร่
ผลงานวิชาการของนิสิต การสร้างโอกาสการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนิสิตและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ ให้ได้มาตรฐานสากล
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงาน อย่างน้อย
ให้ครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
- การควบคุมการดูแลการใหค้ ําปรึกษาวชิ าการและแนะแนวแก่นสิ ิตปริญญาตรี
- การควบคุมการดแู ลการใหค้ าํ ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์แกบ่ ัณฑิตศกึ ษา
- การพัฒนาศักยภาพนสิ ิตและการเสรมิ สรา้ งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
ในการประเมนิ เพ่ือให้ทราบวา่ อยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาใน ภาพรวมของผลการดําเนินงานทั้งหมด
ทที่ าํ ใหไ้ ด้นิสิตเรยี นอยา่ งมคี วามสขุ และมที ักษะที่จาํ เปน็ ต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไมม่ ีระบบ - มีระบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มรี ะบบ มกี ลไก - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มีกลไก
- ไมม่ ีกลไก กลไก - มีการนําระบบกลไก - มีการนําระบบ กลไก - มีการนาํ ระบบ
- ไม่มี - ไม่มีการนํา ไปสู่การปฏิบตั /ิ กลไกไปสกู่ าร - มีการนาํ ระบบ กลไกไปสู่การ
แนวคดิ ใน ระบบกลไก ดาํ เนนิ งาน ปฏิบตั ิ/ กลไกไปสู่การ ปฏบิ ตั /ิ ดาํ เนนิ งาน
การกาํ กบั ไปสู่การ - มกี ารประเมิน ดําเนินงาน ปฏิบัติ/ - มีการประเมิน
ตดิ ตาม ปฎบิ ตั ิ/ กระบวนการ - มกี ารประเมิน ดําเนนิ งาน กระบวนการ
และ ดําเนินงาน - ไม่มีการปรับปรงุ / กระบวนการ - มีการประเมิน - มกี ารปรับปรงุ /
ปรับปรงุ พฒั นากระบวนการ - มกี ารปรบั ปรุง/ กระบวนการ พัฒนา
- ไม่มขี ้อมูล พัฒนา - มีการ กระบวนการจาก
หลักฐาน กระบวนการจาก ปรับปรงุ / ผลการประเมิน
ผลการประเมิน พฒั นา - มีผลจากการ
กระบวนการ ปรับปรุงเหน็ ชดั
จากผลการ เป็นรปู ธรรม
ประเมนิ - มีแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่
- มผี ลจากการ ดี โดยมีหลกั ฐาน
ปรบั ปรุง เชงิ ประจักษ์ยนื ยนั
เหน็ ชดั เปน็ และกรรมการ
รูปธรรม ผู้ตรวจประเมนิ
สามารถใหเ้ หตุผล
อธบิ ายการเป็น
แนวปฏบิ ัตทิ ่ีดไี ด้
ชัดเจน
๖๔ คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลทเี่ กิดกบั นสิ ิต
ชนดิ ของตวั บ่งชี้ ผลลพั ธ์
คาํ อธิบายตัวบ่งช้ี
ผลการประกันคุณภาพควรทําให้นิสิตมีความพร้อมทางการเรียน มีอัตราการคงอยู่ของนิสิตในหลักสูตรสูง
อัตราการสําเร็จการศึกษาตามหลักสตู รสงู นิสิตมีความพงี พอใจต่อหลักสตู ร และผลการจัดการขอ้ ร้องเรยี นของนสิ ติ
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็น
ตอ่ ไปน้ี
- การคงอยู่
- การสําเร็จการศกึ ษา
- ความพึงพอใจและผลการจดั การข้อร้องเรียนของนิสติ
เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
คะแนน ๐ คะแนน ๑ - มกี ารรายงาน - มีการรายงาน - มีการรายงาน - มกี ารรายงานผลการ
- ไมม่ ีการ - มกี าร ผลการ ผลการ ผลการ ดาํ เนินงานครบทุก
รายงานผล รายงานผล
การดําเนิน การ ดําเนินงาน ดําเนนิ งานครบ ดาํ เนนิ งาน เรอื่ งตามคําอธบิ าย
งาน ดาํ เนินงาน
ครบทกุ เรื่อง ทุกเร่อื งตาม ครบทุกเร่ือง ใน
ในบางเรื่อง
ตามคาํ อธบิ าย คําอธบิ ายในตวั ตาม ตวั บ่งช้ี
ในตวั บง่ ชี้ บ่งชี้ คําอธบิ ายใน - มีแนวโน้มผลการ
- มีแนวโนม้ ผล ตัวบ่งชี้ ดาํ เนินงานท่ดี ีขนึ้ ใน
การดาํ เนนิ งาน - มแี นวโนม้ ผล ทุกเรือ่ ง
ทด่ี ขี ึ้นในบาง การ - มีผลการดําเนินงานท่ี
เร่อื ง ดาํ เนินงานที่ โดดเด่น เทียบเคียง
ดขี ึน้ ในทุก กบั หลกั สตู รน้นั ใน
เรื่อง สถาบันกลุ่มเดียวกัน
โดยมีหลกั ฐานเชงิ
ประจกั ษย์ ืนยัน และ
กรรมการผตู้ รวจ
ประเมินสามารถให้
เหตผุ ลอธบิ ายวา่ เป็น
ผลการดาํ เนนิ งานที่
โดดเดน่ อยา่ งแทจ้ ริง
บทที่ ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๖๕
องคป์ ระกอบที่ ๔ อาจารย์
อาจารย์เป็นปัจจัยป้อนที่สําคัญของการผลิตบัณฑิต ผู้เก่ียวข้องต้องมีการออกแบบระบบประกันการ
บริหารและพัฒนาอาจารย์ เพ่ือให้ได้อาจารย์ที่มีคุณภาพเหมาะสม มีคุณสมบัติสอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา
วิสัยทัศน์ของสถาบันและของหลักสูตร และมีการส่งเสริมให้อาจารย์มีความรักในองค์กรและการปฎิบัติงานตาม
วิชาชีพ ผู้บริหารต้องมีการกําหนดนโยบาย แผนระยะยาว และกิจกรรมการดําเนินงาน ตลอดจนการกํากับดูแล
และการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ การวางระบบประกันคุณภาพอาจารย์ เป็นการดําเนินงานเพ่ือให้ได้อาจารย์ท่ีมี
คุณสมบัติท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกําหนดโดยสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และมพี ฒั นาการเพิ่มยิ่งข้ึนด้วยการวางแผนและการลงทุนงบประมาณและทรัพยากร
เพ่อื ให้อัตรากําลังอาจารยม์ ีจาํ นวนเหมาะสมกับจํานวนนสิ ิตที่รับเข้าในหลักสูตร มจี ํานวนอาจารย์ท่ีมีความรู้ ความ
เชี่ยวชาญทางสาขาวิชาของหลักสูตร และมีประสบการณ์ท่ีเหมาะสมกับการผลิตบัณฑิต อันสะท้อนจากวุฒิ
การศึกษา ตาํ แหน่งทางวชิ าการ และความก้าวหน้าในการผลติ ผลงานทางวิชาการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
องค์ประกอบด้านอาจารย์ เร่ิมดําเนินการต้ังแต่การบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์และ
ผลลพั ธ์ที่เกิดกบั อาจารย์ ให้พิจารณาจากตวั บง่ ชี้ดงั ต่อไปนี้
ตัวบง่ ชี้ที่ ๔.๑ การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์
ตัวบ่งชท้ี ่ี ๔.๒ คณุ ภาพอาจารย์
ตัวบง่ ช้ีที่ ๔.๓ ผลที่เกดิ กบั อาจารย์
๖๖ คมู่ อื ประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๔.๑ การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์
ชนิดของตัวบง่ ชี้ กระบวนการ
คําอธบิ ายตัวบ่งชี้
การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เริ่มต้นตั้งแต่ระบบการรับอาจารย์ใหม่ ต้องกําหนดเกณฑ์คุณสมบัติ
อาจารย์ที่สอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบันและของหลักสูตร มีกลไกการคัดเลือกอาจารย์ท่ี
เหมาะสม โปร่งใส นอกจากน้ีต้องมีระบบการบริหารอาจารย์ โดยการกําหนดนโยบาย แผนระยะยาว เพื่อให้ได้
อาจารย์ที่มีคุณสมบัติท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกําหนดโดยสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และระบบการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ มกี ารวางแผนและการลงทนุ งบประมาณ
และทรัพยากรและกิจกรรมการดําเนินงาน ตลอดจนการกาํ กับดแู ล และการพฒั นาคุณภาพอาจารย์
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้น้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานอย่างน้อย
ให้ครอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้
- ระบบการรับและแต่งตง้ั อาจารยป์ ระจาํ หลกั สูตร
- ระบบการบรหิ ารอาจารย์
- ระบบการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์
ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอย่ใู นระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนนิ งานทั้งหมด
ท่ีทําให้หลักสูตรมีอาจารย์ท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม ท้ังในด้านวุฒิการศึกษาและตําแหน่งทางวิชาการ เป็นไปตาม
เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรอย่างต่อเน่ือง และมีการส่งเสรมิ ให้มีการเพม่ิ พนู ความรูค้ วามสามารถของอาจารย์เพ่อื สร้าง
ความเขม็ แข็งทางวิชาการของหลักสตู ร
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไมม่ ีระบบ - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มี - มีระบบ มี - มรี ะบบ มีกลไก - มรี ะบบ มกี ลไก
- ไมม่ ีกลไก กลไก กลไก กลไก - มีการนาํ ระบบ - มีการนาํ ระบบกลไกไปสู่
- ไม่มี - ไม่มีการนํา - มีการนาํ - มีการนํา กลไกไปสู่การ การปฏบิ ตั ิ/ดาํ เนนิ งาน
แนวคดิ ใน ระบบกลไก ระบบกลไก ระบบกลไก ปฏิบัต/ิ ดาํ เนินงาน - มกี ารประเมิน
การกาํ กับ ไปสกู่ าร ไปส่กู าร ไปสกู่ าร - มีการประเมิน กระบวนการ
ติดตาม ปฎบิ ัติ/ ปฏิบตั /ิ ปฏบิ ัต/ิ กระบวนการ - มกี ารปรับปรงุ /พฒั นา
และ ดําเนินงาน ดาํ เนินงาน ดําเนินงาน - มกี ารปรับปรงุ / กระบวนการจากผลการ
ปรบั ปรุง - มีการ พฒั นา ประเมนิ
- ไม่มขี อ้ มูล - มกี ารประเมนิ ประเมิน กระบวนการจาก - มผี ลจากการปรบั ปรงุ
หลกั ฐาน กระบวนการ กระบวนการ ผลการประเมนิ เหน็ ชัดเปน็ รปู ธรรม
- ไมม่ กี าร - มกี าร - มีผลจากการ - มแี นวทางปฏบิ ัตทิ ่ีดี
ปรับปรุง/ ปรับปรุง/ ปรับปรงุ เหน็ ชดั โดยมีหลกั ฐานเชิง
พฒั นา พฒั นา เป็นรปู ธรรม ประจักษ์ยนื ยนั และ
กระบวนการ กระบวนการ กรรมการผตู้ รวจ
จากผลการ ประเมินสามารถให้
ประเมนิ เหตุผลอธบิ ายการเปน็
แนวปฏิบัตทิ ด่ี ไี ดช้ ัดเจน
บทที่ ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๖๗
ตัวบ่งชี้ท่ี ๔.๒ คุณภาพอาจารย์
ชนดิ ของตัวบง่ ช้ี ปัจจัยนําเข้า
คาํ อธิบายตัวบง่ ชี้
การสง่ เสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทาํ ให้อาจารย์ในหลกั สตู รมีคุณสมบตั ิทีเ่ หมาะสมและเพยี งพอ โดยทําให้
อาจารย์มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาที่เปิดให้บริการ และมีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับการผลิตบัณฑิต
อันสะท้อนจากวุฒกิ ารศึกษา ตาํ แหนง่ ทางวิชาการ และความก้าวหน้าในการผลติ ผลงานทางวชิ าการอยา่ งต่อเนอื่ ง
ประเดน็ ในการพจิ ารณาตวั บง่ ชีน้ ี้จะประกอบด้วย
- รอ้ ยละของอาจารย์ประจาํ หลักสตู รทม่ี ีคณุ วุฒิปรญิ ญาเอก
- ร้อยละของอาจารยป์ ระจาํ หลักสตู รท่ีดํารงตาํ แหนง่ ทางวิชาการ
- ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาํ หลกั สูตร
- จาํ นวนบทความของอาจารย์ประจําหลกั สูตรปริญญาเอกท่ไี ด้รบั การอ้างองิ ในฐานข้อมูล TCI
และ SCOPUS ตอ่ จาํ นวนอาจารยป์ ระจําหลกั สูตร
รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาํ หลกั สูตรท่มี คี ณุ วุฒปิ ริญญาเอก
การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็นการศึกษาระดับสูงสุดท่ีต้องการบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถและความ
ลุ่มลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสําคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความก้าวหน้า
ทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังนั้นหลักสูตรจึงควรมีอาจารย์ที่มีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญา
เอกทต่ี รงหรอื สัมพันธก์ ับหลักสตู รที่เปดิ สอนในสดั สว่ นทีเ่ หมาะสมกับพันธกิจหรือจุดเน้นของหลักสตู รน้ันๆ
เกณฑ์การประเมิน
โดยการแปลงค่ารอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรทม่ี ีคณุ วุฒิปริญญาเอกเปน็ คะแนนระหวา่ ง ๐ – ๕
หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ ๒๐
ขน้ึ ไป
หลกั สตู รระดับปรญิ ญาโท
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ ๖๐
ขึน้ ไป
หลักสตู รระดับปรญิ ญาเอก
ค่าร้อยละของอาจารยป์ ระจําหลักสตู รท่ีมีคุณวฒุ ิปริญญาเอกที่กําหนดให้เปน็ คะแนนเต็ม ๕ = รอ้ ยละ ๑๐๐
สตู รการคํานวณ
๑. คาํ นวณคา่ ร้อยละของอาจารยป์ ระจําหลักสตู รที่มวี ุฒปิ รญิ ญาเอก ตามสูตร
จํานวนอาจารย์ประจาํ หลกั สูตรทม่ี คี ุณวฒุ ปิ ริญญาเอก X ๑๐๐
จํานวนอาจารย์ประจําหลกั สูตรท้งั หมด
๖๘ คู่มอื ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
๒. แปลงค่ารอ้ ยละท่ีคาํ นวณไดใ้ นข้อ ๑ เทยี บกับคะแนนเต็ม ๕
คะแนนทไ่ี ด้ = ร้อยละของอาจารย์ประจาํ หลกั สูตรทม่ี คี ุณวฒุ ปิ รญิ ญาเอก X๕
ร้อยละของอาจารย์ประจําหลกั สตู รท่มี ีคุณวฒุ ปิ ริญญาเอก
ท่กี ําหนดใหเ้ ป็นคะแนนเต็ม ๕
หมายเหตุ
คุณวุฒิปริญญาเอกพิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิ
ของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสําเร็จการศึกษาภายในรอบปีการศึกษา
นนั้ ท้งั นอ้ี าจใช้คุณวุฒิอื่นเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกได้สําหรับกรณีท่บี างสาขาวชิ าชีพมีคณุ วฒุ ิอื่นที่เหมาะสมกว่า
ทัง้ นีต้ อ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
รอ้ ยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรทีด่ ํารงตําแหน่งทางวิชาการ
สถาบันอุดมศึกษาถือเป็นขุมปัญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบท่ีจะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ใน
สถาบันทําการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรใู้ นศาสตร์สาขาวชิ าต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนําไปใช้ใน
การเรียนการสอน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ การดํารงตําแหน่งทางวิชาการเป็นส่ิงสะท้อนการ
ปฏิบัตงิ านดังกล่าวของอาจารยต์ ามพนั ธกิจของหลักสตู ร
เกณฑก์ ารประเมิน
โดยการแปลงคา่ ร้อยละของอาจารยป์ ระจําหลักสูตรท่ีดาํ รงตาํ แหน่งทางวชิ าการเปน็ คะแนนระหว่าง ๐ – ๕
หลักสตู รระดับปริญญาตรี
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่ดํารงตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ
ศาสตราจารย์รวมกันทกี่ ําหนดให้เป็นคะแนนเตม็ ๕ = รอ้ ยละ ๖๐ ข้นึ ไป
หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาโท
คา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจําหลกั สตู รที่ดํารงตาํ แหน่งผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์
รวมกนั ท่ีกําหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ ๕ = ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
หลักสตู รระดับปรญิ ญาเอก
ค่ารอ้ ยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรทีด่ าํ รงตาํ แหนง่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์
รวมกนั ท่ีกาํ หนดให้เป็นคะแนนเตม็ ๕ = รอ้ ยละ ๑๐๐
สตู รการคาํ นวณ
๑. คํานวณค่าร้อยละของอาจารยป์ ระจําหลักสตู รท่ีดํารงตําแหน่งทางวิชาการ ตามสตู ร
จํานวนอาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรท่ดี ํารงตาํ แหน่งทางวิชาการ X ๑๐๐
จํานวนอาจารยป์ ระจําหลักสูตรท้งั หมด
บทที่ ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๖๙
๒. แปลงคา่ รอ้ ยละที่คาํ นวณได้ในข้อ ๑ เทียบกบั คะแนนเต็ม ๕
คะแนนท่ีได้ =
ร้อยละของอาจารยป์ ระจําหลกั สูตรทีด่ าํ รงตําแหน่งทางวชิ าการ X๕
ร้อยละของอาจารยป์ ระจําหลกั สตู รที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการท่กี าํ หนดใหเ้ ป็นคะแนนเต็ม ๕
ผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจาํ หลกั สูตร
ผลงานวิชาการเป็นข้อมูลที่สาํ คัญในการแสดงใหเ้ ห็นว่าอาจารย์ประจําไดส้ รา้ งสรรค์ข้ึนเพื่อแสดงให้เห็นถึง
ความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเน่ือง เป็นผลงานที่มีคุณค่า สมควรส่งเสริมให้มีการ
เผยแพรแ่ ละนําไปใชป้ ระโยชน์ทั้งเชิงวชิ าการและการแข่งขันของประเทศ ผลงานวิชาการอยใู่ นรูปของบทความวิจัย
หรอื บทความวชิ าการทีต่ ีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ หรือระดับนานาชาติ ตีพมิ พ์ใน
วารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็นผลงาน
วชิ าการรบั ใชส้ ังคมท่ีผา่ นการประเมินตําแหนง่ ทางวชิ าการแล้ว ผลงานวิจัยทห่ี น่วยงานหรือองคก์ รระดับชาตวิ ่าจ้าง
ให้ดําเนินการ ตําราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตําแหน่ง
ทางวชิ าการแลว้ รวมทัง้ งานสรา้ งสรรค์ต่างๆ โดยมวี ิธกี ารคิดดงั น้ี
เกณฑก์ ารประเมิน
หลกั สูตรระดับปริญญาตรี
ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงนํ้าหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่กําหนดให้เป็นคะแนน
เต็ม ๕ = รอ้ ยละ ๒๐ ขน้ึ ไป
หลกั สตู รระดับปรญิ ญาโท
ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงนํ้าหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่กําหนดให้เป็นคะแนน
เตม็ ๕ = รอ้ ยละ ๔๐ ขึ้นไป
หลักสูตรระดับปริญญาเอก
ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตรท่ีกําหนดให้เป็นคะแนน
เต็ม ๕ = รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป
สตู รการคาํ นวณ
๑. คาํ นวณร้อยละของผลรวมถว่ งนํา้ หนกั ของผลงานวิชาการของอาจารยป์ ระจาํ หลักสตู ร ตามสตู ร
ผลรวมถ่วงน้ําหนกั ของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาํ หลกั สตู ร X ๑๐๐
จาํ นวนอาจารย์ประจําหลักสตู รท้งั หมด
๗๐ คมู่ ือประกันคุณภาพการศึกษา
๒. แปลงคา่ ร้อยละท่ีคาํ นวณไดใ้ นข้อ ๑ เทยี บกบั คะแนนเต็ม ๕
คะแนนท่ไี ด้ = รอ้ ยละของผลรวมถ่วงนํ้าหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาํ หลักสตู ร
X๕
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าํ หนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสตู ร
ที่กําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕
กาํ หนดระดับคณุ ภาพผลงานทางวิชาการ ดังน้ี
ค่านํา้ หนกั ระดับคุณภาพ
๐.๒๐ - บทความวิจยั หรอื บทความวชิ าการฉบบั สมบรู ณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสบื เนอื่ งจากการประชุม
วชิ าการระดับชาติ
๐.๔๐ - บทความวิจยั หรือบทความวิชาการฉบบั สมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในรายงานสบื เนื่องจากการประชุม
วิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตาม
ประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ.๒๕๕๖ แต่สถาบันนําเสนอ
สภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ.
ทราบภายใน ๓๐ วัน นบั แตว่ นั ท่ีออกประกาศ
- ผลงานได้รบั การจดอนสุ ิทธิบัตร
๐.๖๐ - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI
กล่มุ ที่ ๒
๐.๘๐ - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ใน
ฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
๒๕๕๖ แต่สถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป
และแจ้งให้ กพอ./กกอ.ทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันท่ีออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s
list) หรอื ตพี ิมพ์ในวารสารวิชาการ ท่ีปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ ๑
๑.๐๐ - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏใน
ฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
พ.ศ.๒๕๕๖
- ผลงานที่ไดร้ ับการจดสิทธบิ ัตร
- ผลงานวิชาการรบั ใช้สงั คมท่ีได้รับการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การขอตาํ แหน่งทางวชิ าการแลว้
- ผลงานวิจัยที่หนว่ ยงานหรอื องค์กรระดบั ชาติวา่ จ้างใหด้ ําเนินการ
- ผลงานคน้ พบพันธพ์ุ ืช พนั ธส์ุ ัตว์ ทคี่ ้นพบใหมแ่ ละได้รบั การจดทะเบยี น
- ตําราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตําแหน่งทางวิชาการ
แลว้
บทท่ี ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๗๑
ค่านํ้าหนกั ระดบั คณุ ภาพ
- ตาํ ราหรอื หนังสือหรอื งานแปลทีผ่ ่านการพจิ ารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตําแหน่งทาง
วิชาการ แตไ่ มไ่ ด้นํามาขอรบั การประเมนิ ตาํ แหนง่ ทางวิชาการ
การส่งบทความเพ่ือพิจารณาคัดเลือกให้นําเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full
paper) และเม่ือได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ ซ่ึงสามารถอยู่ในรูปแบบ
เอกสาร หรอื สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้
กาํ หนดระดับคณุ ภาพงานสรา้ งสรรค์ ดงั น้ี
คา่ นาํ้ หนกั ระดบั คุณภาพ
๐.๒๐ งานสรา้ งสรรค์ที่มีการเผยแพรส่ ู่สาธารณะในลกั ษณะใดลักษณะหนึ่ง หรอื ผา่ นส่อื
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ Online
๐.๔๐ งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดับสถาบัน
๐.๖๐ งานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ดร้ บั การเผยแพร่ในระดับชาติ
๐.๘๐ งานสรา้ งสรรค์ท่ีได้รบั การเผยแพร่ในระดับความรว่ มมือระหว่างประเทศ
๑.๐๐ งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ดร้ ับการเผยแพร่ในระดับภมู ิภาคอาเซยี น/นานาชาติ
ผลงานสร้างสรรค์ทุกชนิ้ ต้องผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการท่ีมีองคป์ ระกอบไมน่ ้อยกว่า ๓ คน โดยมี
บคุ คลภายนอกสถาบนั ร่วมพจิ ารณาด้วย
จํานวนบทความของอาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus
ตอ่ จาํ นวนอาจารยป์ ระจําหลักสูตร
หลักสูตรในระดับปริญญาเอกถือได้ว่าเป็นหลักสูตรสูงสุดของสถาบันการศึกษา เป็นหลักสูตรท่ีสําคัญและ
เนน้ การสร้างองค์ความรู้ใหมเ่ พื่อเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ดงั นน้ั อาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรระดับปริญญา
เอกจงึ มคี วามสาํ คญั อย่างมากต่อหลักสูตรนนั้ ๆ
บทความวิจัยและบทความทางวชิ าการหรือ Review Article ของอาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาเอกที่
ได้รับการอ้างอิง ย่อมแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาเอกมีความสามารถในการทําวิจัย มีผลงานท่ี
ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ในฐานข้อมูล TCI และ Scopus และบทความที่ตีพิมพ์ได้รับการ
อ้างอิง แสดงให้เห็นว่ามีการนําไปใช้ประโยชน์และเป็นฐานในการพัฒนางานวิจัยใหม่ๆ ให้มีความก้าวหน้ามากขึ้น
จาํ นวนบทความของอาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรท่ีได้รบั การอ้างอิงมาก ยอ่ มแสดงให้เหน็ ว่าอาจารย์ประจําหลักสตู รเป็นผู้ท่ี
มผี ลงานและไดร้ บั การยอมรับในวงวชิ าการนั้นๆ
การคํานวณตัวบ่งชี้น้ี ให้เปรียบเทียบจํานวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง ต้ังแต่หนึ่งคร้ังข้ึนไป รวมทั้งการ
อ้างอิงตนเอง ท่ีเป็นผลงานของอาจารย์ประจําหลักสูตร ท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ
ต่ออาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาเอกน้ัน โดยนําเสนอในรูปสัดส่วน ท้ังนี้ พิจารณาผลการดําเนินงาน ๕ ปี
ย้อนหลังตามปีปฏทิ นิ ซ่ึงนับรวมปที ปี่ ระเมนิ
๗๒ คู่มือประกันคุณภาพการศกึ ษา
เกณฑ์การประเมิน
กลมุ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
อัตราสว่ น จํานวนบทความท่ีไดร้ ับการอา้ งองิ ตอ่ จํานวนอาจารย์ประจําหลักสตู รท่ีกาํ หนดใหเ้ ป็นคะแนน
เตม็ ๕ = ๒.๕ ข้ึนไป
กลมุ่ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ
อตั ราส่วน จํานวนบทความที่ได้รับการอ้างองิ ตอ่ จํานวนอาจารย์ประจําหลกั สูตรท่ีกาํ หนดให้เปน็ คะแนน
เตม็ ๕ = ๓.๐ ข้นึ ไป
กล่มุ สาขาวชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
อัตราส่วน จํานวนบทความท่ีไดร้ บั การอา้ งอิงตอ่ จํานวนอาจารย์ประจําหลกั สตู รที่กาํ หนดใหเ้ ปน็ คะแนน
เต็ม ๕ = ๐.๒๕ ขน้ึ ไป
สตู รการคํานวณ
๑. จํานวนบทความท่ไี ดร้ ับการอ้างอิงต่ออาจารยป์ ระจาํ หลักสูตร = จํานวนบทความทไี่ ดร้ บั การอ้างอิง
จาํ นวนอาจารย์ประจําหลกั สตู ร
๒. แปลงคา่ ท่ีคํานวณไดใ้ นขอ้ ๑ เทยี บกับคะแนนเต็ม ๕
คะแนนที่ได้ = อัตราส่วนจํานวนบทความที่ไดร้ บั การอ้างอิงตอ่ จาํ นวนอาจารยป์ ระจําหลกั สูตร X ๕
อัตราสว่ นจาํ นวนบทความทไ่ี ดร้ ับการอ้างองิ ต่อจํานวนอาจารยป์ ระจําหลักสตู รทีใ่ หค้ ะแนนเต็มเทา่ กบั ๕
ตวั อยา่ งการหาจาํ นวนบทความท่ีไดร้ ับการอา้ งองิ ตอ่ จาํ นวนอาจารย์ประจาํ หลักสตู ร
ถ้าอาจารย์ประจําหลักสูตรระดับปริญญาเอกของหลักสูตรหน่ึงในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมีจํานวน ๕ คน โดยอาจารย์ทั้ง ๕ คนมีผลงานตีพิมพ์บทความวิจัยหรือ Review Article ในฐานข้อมูล
TCI และ Scopus ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๐-๒๐๑๔) ซ่ึงดําเนินการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน
ของหลกั สตู รใน พ.ศ. ๒๕๕๗ (ประเมินในปี ค.ศ. ๒๐๑๔) เปน็ ดังนี้
- จํานวนบทความท่ตี ีพิมพ์ของอาจารย์ ทั้ง ๕ คนในฐานขอ้ มูล Scopus ระหว่าง ค.ศ. ๒๐๑๐-
๒๐๑๔ เทา่ กบั ๑๕ บทความ และจํานวนบทความท่ีตพี ิมพ์ในฐานขอ้ มูลของ TCI เท่ากับ ๕
บทความ
- ในจาํ นวนนม้ี บี ทความ ๘ บทความในฐานข้อมูล Scopus ทมี่ ีการอ้างอิง อย่างน้อย ๑ ครง้ั
และมบี ทความ ๒ บทความที่ตพี ิมพใ์ นฐานข้อมลู TCI ได้รบั การอ้างอิงอยา่ งน้อย ๑ ครั้ง
ดังน้นั จาํ นวนบทความที่ได้รับการอ้างองิ ต่อจาํ นวนอาจารยป์ ระจําหลกั สูตร =
จาํ นวนจบํานทวคนวอามาจทาี่ไรดยร้ ป์บั รกะาจราํอห้างลอักิงสอตู ยร่าทง้งันหอ้ มยด ๑ คร้งั = ๘ ା ๒ = ๑๐ = ๒.๐
๕ ๕
นาํ มาคํานวณคะแนน = = ๒.๐ x ๕ = ๔.๐ คะแนน
๒.๕
บทที่ ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๗๓
ตวั บง่ ช้ีที่ ๔.๓ ผลท่เี กดิ กบั อาจารย์
ชนิดของตัวบ่งช้ี ผลลัพธ์
คําอธบิ ายตวั บ่งช้ี
ผลการประกันคุณภาพ ต้องนําไปสู่การมีอตั รากําลังอาจารย์ใหม้ จี ํานวนเหมาะสมกบั จํานวนนสิ ติ ทรี่ บั เขา้ ใน
หลักสูตร อตั ราคงอยูข่ องอาจารย์สูง และอาจารย์มคี วามพึงพอใจตอ่ การบริหารหลกั สูตร
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชน้ี ้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนนิ งานในประเด็น
ตอ่ ไปน้ี
- การคงอย่ขู องอาจารย์
- ความพึงพอใจของอาจารย์
เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
คะแนน ๐ คะแนน ๑ - มกี าร - มีการรายงาน - มีการรายงาน - มกี ารรายงานผลการ
- ไมม่ ีการ - มกี าร รายงานผล ผลการดําเนนิ ผลการดําเนิน ดําเนนิ งานครบทุก
รายงานผล รายงานผล การดาํ เนนิ งานครบทุก งานครบทุก เรอ่ื งตามคําอธบิ ายใน
การดําเนิน การดําเนนิ งานครบทุก เรื่องตาม เร่อื งตามคาํ ตวั บง่ ช้ี
งาน งานในบาง เรอ่ื งตาม คาํ อธบิ ายใน อธิบายในตวั - มแี นวโน้มผลการ
คําอธิบายใน ตวั บ่งช้ี บง่ ชี้ ดาํ เนินงานทีด่ ีข้ึนใน
เรื่อง ตวั บ่งชี้ - มแี นวโน้มผล - มีแนวโน้มผล ทุกเรอ่ื ง
การดําเนนิ การดําเนนิ - มผี ลการดําเนนิ งานท่ี
งานท่ดี ีขน้ึ ใน งานทด่ี ขี น้ึ ใน โดดเดน่ เทยี บเคยี งกับ
บางเร่ือง ทุกเร่ือง หลักสตู รนัน้ ในสถาบนั
กลุม่ เดียวกัน โดยมี
หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
ยืนยัน และกรรมการ
ผู้ตรวจประเมิน
สามารถให้เหตุผล
อธบิ ายวา่ เปน็ ผลการ
ดาํ เนินงานทโ่ี ดดเดน่
อยา่ งแทจ้ รงิ
๗๔ คมู่ ือประกันคุณภาพการศึกษา
องคป์ ระกอบที่ ๕ หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผู้เรียน
แมท้ กุ หลกั สูตรท่ีสถาบันการศึกษาเปิดสอนต้องผา่ นการรับรองจากสาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
และมีการปรับปรุงทุก ๕ ปี แต่ผู้บริหารต้องรับผิดชอบในการควบคุมกํากับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีบทบาทหน้าที่ในการบริหาร
จัดการ ๓ ด้านที่สําคัญ คือ (๑) สาระของรายวิชาในหลักสูตร (๒) การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการ
สอน (๓) การประเมินผู้เรียน ระบบประกันคุณภาพในการดําเนินการหลักสูตร ประกอบด้วย หลักสูตร การเรียน
การสอน และการประเมินผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตามที่สํานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษากําหนด ตัวบ่งช้ีในการประเมินต้องให้ความสําคัญกับการกําหนดรายวิชาที่มีเนื้อหาที่ทันสมัย ก้าวทัน
ความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา รวมทั้งการวางระบบผู้สอนและอาจารยท์ ี่ปรึกษา ซึ่งต้องเป็น
บุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานิสิตให้เต็มศักยภาพ จัด
กิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีเน้นนสิ ิตเป็นสาํ คัญ และส่งเสริมทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
การประกนั คุณภาพหลกั สูตรในองคป์ ระกอบนี้พิจารณาไดจ้ ากตวั บ่งช้ดี ังตอ่ ไปนี้
ตวั บ่งช้ีท่ี ๕.๑ สาระของรายวิชาในหลักสตู ร
ตัวบ่งชท้ี ่ี ๕.๒ การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๕.๓ การประเมินผเู้ รยี น
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๕.๔ ผลการดําเนินงานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
บทที่ ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๗๕
ตวั บ่งช้ีท่ี ๕.๑ สาระของรายวิชาในหลกั สูตร
ชนดิ ของตวั บง่ ช้ี กระบวนการ
คําอธิบายตวั บง่ ช้ี
แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดให้บริการต้องผ่านการรับทราบจากสํานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา และมีการปรับปรุงทุก ๕ ปี แต่ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีการออกแบบหลักสูตร ควบคุมกํากับการ
จัดทํารายวิชาต่างๆ ให้มีเนื้อหาที่ทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา มีการ
บริหารจัดการการเปดิ รายวิชาต่างๆ ท้งั วชิ าบังคับและวชิ าเลือก ท่เี นน้ นิสิตเป็นสําคญั โดยสนองความต้องการของ
นิสิต และตลาดแรงงาน สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ต้องเน้นการพัฒนาทักษะด้านการวิจัยและการเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานอย่างน้อย
ใหค้ รอบคลุมประเดน็ ตอ่ ไปนี้
- การออกแบบหลกั สูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร
- การปรบั ปรุงหลักสตู รให้ทนั สมยั ตามความกา้ วหน้าในศาสตร์สาขานนั้ ๆ
ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอย่ใู นระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด
ทที่ าํ ใหห้ ลกั สตู รมคี วามทันสมัย สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและความตอ้ งการของประเทศ
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไม่มี - มรี ะบบ มี - มีระบบ มี - มรี ะบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มรี ะบบ มีกลไก
ระบบ กลไก กลไก กลไก - มีการนาํ ระบบ - มีการนําระบบกลไกไปสู่
- ไมม่ ี - ไม่มีการนํา - มีการนําระบบ - มีการนาํ ระบบ กลไกไปสูก่ าร การปฏิบัติ/ดาํ เนินงาน
กลไก ระบบกลไก กลไกไปสู่การ กลไกไปสู่การ ปฏบิ ตั /ิ - มีการประเมิน
- ไม่มี ไปสู่การ ปฏบิ ตั /ิ ปฏิบัต/ิ ดําเนนิ งาน กระบวนการ
แนวคิด ปฎบิ ตั ิ/ ดาํ เนินงาน ดาํ เนินงาน - มีการประเมนิ - มีการปรับปรุง/พฒั นา
ในการ ดาํ เนินงาน - มีการประเมนิ - มกี ารประเมิน กระบวนการ กระบวนการจากผลการ
กํากับ กระบวนการ กระบวนการ - มกี ารปรับปรุง/ ประเมนิ
ตดิ ตาม - ไม่มีการ - มีการ พฒั นา - มผี ลจากการปรับปรุง
และ ปรบั ปรงุ / ปรบั ปรงุ / กระบวนการ เห็นชดั เป็นรูปธรรม
ปรับปรงุ พฒั นา พัฒนา จากผลการ - มีแนวทางปฏิบตั ทิ ีด่ ี
- ไมม่ ี กระบวนการ กระบวนการ ประเมิน โดยมีหลกั ฐานเชงิ
ขอ้ มูล จากผลการ - มีผลจากการ ประจักษย์ ืนยนั และ
หลักฐาน ประเมิน ปรบั ปรงุ เห็นชดั กรรมการผู้ตรวจ
เปน็ รูปธรรม ประเมนิ สามารถให้
เหตผุ ลอธิบายการเปน็
แนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ไี ดช้ ดั เจน
๗๖ คูม่ อื ประกนั คุณภาพการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ การวางระบบผ้สู อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ชนิดของตัวบง่ ช้ี กระบวนการ
คําอธิบายตวั บ่งช้ี
หลักสูตรต้องให้ความสําคัญกับการวางระบบผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคํานึงถึงความรู้ความสามารถและ
ความเชีย่ วชาญในวชิ าทสี่ อน และเป็นความรทู้ ที่ นั สมยั ของอาจารย์ทีม่ อบหมายให้สอนในวิชานั้นๆ เพอื่ ให้นสิ ิตได้รับ
ความรู้ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริง สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ต้องให้
ความสําคัญกับการกําหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ การกําหนดอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ ท่ี
เหมาะสมกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ และลักษณะของนิสิต ให้นิสิตได้รับโอกาสและการพัฒนาตนเอง
เต็มตามศักยภาพ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ ต้องสามารถให้คําปรึกษาวิทยานิพนธ์ การ
ค้นคว้าอิสระ ตั้งแต่กระบวนการพัฒนาหัวข้อจนถึงการทําวทิ ยานพิ นธ์ การค้นคว้าอิสระ การสอบป้องกัน และการ
เผยแพรผ่ ลงานวิจยั จนสาํ เรจ็ การศกึ ษา
กระบวนการเรียนการสอนสําหรับยุคศตวรรษท่ี ๒๑ ต้องเน้นการพัฒนานิสิตให้มีความรู้ตามโครงสร้าง
หลักสูตรทก่ี าํ หนด และไดร้ ับการพฒั นาตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ คณุ ธรรมจริยธรรม ทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษ
ที่ ๒๑ โดยเฉพาะทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะทางภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ทักษะการทํางานแบบมี
สว่ นร่วม ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ความสามารถในการดแู ลสุขภาพ ฯลฯ การเรียนการสอนสมัยใหม่ต้อง
ใชส้ อื่ เทคโนโลยี และทําให้นิสิตเรียนรไู้ ด้ตลอดเวลาและในสถานท่ีใดก็ได้ ผูส้ อนมีหนา้ ท่เี ป็นผู้อาํ นวยความสะดวกให้
เกิดการเรียนรู้ และสนับสนุนการเรียนรู้ สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เทคนิคการสอนจะเน้นการวิจัยเป็น
ฐาน การเรียนแบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน เปน็ ตน้
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนนิ งานในประเดน็
ทีเ่ ก่ยี วข้อง ดงั ตอ่ ไปนี้
- การกําหนดผูส้ อน
- การกํากับ ติดตามและตรวจสอบการจัดทําแผนการเรียนรู้ (มคอ.๓ และ มคอ.๔) และการ
จัดการเรยี นการสอน
- การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการ
วชิ าการทางสงั คม และการทาํ นบุ าํ รงุ ศิลปะและวัฒนธรรม
- การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ให้สอดคล้องกับ
สาขาวชิ าและความก้าวหน้าของศาสตร์
- การแตง่ ตัง้ อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธแ์ ละการคน้ ควา้ อสิ ระในระดบั บัณฑติ ศึกษา ท่มี คี วาม
เชยี่ วชาญสอดคล้องหรอื สัมพันธก์ บั หวั ข้อวิทยานิพนธ์
- การช่วยเหลือ กํากับ ติดตามในการทําวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระและการตีพิมพ์
ผลงานในระดบั บณั ฑติ ศึกษา
ในการประเมนิ เพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ใหพ้ ิจารณาใน ภาพรวมของผลการดาํ เนินงานทั้งหมด
ทที่ ําใหก้ ระบวนการจดั การเรยี นการสอนตอบสนองความแตกตา่ งของผู้เรียน การจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียน
เปน็ สาํ คญั ก่อใหเ้ กดิ ผลการเรียนรูบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย
บทที่ ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๗๗
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไมม่ ี - มีระบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มีระบบ มกี ลไก - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มีกลไก
ระบบ กลไก - มีการนําระบบกลไก - มีการนาํ ระบบ กลไก - มีการนาํ ระบบ
- ไม่มี - ไม่มีการนํา ไปสู่การปฏิบัต/ิ กลไกไปสูก่ าร - มีการนําระบบ กลไกไปส่กู าร
กลไก ระบบกลไก ดาํ เนนิ งาน ปฏิบตั /ิ กลไกไปสูก่ าร ปฏิบัต/ิ ดาํ เนนิ งาน
- ไมม่ ี ไปสกู่ าร - มีการประเมิน ดาํ เนนิ งาน ปฏบิ ัต/ิ - มีการประเมนิ
แนวคดิ ปฎิบตั ิ/ กระบวนการ - มกี ารประเมนิ ดําเนินงาน กระบวนการ
ในการ ดําเนินงาน - ไม่มกี ารปรบั ปรงุ / กระบวนการ - มีการประเมิน - มีการปรับปรุง/
กาํ กับ พัฒนากระบวนการ - มีการปรบั ปรุง/ กระบวนการ พฒั นา
ตดิ ตาม พัฒนา - มีการ กระบวนการจาก
และ กระบวนการจาก ปรบั ปรุง/ ผลการประเมนิ
ปรับปรุง ผลการประเมิน พฒั นา - มผี ลจากการ
- ไม่มี กระบวนการ ปรับปรงุ เห็นชดั
ข้อมลู จากผลการ เปน็ รปู ธรรม
หลักฐาน ประเมนิ - มแี นวทางปฏิบัตทิ ่ี
- มผี ลจากการ ดี โดยมีหลกั ฐาน
ปรบั ปรุง เชิงประจกั ษย์ นื ยนั
เห็นชดั เป็น และกรรมการ
รูปธรรม ผู้ตรวจประเมิน
สามารถให้เหตุผล
อธบิ ายการเปน็
แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ไี ด้
ชดั เจน
ตวั บ่งช้ีท่ี ๕.๓ การประเมนิ ผเู้ รียน
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ
คําอธบิ ายตัวบง่ ช้ี
การประเมินนิสติ มจี ดุ มงุ่ หมาย ๓ ประการ คือ การประเมินผลนสิ ติ เพอ่ื ให้ข้อมลู สารสนเทศที่เปน็ ประโยชน์
ต่อการปรับปรุงการเรียนการสอนของผู้สอน และนําไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต (assessment for
learning) การประเมินท่ีทําให้นิสิตสามารถประเมินตนเองเป็น และมีการนําผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา
วิธกี ารเรียนของตนเองใหม่ จนเกดิ การเรยี นรู้ (assessment as learning) และ การประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต
ที่แสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (assessment of learning) การประเมินส่วนใหญ่จะใช้เพ่ือ
จุดมุ่งหมายประการหลัง คือ เน้นการได้ข้อมูลเกี่ยวกับสัมฤทธิผลการเรียนรู้ของนิสิต การจัดการเรียนการสอนจึง
ควรส่งเสริมให้มีการประเมินเพื่อจุดมุ่งหมายสองประการแรกด้วย ทั้งน้ี ความเหมาะสมของระบบประเมินต้องให้
ความสําคัญกับการกําหนดเกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน เคร่ืองมือประเมินที่มีคุณภาพ และวิธีการให้เกรดท่ี
สะท้อนผลการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม มีการกํากับให้มีการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) มี
การใชว้ ิธีการประเมนิ ท่หี ลากหลาย ใหผ้ ลการประเมนิ ทสี่ ะท้อนความสามารถในการปฏิบตั ิงานในโลกแห่งความเป็น
จริง (real world) และมีวธิ ีการให้ข้อมลู ปอ้ นกลับ (feedback) ท่ีทําให้นิสติ สามารถแกไ้ ขจุดออ่ นหรอื เสริมจุดแข็ง
๗๘ คมู่ อื ประกันคุณภาพการศกึ ษา
ของตนเองได้ ใหผ้ ลการประเมนิ ท่สี ะท้อนระดบั ความสามารถทแี่ ทจ้ ริงของนสิ ติ สาํ หรบั หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา
ต้องให้ความสําคญั กับการวางระบบประเมนิ วิทยานิพนธ์ การคน้ ควา้ อสิ ระทมี่ ีคุณภาพด้วย
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้น้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานอย่างน้อย
ให้ครอบคลุมประเด็นตอ่ ไปนี้
- การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ
- การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนิสิต
- การกาํ กับการประเมนิ การจดั การเรียนการสอนและประเมนิ หลักสตู ร (มคอ.๕ มคอ.๖ และ มคอ.๗)
- การประเมนิ วทิ ยานพิ นธ์และการคน้ ควา้ อิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ในการประเมินเพ่ือให้ทราบวา่ อยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานทั้งหมด
ท่สี ะท้อนสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการหรอื เครอื่ งมือประเมนิ ท่ีเชอื่ ถือได้ ใหข้ อ้ มูลท่ชี ว่ ยใหผ้ ู้สอนและผู้เรียนมแี นวทางในการ
ปรบั ปรุงพัฒนาการเรยี นการสอนตอ่ ไป
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไม่มี - มีระบบ มี - มีระบบ มกี ลไก - มีระบบ มกี ลไก - มีระบบ มี - มรี ะบบ มีกลไก
ระบบ กลไก - มีการนาํ ระบบกลไก - มีการนาํ ระบบ กลไก - มีการนาํ ระบบ
- ไม่มี - ไมม่ ีการนาํ ไปสูก่ ารปฏบิ ัต/ิ กลไกไปสกู่ าร - มีการนําระบบ กลไกไปสู่การ
กลไก ระบบกลไก ดาํ เนินงาน ปฏบิ ตั ิ/ กลไกไปสูก่ าร ปฏบิ ตั /ิ ดาํ เนินงาน
- ไม่มี ไปสู่การ - มกี ารประเมนิ ดําเนนิ งาน ปฏบิ ตั ิ/ - มีการประเมนิ
แนวคดิ ปฎิบตั /ิ กระบวนการ - มีการประเมิน ดาํ เนนิ งาน กระบวนการ
ในการ ดาํ เนินงาน - ไม่มีการปรบั ปรุง/ กระบวนการ - มกี ารประเมนิ - มกี ารปรบั ปรงุ /
กาํ กบั พฒั นากระบวนการ - มกี ารปรับปรุง/ กระบวนการ พฒั นา
ติดตาม พฒั นา - มกี าร กระบวนการจาก
และ กระบวนการจาก ปรับปรงุ / ผลการประเมนิ
ปรบั ปรงุ ผลการประเมิน พฒั นา - มผี ลจากการ
- ไมม่ ี กระบวนการ ปรับปรุงเหน็ ชดั
ขอ้ มูล จากผลการ เปน็ รปู ธรรม
หลกั ฐาน ประเมนิ - มแี นวทางปฏิบัตทิ ี่
- มผี ลจากการ ดี โดยมีหลักฐาน
ปรับปรงุ เชิงประจกั ษย์ นื ยัน
เหน็ ชดั เป็น และกรรมการ
รปู ธรรม ผ้ตู รวจประเมนิ
สามารถใหเ้ หตผุ ล
อธบิ ายการเปน็
แนวปฏิบัตทิ ี่ดไี ด้
ชดั เจน
บทท่ี ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๗๙
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๕.๔ ผลการดาํ เนนิ งานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ
ชนิดของตัวบ่งช้ี ผลลพั ธ์
คาํ อธิบายตวั บ่งชี้
ผลการดําเนินงานของหลักสูตร หมายถึง ร้อยละของผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้การดําเนินงานตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่ปรากฎในหลักสูตร (มคอ.๒) หมวดท่ี ๗ ข้อ ๗ ท่ีหลักสูตรแต่ละหลักสูตร
ดําเนินงานได้ในแต่ละปีการศึกษา อาจารย์ประจําหลักสูตรจะเป็นผู้รายงานผลการดําเนินงานประจําปี ในแบบ
รายงานผลการดําเนนิ การของหลกั สตู ร (มคอ.๗)
เกณฑก์ ารประเมนิ
มีการดําเนินงานน้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของตัวบ่งชี้ผลการดําเนินงานท่ีระบุไว้ในแต่ละปี มีค่าคะแนน
เท่ากบั ๐
มีการดําเนินงานรอ้ ยละ ๘๐ ของตัวบง่ ชผี้ ลการดาํ เนนิ งานทีร่ ะบุไวใ้ นแต่ละปี มีค่าคะแนนเทา่ กบั ๓.๕๐
มีการดําเนินงานร้อยละ ๘๐.๐๑-๘๙.๙๙ ของตัวบ่งช้ีผลการดําเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปี มีค่าคะแนน
เท่ากบั ๔.๐๐
มีการดําเนินงานร้อยละ ๙๐.๐๐-๙๔.๙๙ ของตัวบ่งชี้ผลการดําเนินงานท่ีระบุไว้ในแต่ละปี มีค่าคะแนน
เทา่ กบั ๔.๕๐
มีการดําเนินงานร้อยละ ๙๕.๐๐-๙๙.๙๙ ของตัวบ่งชี้ผลการดําเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปี มีค่าคะแนน
เท่ากบั ๔.๗๕
มีการดําเนนิ งานรอ้ ยละ ๑๐๐ ของตัวบ่งช้ผี ลการดําเนนิ งานทีร่ ะบุไว้ในแตล่ ะปี มีคา่ คะแนนเทา่ กบั ๕
สตู รการคํานวณ
คาํ นวณหาคา่ ร้อยละผลการดําเนินงานตามตวั บง่ ชี้การดาํ เนินงานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ
ระดับอดุ มศึกษาตามสตู ร
จํานวนตวั บ่งช้ผี ลการดาํ เนนิ งานหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติที่ดาํ เนินการได้จริง X ๑๐๐
จํานวนตัวบง่ ชผี้ ลการดําเนนิ งานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติทต่ี อ้ งดาํ เนินงานในปกี ารศึกษานนั้ ๆ
๘๐ คมู่ ือประกนั คณุ ภาพการศึกษา
องค์ประกอบที่ ๖ ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้
ในการดําเนินการบริหารหลักสูตร จะต้องมีปัจจัยท่ีสําคัญอีกประการหน่ึงคือ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซ่ึง
ประกอบด้วย ความพร้อมทางกายภาพ ความพร้อมด้านอุปกรณ์ ความพร้อมด้านเทคโนโลยี ความพร้อมด้านการ
ให้บริการ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทําวิจัย อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด การบริการเทคโนโลยี
สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ Wifi และอ่ืนๆ รวมทั้งการบํารุงรักษาที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิตสามารถเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ท่ีกําหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ โดยพิจารณาร่วมกับผลการประเมินความพงึ พอใจของนสิ ิตและอาจารย์
องค์ประกอบดา้ นสงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้จะพิจารณาได้จาก
ตวั บง่ ชี้ ๖.๑ สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้
บทที่ ๓ ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๘๑
ตัวบง่ ชี้ที่ ๖.๑ ส่ิงสนับสนุนการเรยี นรู้
ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนการ
คาํ อธิบายตัวบ่งชี้
ความพร้อมของส่ิงสนับสนุนการเรียนการสอนมีหลายประการ ได้แก่ ความพร้อมทางกายภาพ เช่น
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ท่ีพักของนิสิต ฯลฯ และความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยี และส่ิงอํานวยความสะดวก
หรือทรัพยากรท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด หนังสือ ตํารา ส่ิงพิมพ์ วารสาร
ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ ส่ืออิเล็คทรอนิกส์ ฯลฯ ส่ิงสนับสนุนเหล่าน้ีต้องมีปริมาณเพียงพอ และมี
คุณภาพพร้อมใช้งาน ทันสมัย โดยพิจารณาการดําเนินการปรับปรุงพัฒนาจากผลการประเมินความพึงพอใจของ
นิสติ และอาจารย์
ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานอย่างน้อย
ใหค้ รอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้
- ระบบการดําเนินงานของภาควิชา/คณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัยสงฆ์/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์
ประจําหลักสตู ร เพอื่ ให้มสี งิ่ สนับสนนุ การเรยี นรู้
- จํานวนสิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้ทีเ่ พียงพอและเหมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นการสอน
- กระบวนการปรับปรงุ ตามผลการประเมินความพงึ พอใจของนสิ ติ และอาจารยต์ ่อสิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้
ในการประเมินเพ่ือให้ทราบวา่ อยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด
ท่ีสะท้อนการจัดเตรียมส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีจําเป็นต่อการเรียนการสอน และส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้
อย่างมีประสทิ ธิผล
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ๐ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
- ไม่มรี ะบบ - มรี ะบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มรี ะบบ มีกลไก - มีระบบ มี - มีระบบ มีกลไก
- ไมม่ ีกลไก กลไก - มีการนําระบบ - มีการนาํ ระบบ กลไก - มีการนาํ ระบบกลไก
- ไมม่ ี - ไม่มีการนํา กลไกไปสกู่ าร กลไกไปสกู่ าร - มีการนาํ ระบบ ไปสกู่ ารปฏบิ ัต/ิ
แนวคดิ ใน ระบบกลไก ปฏิบัต/ิ ปฏบิ ตั /ิ กลไกไปสู่การ ดําเนนิ งาน
การกาํ กับ ไปสู่การ ดาํ เนนิ งาน ดําเนินงาน ปฏบิ ัติ/ - มกี ารประเมิน
ติดตาม ปฎิบัต/ิ - มีการประเมนิ - มีการประเมิน ดาํ เนินงาน กระบวนการ
และ ดาํ เนนิ งาน กระบวนการ กระบวนการ - มีการประเมิน - มกี ารปรบั ปรงุ /
ปรับปรุง - ไม่มีการ - มีการปรบั ปรงุ / กระบวนการ พัฒนากระบวนการ
- ไมม่ ีขอ้ มลู ปรับปรงุ /พฒั นา พฒั นา - มกี าร จากผลการประเมิน
หลักฐาน กระบวนการ กระบวนการจาก ปรบั ปรุง/ - มผี ลจากการ
ผลการประเมนิ พัฒนา ปรับปรงุ เหน็ ชดั เป็น
กระบวนการ รปู ธรรม
จากผลการ - มแี นวทางปฏบิ ัตทิ ี่ดี
ประเมิน โดยมีหลกั ฐานเชงิ
- มีผลจากการ ประจกั ษ์ยนื ยนั และ
ปรบั ปรุง กรรมการผตู้ รวจ
เห็นชัดเปน็ ประเมินสามารถให้
รปู ธรรม เหตุผลอธบิ ายการ
เปน็ แนวปฏบิ ัติทด่ี ไี ด้
ชดั เจน
๘๒ คู่มอื ประกันคณุ ภาพการศึกษา
๓.๔ แนวทางในการประเมนิ ระดับหลักสตู ร
๑) แนวทางในการประเมนิ ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๑ การรบั นสิ ติ
๑ การกาํ หนดเป้าหมายจํานวนรับนสิ ิตคํานึงความต้องการของตลาดแรงงาน และสภาพความพร้อมของ
อาจารย์ประจาํ ทีม่ อี ยู่ (ควบคมุ อตั ราส่วนอาจารยต์ อ่ นสิ ติ ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์)
๒ เกณฑ์การรับนิสิตที่ประกาศรับสะท้อนคุณภาพของนิสิตที่เหมาะสมกับหลักสูตรท่ีเปิดสอน และ
สอดคลอ้ งกบั ระดับของหลักสตู ร ประเภทหลกั สตู ร ปรัชญาวสิ ยั ทัศน์ของสถาบันและหลักสูตร ผลลัพธ์
การเรียนรู้ที่กําหนดในหลักสูตร (เช่น GPA ความรู้พื้นฐานในสาขา ภาษาต่างประเทศ
คณุ สมบตั เิ ฉพาะอ่นื ฯลฯ)
๓ เกณฑ์ท่ีใช้ในการคัดเลือกนิสิต กระบวนการรับนิสิต และเคร่ืองมือหรือข้อมูลที่ใช้ในการคัดเลือกมี
ความเหมาะสม เช่ือถือได้ โปรง่ ใส เปิดเผย และเป็นธรรมกับนิสิตทสี่ มคั รเขา้ เรียน
๔ นิสิตที่รับเข้าเรียนในหลกั สูตรมีคุณสมบัติและศักยภาพในการเรียนจนสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลา
ที่หลักสูตร มีคุณสมบัติขั้นต้นท้ังความรู้พื้นฐานหรือประสบการณ์ท่ีจําเป็นต่อการเรียนในหลักสูตร
ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น มคี วามพรอ้ มดา้ นสุขภาพกายและจิต มเี วลาเรยี นเพียงพอ
๕ ในกรณีที่นิสิตมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ท่ีกําหนดในประกาศรับ และมีการรับเข้าศึกษาแบบมี
เงื่อนไข นิสิตได้รับการเตรียมความพร้อมทางการเรียนหรือได้รับการพัฒนาจนมีคุณสมบัติครบผ่าน
เกณฑข์ ้นั ต่าํ เพอื่ ให้สามารถเรียนในหลกั สตู รได้จนสําเรจ็ การศึกษา
๖ การกําหนดคุณสมบัติในการรับเข้าของผู้สมัครในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้สูงกว่าคุณสมบัติของ
การรับเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยเฉพาะความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ และ
คณุ สมบตั ิพนื้ ฐานท่นี าํ ไปสู่การพฒั นาศกั ยภาพการวจิ ัย
๗ กระบวนการคัดเลือกระดับบัณฑิตศึกษามีความเข้มงวดเพ่ือให้ได้นิสิตที่มีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (พจิ ารณาจากอัตราส่วนนสิ ิตทรี่ บั เข้าตอ่ ผสู้ มัคร)
๒) แนวทางในการประเมินตัวบง่ ชที้ ่ี ๓.๒ การสง่ เสริมและพัฒนานสิ ติ
การควบคมุ ดแู ลการให้คําปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นสิ ิต
๑ การจัดระบบการดูแลนิสิตของอาจารย์ที่ปรึกษา มีการควบคุมกํากับให้จํานวนนิสิตต่ออาจารย์ที่
ปรกึ ษาเปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีกาํ หนด
๒ อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาวชิ าการมีเวลาให้การดูแลนสิ ิต (ผลประเมินจากนสิ ติ )
๓ การแนะนาํ การลงทะเบียนเรียนโดยคํานึงถงึ ความตอ้ งการ ความสนใจ และศกั ยภาพของนสิ ิต
๔ การจัดเก็บข้อมูลเพ่ือการรู้จักนิสิต การแลกเปล่ียนข้อมูลนิสิตในกลุ่มอาจารย์ผู้สอนเพื่อการพัฒนา
นิสติ (ผลการเรียน ลักษณะนิสติ จุดแข็งจดุ อ่อน)
๕ อาจารย์ท่ปี รึกษาให้ความชว่ ยเหลือนิสติ ที่มปี ัญหาทางการเรยี นหรอื ต้องการความชว่ ยเหลือด้านอื่นๆ
๖ การจัดการความเส่ียงด้านนิสิต (มีข้อมูลนิสิตท่ีมีผลการเรียนต่ํา มีความเสี่ยงที่จะออกกลางคัน หรือ
สําเร็จการศกึ ษาช้า ฯลฯ)
๗ ช่องทางการตดิ ต่อสือ่ สารระหวา่ งนิสติ และอาจารยท์ ีป่ รึกษา
๘ บัณฑิตศึกษา การกําหนดเวลาให้คําปรึกษาการเรียนในวิชาของอาจารย์ผู้สอนและการให้คําปรึกษา
การทําวทิ ยานพิ นธ์ทเ่ี พยี งพอ
กิจกรรมการพฒั นาศกั ยภาพของนิสิตและการเสรมิ สร้างทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
๑ สถาบันจัดงบประมาณ ทรัพยากรที่เสริมการจัดบริการแก่นิสิตเพียงพอ และครอบคลุมทุกประเภท
กิจกรรม
บทที่ ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๘๓
๒ บุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมนิสติ ต้องมีความรู้ความสามารถในการจัดกจิ กรรมท่สี นองความ
ตอ้ งการของนสิ ติ
๓ การจัดกจิ กรรมนิสติ ตอ้ งส่งผลต่อการพัฒนาคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของหลกั สูตร
๔ การจัดกิจกรรมการพัฒนานิสิตครอบคลุมกิจกรรมการเสริมสร้างความยึดมั่นผูกพันกับความเป็น
พลเมือง (civic engagement) กิจกรรมสนั ทนาการ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ฯลฯ
๕ การจัดกิจกรรมการพัฒนานิสิตต้องช่วยเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เช่น ICT
literacy, scientific literacy, media literacy, health literacy, life skill, career skills
๖ การเปดิ โอกาสให้นสิ ติ มีอิสระในการจดั กิจกรรมนิสติ โดยการสนับสนนุ ของสถาบนั
๗ การสนบั สนนุ ทุนการศึกษา ช่วยเหลอื นิสติ ทีม่ ีโอกาสทางการศกึ ษาจาํ กัด
๘ หากมีการรับนิสิตที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ เช่น นักกีฬา ต้องมีกลไกการดูแลนิสิตได้รับการพัฒนาให้ได้
สาระความรู้ ทกั ษะ ทสี่ อดคลอ้ งกับเปา้ หมายการเรียนรูท้ ีเ่ ป็นมาตรฐานเดียวกนั
๙ การสร้างเครือข่ายระหว่างสถาบันภายในประเทศและต่างประเทศ มี Visiting Professors ที่มาช่วย
สอนหรือใหป้ ระสบการณแ์ กน่ สิ ิต และการส่งนิสิตไปแลกเปลยี่ นเรียนรู้ในต่างประเทศ
๓) แนวทางในการประเมนิ ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓.๓ ผลทเี่ กิดกบั นิสิต
๑ อตั ราการคงอยู่ของนิสติ ในหลักสูตร
๒ อัตราการสําเรจ็ การศึกษาตามระยะเวลาของหลักสตู ร
๓ ความพงึ พอใจของนิสติ ต่อหลกั สตู รและการร้องเรยี นของนิสติ
๔ บณั ฑิตศึกษา นิสิตมีความรู้ ทักษะการแสวงหาความรู้ การสร้างความรดู้ ว้ ยตนเอง มศี กั ยภาพการวจิ ยั
ท่แี สดงออกถึงการผลิตและเผยแพร่ความร้จู ากกระบวนการวิจยั ของตนเอง
๔) แนวทางในการประเมนิ ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๔.๑ การบริหารและพฒั นาอาจารย์
ระบบการรบั อาจารย์ใหม่
๑ การวางแผนระยะยาวดา้ นอัตรากาํ ลงั อาจารย์ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
๒ การมีระบบการรบั อาจารย์ใหม่ท่ีมีความร้คู วามสามารถและความเชีย่ วชาญ รวมทั้งมกี ารพัฒนาอาจารย์
ทม่ี อี ยเู่ ดมิ อย่างต่อเนื่อง เพอ่ื ใหห้ ลักสตู รมีความเข้มแข็ง อาจารยใ์ นหลักสูตรสามารถส่งเสริมการทํางาน
ตามความชํานาญของแตล่ ะคนได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๓ อาจารย์ประจําหลักสูตรต้องมีวุฒิการศึกษา ตําแหน่งทางวิชาการ และประสบการณ์ ในจํานวนท่ีไม่ตํ่า
กว่าตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รท่ีกําหนดโดย สกอ.
ระบบการบริหารอาจารย์
๑ สถาบันต้องมีการจัดสรร หรือจัดหางบประมาณในการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณวุฒิ ตําแหน่งทางวิชาการ
ตามเปา้ หมายท่กี ําหนด
๒ ผู้บริหารสถาบันหรือหน่วยงานท่ีดูแลการบริหารจัดการหลักสูตรต้องมีการวางแผนระยะยาวด้าน
อัตรากําลังด้านอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษา ต้องมีแผนการบริหารอาจารย์
ประจําหลักสูตร โดยการมสี ่วนร่วมของทีมบรหิ ารระดับคณะ (คณะกรรมการประจาํ คณะ)
๓ สถาบันมีระบบและกลไกบริหารกําลังคนท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถรักษาอาจารย์ท่ีมีศักยภาพให้คงอยู่
กับสถาบัน ลดอัตราการลาออก หรือการย้ายงาน แผนบริหารหลักสูตรควรประกอบด้วย แผน
๘๔ คู่มือประกนั คุณภาพการศกึ ษา
อตั รากําลงั แผนการสรรหาและรับอาจารย์ใหม่ แผนธํารงรกั ษา แผนการหาตาํ แหน่งทดแทนกรณีลาไป
ศึกษาต่อ/เกษียณอายุ อืน่ ๆ ตามบรบิ ท
๔ ในกรณีท่ีปริมาณและคุณภาพอาจารย์ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรกําหนด สถาบันต้องมี
วธิ กี ารบริหารจดั การเพอ่ื ทรัพยากรบคุ คลเพือ่ ทดแทนข้อจาํ กัดอยา่ งเปน็ ระบบ
๕ มีแผนบริหารความเส่ียงด้านการบริหาร กรณีมีอาจารย์ส่วนเกิน กรณีมีอาจารย์ขาดแคลน กรณีมี
อาจารย์สมดุลกับภาระงาน เพื่อให้มีอาจารย์คงอยู่ และมีแผนบริหารความเสี่ยง ด้านจรรยาบรรณท่ี
เกีย่ วขอ้ งกับการจดั การเรียนการสอนและการประเมินผลนสิ ติ
๖ การกําหนดบทบาทหนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบของอาจารยป์ ระจําหลกั สูตรอยา่ งชัดเจน
๗ การมอบหมายภาระหน้าที่ให้เหมาะสมกับคณุ วุฒิ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
๘ ระบบการกําหนดภาระงานและแรงจงู ใจในการสนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน
๙ ระเบียบท่ีโปรง่ ใสชดั เจนในการบรหิ ารอาจารย์ประจําหลกั สตู ร
๑๐ ระบบในการเลกิ จ้างและการเกษยี ณอายุอยา่ งชัดเจน
๑๑ ระบบการยกย่องและธํารงรกั ษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ระบบการส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารย์
๑ สถาบนั ให้โอกาสอาจารยท์ ุกคนได้พัฒนาตนเองให้มคี ุณภาพมาตรฐานทางวิชาชพี อยา่ งต่อเนื่อง
๒ การจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็นไปตามมาตรฐานและมีศักยภาพท่ีสูงขึ้น
เพ่อื สง่ ผลตอ่ คุณภาพของบณั ฑิต
๓ การควบคุม กาํ กับ สง่ เสรมิ ให้อาจารยพ์ ฒั นาตนเองในการสร้างผลงานทางวชิ าการอยา่ งต่อเนื่อง
๔ การเสรมิ สรา้ งบรรยากาศทางวิชาการระหวา่ งอาจารย์ทง้ั ในและระหว่างหลักสตู ร
๕ การส่งเสริมการทําวิจัยเพ่ือพัฒนานิสิตของอาจารย์ (ประเมินจากจํานวนอาจารย์ที่มีการทําวิจัยเพื่อ
พัฒนาการเรยี นการสอน)
๖ การประเมินการสอนของอาจารย์ และนําผลมาใช้ในการส่งเสริมพัฒนาความสามารถด้านการสอนของ
อาจารย์
๗ อาจารย์อาวุโส หรืออาจารย์ท่ีมีเทคนิคการสอนดีเด่น มีการถ่ายทอดประสบการณ์สู่อาจารย์ในสาขา/
หลักสตู ร
๘ บัณฑิตศึกษา ให้ความสําคัญกับการจัดหาอาจารย์หรือพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณสมบัติที่สูงกว่ากําลังคน
ในหลักสูตรปริญญาตรี โดยเฉพาะคุณสมบัติของอาจารย์ที่ต้องเน้นทักษะความสามารถด้านการวิจัย
นอกเหนอื จากความรูค้ วามสามารถด้านการสอน
๕) แนวทางในการประเมนิ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๔.๓ ผลทเี่ กดิ กับอาจารย์
๑ อตั ราการคงอยขู่ องอาจารยป์ ระจาํ หลักสตู ร
๒ ความพงึ พอใจของอาจารยป์ ระจําหลกั สตู รต่อการบริหารจัดการหลกั สตู ร
๓ จาํ นวนอาจารย์เพยี งพอในการจดั การเรยี นการสอนตามมาตรฐานหลักสูตร
๖) แนวทางในการประเมนิ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๕.๑ สาระของรายวิชาในหลกั สูตร
๑ หลักสูตรมกี ารกําหนดสาระวิชาทางทฤษฎี และการปฏบิ ัติท่ีช่วยสร้างโอกาสในการพฒั นาความรู้ ทกั ษะ
ผ่านการเรียนการสอนที่มปี ระสิทธิภาพ
๒ เนื้อหาของหลกั สูตรในแต่ละรายวชิ ามีการปรบั ปรงุ ให้ทนั สมัยตลอดเวลา มีการเปดิ วชิ าใหมใ่ ห้นิสติ ไดเ้ รียน
บทท่ี ๓ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๘๕
๓ หลกั สูตรแสดงผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ท่ชี ดั เจน ทันสมัย สอดคล้องกับความกา้ วหน้าทางวชิ าการและความ
ต้องการของผูใ้ ชบ้ ัณฑิต
๔ คําอธิบายรายวิชามีเน้ือหาทีเ่ หมาะสมกบั ชือ่ วชิ า จํานวนหน่วยกิต และมีเนื้อหาท่ีครบคลุมกวา้ งขวาง
ครบถว้ นในส่ิงที่ควรเรยี น มคี วามลกึ ในวชิ าเอกหรือทเ่ี ปน็ จุดเน้น มีความต่อเน่อื งเชื่อมโยง สมั พันธก์ ัน
ระหว่างวิชา และมกี ารสงั เคราะห์การเรยี นรู้
๕ เน้ือหาที่กาํ หนดในรายวชิ าไม่มีความซาํ้ ซ้อน กลุ่มรายวิชามคี วามต่อเน่ืองสมั พันธก์ นั เหมาะสมกบั ระดับ
การศกึ ษาของหลักสตู ร
๖ ผลลัพธ์การเรยี นรขู้ องผเู้ รียนตรงกบั ผลลพั ธ์การเรียนรูท้ ่ีกําหนดในรายวิชาและหลกั สูตร
๗ การจัดการเรยี นการสอนครอบคลมุ สาระเนื้อหาที่กําหนดในคาํ อธิบายรายวชิ าครบถ้วน
๘ การเปิดรายวิชามีลําดบั ก่อนหลังทเ่ี หมาะสม เอื้อให้นสิ ิตมีพื้นฐานความรู้ในการเรียนวิชาต่อยอด
๙ การเปดิ รายวชิ าเป็นไปตามข้อกําหนดของหลักสตู รเพื่อให้นสิ ติ สําเร็จไดท้ นั ตามเวลาทก่ี ําหนดใน
หลกั สตู ร
๑๐ การเปดิ รายวิชาเลอื กสนองความต้องการของนสิ ติ ทนั สมยั และเปน็ ที่ต้องการของตลาดแรงงาน
๑๑ การจดั รายวชิ าในหลักสูตรแก่นิสติ ทีเ่ รยี นในสถาบนั หรือนอกสถาบนั การศึกษาปกติ หรือการศกึ ษา
ทางไกล มีการควบคุมใหน้ ิสติ ได้เนื้อหาสาระ เป้าหมายการเรยี นรู้ วิธีการจัดการเรยี นการสอน การ
ประเมินทเี่ ปน็ มาตรฐานเดียวกัน
ปริญญาตรี (ประเดน็ เพิ่มเติม)
๑๒ การจัดรายวิชาเน้นเน้ือหาความรู้และทฤษฎี การปฏิบัติในเน้ือหาสาระของสาขาวิชาที่เป็นจุดเน้น วิชา
การศึกษาท่วั ไปท่สี ร้างความเปน็ มนษุ ย์ท่เี ตรยี มนสิ ติ ออกสโู่ ลกแหง่ การดํารงชวี ติ
๑๓ หากมีการโอนหน่วยกิต ต้องให้ความสําคัญกับการเทียบวิชารับโอนที่ต้องมีการเรียนในเนื้อหาสาระท่ี
กาํ หนดในรายวชิ าของหลกั สตู รอย่างครอบคลุม ครบถ้วน
บณั ฑติ ศกึ ษา (ประเดน็ เพ่ิมเติม)
๑๔ เนือ้ หาสาระของรายวชิ าเน้นความรู้ ทฤษฎใี นสาขาทเ่ี กีย่ วขอ้ งท่มี ีความที่ซบั ซ้อน มีจุดเนน้
๑๕ การควบคุมกํากับหัวข้อวิทยานิพนธ์/สาระนิพนธ์ท่ีอนุมัติเป็นประเด็นวิจัยร่วมสมัย/สนองความต้องการ
ของสงั คม
๑๖ หัวข้อวิทยานิพนธ์เป็นประเด็นวิจัยที่เหมาะสมกับปรัชญา วิสัยทัศน์ของหลักสูตร และสอดคล้องกับ
ระดบั ของหลกั สตู ร
๑๗ หัวข้อวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก มีความซับซ้อนและลึกซ้ึงและให้องค์ความรู้ใหม่มากกว่าระดับ
ปริญญาโท
๗) แนวทางในการประเมนิ ตัวบ่งชี้ท่ี ๕.๒ การวางระบบผ้สู อนและกระบวนการจดั การเรียนการสอน
การวางระบบผูส้ อน
๑ ผู้สอนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับรายวิชาที่สอน มีความรู้และความชํานาญในเน้ือหาวิชาท่ีสอน(คํานึงถึง
สาขาวิชา ประสบการณท์ าํ งาน ผลงานวิชาการของผสู้ อน)
๒ หลักสูตรกําหนดผู้สอนให้นิสิตได้เรียนจากผู้สอนที่มีความชํานาญหลากหลาย เพื่อให้มีโอกาสได้รับการ
พัฒนามุมมองหรือความคิดจากผู้สอนหลากหลายความรแู้ ละประสบการณ์ (ในแต่ละหลักสูตร นิสิตควร
ไดเ้ รยี นกับอาจารย์ผูส้ อนคนเดิมไมเ่ กิน ๓ วิชา)
๓ มีการกํากับมาตรฐานการทําประมวลการสอน (มคอ.๓ และ มคอ.๔) ของอาจารย์ให้ทันสมัยในด้าน
เน้อื หา กิจกรรมการเรียน การวดั และประเมนิ ผลเหมาะสม