The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน ๑๓๕

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟูพระพุทธศาสนา

๔.๑ ความนาํ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) เปนบุคคลอีกทานหน่ึงท่ีทํา
การฟนฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เปนผูกอตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเปนผู
เรียกรอ งเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเปนของชาวพุทธ ดวยเหตุน้ีจึงสําคัญอยางย่ิงท่ี
จะตองศึกษาแนวคิด อุดมการณ วิสัยทัศนของทาน เพียงเพราะแหงการอานอานหนังสือ
เร่ืองประทีปแหงเอเชียของทานเซอร เอ็ดวิลอารโนล ก็ใหทานเกิดความซาบซึ้งใน
พระพุทธศาสนาและมคี วามคิดอยากอทุ ิศชีวติ ถวายตอ พระพทุ ธองคถ ึงเพียงน้ี ดวยศรัทธาท่ี
เกิดจากการอานหนังสือเปนตัวผักดันใหทานตองทุมเททั้งแรงกายและแรงใจเพื่อ
พระพุทธศาสนา จนไดเ ดนิ ทางสูอินเดียเพอ่ื ศกึ ษาขอเท็จจรงิ เมอ่ื เดินทางมาถึงอินเดียแลวก็
พบกับสภาพเจดียพุทธคยาที่ชํารุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้งมีการมีบูรณะ มักไปกวานั้นเจดีย
พุทธคยายังถูกครอบครองดวยพวกมหันต จึงเกิดความสังเวชใจ และเกิดแรงบันดาลใจท่ี
อยากจะทํานุบํารงุ พระพทุ ธศาสนา จงึ ทาํ การอธษิ ฐานตอ ตนพระศรมี หาโพธิ์วาจะถวายชีวิต
เปนพทุ ธบชู า เพอ่ื ฟนฟพู ทุ ธศาสนา ในอนิ เดียและนําพทุ ธคยากลบั คืนมาเปน สมบัติของชาว
พทุ ธทวั่ โลกใหไ ด

๔.๒ ประวัติ ทา นอนาคารกิ ธรรมปาละ

๔.๒.๑ ชวี ติ ปฐมวัย
เกิดเม่ือวนั ท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๐๗ ที่เมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา เดิมมี
ชอ่ื วา “ดอน เดวดิ เววาวติ ารเน (Don DevidVewavitarne)
บดิ า ชอื่ ดอน คาโรลสิ เววาวิตารเน
มารดา ชื่อวา มัลลกิ า เววาวติ รเน (ธรรมคุณวฒั นะ)
ธรรมปาละหรือ ดอน เดวิด ผูเกิดในครอบครัวเปนนักธุรกิจเฟอรนิเจอรของชาว
สิงหลในเมอื งโคลมั โบ ดวยอาชีพน้ีทําใหฐานะทางสังคมของทานเปนฐานะชนช้ันกลางหรือ
มีฐานะดีในสังคมศรีลังกา ทานถูกสงไปเรียนในโรงเรียนของมิชชันนารีและทานมีความรู
ความชํานาญเก่ียวกับประวัติศาสตรของประเทศ แตวาพ้ืนฐานความรูเร่ืองประวัติศาสตร
พระพุทธศาสนาทานก็มีความรูอยูพอสมควรเพราะทานเกิดในตระกูลของชาวพุทธ โดย
อาชีพของตระกูลบิดาเปนกสิกรรมในเมืองมาตะระ ทางตอนใตของศรีลังกา ปูของทานชื่อ
วา ทนิ ศิรี อปิ ปฮุ ามี มบี ตุ ร ๒ คน คนที่ ๑ ออกบวชเปนพระภกิ ษชุ ื่อวา หิตตะติเย อัตถทัสสี
เปนเจาอาวาสวัดหิตตะติยะมหาวิหาร ลูกคนท่ี ๒ ช่ือวา นายดอน คาโรลิสเววาวิตารเน
บดิ าของทานดอน เดวิด เววาวิตารเน (ธรรมปาละ) ทํางานที่โคลัมโบ สมรสกับนางมัลลิกา

๑๓๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั
บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ธรรมคุณวัฒนะ แลวต้ังรากฐานในกรุงโคลัมโบ ตระกูลน้ีไดใหการอุถัมภในการศึกษาโดย
การอุทิศท่ีดิน ๑ แปลง สรางมหาวิทยาลัยแหงพระพุทธศาสนาชื่อวา วิทโยทัยปริเวณะ
ปจจุบัน คือมหาวิทยาลัยโยทัย บิดากับมารดาของทานอยากไดลูกชาย แตมีจุดหมาย
ตางกัน โดยบิดาอยากไดลูกชายไวสืบสกุล สวนมารดา อยากไดลูกชายเพราะปรารถนาจะ
เหน็ ลูกชายเปนพระภิกษุผูครองผาการสาวพัสตร ท่ีจะเปนดวงประทีปแหงธรรม สองสวาง
ใหแกประชาชาติชาวลังกา ทุกๆ เชานางจะเก็บดอกไมมาบูชาพระรัตนตรัยแลวเจริญพระ
พทุ ธมนต นางไดถวายทานแกพ ระภิกษุสงฆอยเู ปนประจํา ในขณะเดียวกันนางก็จะ อธิฐาน
ขอใหมีบุตรชายที่เกิดมาเปนผูมีปญญาแจมใส มีจิตใจใฝในพระธรรมและเปนผูจะนํา
ประชาชาติใหพนจากความมืดมนจากการปกครองอัน อยุติธรรมของคนตางศาสนา ดวย
แรงอธฐิ านของนางกก็ ลายเปนจริง นางไดใ หก ําเนิดบตุ รชายในเวลาตอมา กลาวคือกลางคึก
ของวนั ท่ี ๑๗ กันยายน ๒๔๐๗ นางมลั ลิกา เววาวิตารเน กใ็ หก าํ เนิดบุตรชายที่แข็งแรงและ
มีใบหนา ผอ งใส ใหชื่อวา ดอน เดวดิ เววาตารเน

พระพุทธศาสนาในสังคมศรีลังกาในยุคน้ันมีสภาพท่ีเส่ือมถอยไปมาก แมสภาพ
ทางสังคมยุคก็เสื่อมถอยท่ีสุดๆ สาเหตุที่ทําใหเสื่อในยุคนั้นก็มีอยูหลายเหตุการณดวยกัน
อยางเชนภัยตางชาติบาง ภัยศาสนาบาง ซ่ึงจะเห็นไดจากการที่ตางชาติไดรุกรานเขาสู
ประเทศในยุคนั้นไมวาเปนโปรตุเกส ฮอลันดา และอังกฤษ ที่รุกรานในขณะนั้น ดวยเหตุนี้
พระพุทธศาสนาจึงถูกเบียดเบียน ชาวพทุ ธถูกกดขีข่ ม เหง อกี ทงั้ ถูกเรียกเก็บภาษีแพงๆ ชาว
พุทธทรี่ ับราชการจะมีช่อื แบบตางชาติ เชน เดวดิ เปน ตน

ดอน เดวิด เกิดมาในตระกูลที่นับถูกพระพุทธศาสนา พอแมของทานจึงอบรมส่ัง
สอนใหอยูในศีลในธรรม มีศรัทธาในพระพุทธศาสนาปฏิบัติตนตอพระรัตนตรัยดวยความ
เคารพ เด็กชายเดวิด จึงเติบโตมาทามกลางฝายธรรมะ ในขณะสังคมรอบขางไมเวนแมแตครู
อาจารยที่โรงเรียนก็มักพูดดูหมิ่นพระพุทธศาสนา บุคคลเหลานั้นพยายามพูดโนมนาวใหเขา
หันมานับถือศาสนาคริสต บางคร้ังอาจารยที่โรงเรียนของเดวิด ถึงกับกลาววา “ที่ฉันมาที่
ประเทศน้ี ไมใชเพื่อสอนภาษาอังกฤษใหเธอ แตมาเพื่อเปล่ียนศาสนาของเธอ” แตเด็กชาย
เดวิดก็ยังมั่นคงในพระพุทธศาสนาเชนเดิม เพราะการอบรมเล้ียงดูอยางดีในพระพุทธศาสนา
น่ันเอง บางครั้งเพราะความมั่นคงในพระพุทธศาสนาน้ีเอง เขาถึงกับตองถูกลงโทษจาก
อาจารยที่โรงเรียน เพยี งเพราะลาหยุดไปเพ่ือประกอบพิธีกุศลในวันวสิ าขบูชา

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๑๓๗

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟนฟูพระพทุ ธศาสนา

๔.๒.๒ ออกบรรพชา
ทานธรรมปาละ ไดตั้งใจไวต้ังแตตนวา หากทานจะตายขอตายในเพศบรรพชิต
ดังนั้น ทานจึงไดรับการบรรพชา (บวชเปนสามเณร) ท่ี วัดมูลคันธกุฎิวิหาร ซึ่งเปนวัดท่ี
สรางข้ึนในบริเวณหางจากสารนาถ ซึ่งเปนสถานที่แสดงปฐมเทศนาของพระพุทธองค ใน
วันท่ี ๑๓ กรกฎาคม ป พ.ศ. ๒๔๗๔ โดย มีพระโพธิรุกขมูเลเรวตะเถระ จากศรีลังกาเปน
อปุ ช ฌาย
ถึงบัดนี้ สุขภาพของทานธรรมปาละก็เร่ิมเจ็บหนักขึ้น เพราะการตรากตรํา
ทํางานหนักมากเกินไป แตทานก็ไดปรารถนาท่ีจะไดบวชเปนพระภิกษุใหได ณ วันท่ี ๑๑
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๔ ท่ีวัดมูลคันธกุฎิวิหารก็ไดทําพิธีเปดอยางเปนทางการ และมีการ
ผูกพัทธสีมาเปนวัดโดยสมบูรณ โดยคณะสงฆศรีลังกา สิ้นเงินการสรางวัดตลอดจนเงิน
คาจาง ชางชาวญ่ีปุน คือ โกเซทซุ โนสุ มาเขียนภาพฝาผนังพุทธประวัติ รวมท้ังหมด
๑๓๐,๐๐๐ รูป
วนั เปดมูลคันธกุฎิวิหาร มีชาวพุทธและขาราชการรัฐบาลอินเดียหลายทาน และ
ชาวพทุ ธจากตางประเทศมากมาย ไดมารวมงานกวาพันคน รัฐบาลอินเดียไดมอบพระบรม
สารีริกธาตุของพระพุทธเจา ใหกับผูแทนสมาคม ไดมีการนําพระธาตุข้ึนสูหลังชาง แหรอบ
พระวหิ ารสามรอบ แลว จึงนําขึ้นประดิษฐานยังยอดพระเจดียในพระวิหาร ทานธรรมปาละ
ไดกลาวปราศรัยในงานเปดวันนั้น ความตอนสุดทายที่นาประทับใจวา“...หลังจากที่
พระพุทธศาสนาไดถูกเนรเทศออกไปเปนเวลานานถึง ๘๐๐ ป ชาวพุทธทั้งหลายก็ได
กลับคนื มายังพทุ ธสถานอันเปน ที่รกั ของตนน้อี ีก ... เปน ความปรารถนาของสมาคมมหาโพธิ
ที่จะมอบพระธรรมคําสอนอันเปยมดวยพระมหากรุณาของพระพุทธองค ใหแกประชาชน
ชาวอินเดียทั้งมวล ไมเลือกชาติชั้นวรรณะ และลัทธินิกาย...ขาพเจาม่ันใจวาทานทั้งหลาย
จะพรอ มใจกนั เผยแผอารยธรรม (ธรรมอนั ประเสริฐ) ของพระตถาคตเจา ไปใหตลอดท่ัวท้ัง
อินเดยี ...”

๔.๓ การฟน ฟูพระพทุ ธศาสนา

ดอน เดวิด เหวะวิตารเน ตองหันเหชีวิตจากเดิมไปสูความเปนผูมีบทบาทอยาง
สงู ในการฟน ฟูพระพทุ ธศาสนาในอินเดีย โดยเร่ิมตนจากความมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา
เปนตนทุนบวกกันการมีโอกาสไดเขารวมฟงการโตวาทะธรรมที่เมืองปานะดุราเปนการ
โตวาทีเกี่ยวกับหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา และศาสนาคริสต ซึ่งมีพระมิเคตตุวัตเต
คุณานันทะ นักบวชในพระพุทธศาสนา ไดรับคําทาทาย จากนักบวชที่เรียกกันวา ศิษยาภิ
บาล ของศาสนาครสิ ต ใหมาโตวาทะธรรมกัน ซ่ึงฝายคริสตเห็นทานคุณานันทะเปนศัตรูตัว

๑๓๘ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน
บทท่ี ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟนฟพู ระพุทธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ฉกาจ เพราะเวลาท่ีนักสอนศาสนาไปดาวารายพระพุทธศาสนาท่ีไหน พระคุณานันทะ ก็
มักจะไปโตว าทะ แกขอกลาวหาในท่ีนั้นดวยเหตุนี้ทานคุณานันทะน้ีจึงเปนวีรบุรุษในดวงใจ
ของเด็กชายเดวิด (ทานธรรมปาละ) มาโดยตลอดและเม่ือการโตวาทะธรรมครั้งสุดทาย ท่ี
เมืองปานะดุรา ระหวางทานคุณานันทะและศิษยาภิบาลเดวิด เดอสิลวา ปรากฏวา ฝาย
พระพุทธศาสนา คือทานคุณานนั ทะไดรับชัยชนะ ฝายศาสนาคริสตก็เริ่มเข็ดขยาดถึงขนาด
ไมก ลาตอขานวารายพระพุทธศาสนาในทสี่ าธารณะอีกเลยยิง่ ทําใหเด็กชายเดวิดศรัทธามาก
ข้ึน ผลการโตวาทะเกี่ยวกับหลักธรรมคร้ังสุดทายน้ี ไดมีผูแปลการโตวาทะเปน
ภาษาตางประเทศ ก็ปรากฏมีชาวตางประเทศสองทาน เกิดไดอานและมีความศรัทธาใน
ความมีเหตุผลของหลักธรรมในพระพุทธศาสนา จึงไดเดินทางมายังศรีลังกา สองทานนี้คือ
พันเอก เฮนรี่ สตลี โอลคอตต และ มาดาม เอช.พี. บลาวัตสกี ท้ังสองทานไดมาปฏิญาณตน
เปนพุทธมามกะ ท่ีเมืองกอลล ทางภาคใตของศรีลังกา และเด็กชายเดวิด ไดมีโอกาสทํา
ความรูจักกับท้ังสองทานน้ีดวย ตอมาทั้งสองทาน ไดตั้งสมาคม ที่ดําเนินงานดานศาสน
สัมพันธ (โดยสวนใหญดําเนินการเก่ียวกับเรื่องทางพระพุทธศาสนา) คือ สมาคมธีออสโซฟ
ตั้งสาขาขึ้นที่อัทยาใกลๆ กับเมืองมัทราสทางตอนใตของอินเดียทางดานชายหนุม เดวิดซึ่ง
ตอนน้ีหัวใจของเขาเต็มไปดวยความมุงม่ันที่จะทํางานเพื่อพระพุทธศาสนา กอนหนาที่เขา
จะเดินทางมาท่ีพุทธคยาน้ัน เขาไดอานบทความของทานเซอรเอดวินด อาโนลด (Sir
Edwin Arnold) ผเู รยี บเรียงหนงั สือพุทธประวัติภาษาอังกฤษ ที่มีช่ือเสียงโดงดัง และกลาว
กันวา เปนพุทธประวัติฉบบั ภาษาองั กฤษ ท่ีมีความไพเราะ และนาเล่ือมใสมาก คือ ประทีบ
แหง ทวีปเอเซีย (The Light of Asia) ซ่ึงทานเซอร ไดเดินทางไปท่ีพุทธคยา ไดพบกับความ
นาเศรา สลดใจหลายประการ๑ ทานไดเขียนบทความไวตอนหน่ึงวา (แปลจากภาษาอังกฤษ)
ในความเปนจริง ไมมีขอกังขาสงสัยใดๆ ในความเปนจริงของสถานที่สังเวชนียสถาน ๔
ตําบลของชาวพุทธ คือ กบิลพัสดุ (ปจจุบัน Bhuila) ซ่ึงเจาชายสิทธัตถะประสูติ, ปาอิสิปต
นะ ภายนอกเมืองพาราณสี ซ่ึงพระพุทธองคไดแสดงธรรมเทศนา กุสินารา ที่พระองคได
ปรินิพพาน และสถานที่ตรัสรูซึ่งมี ตนโพธิ์เปนเครื่องหมาย ในวันเพ็ญเดือน ๖ เม่ือ ๒๘๓๘
ป บรรดาสงั เวชนียสถาน ๔ ตําบล ตนพระศรมี หาโพธ์ิท่ีพุทธคยา คือส่ิงท่ีมีคาและศักด์ิสิทธิ์
ของชาวพุทธทั่วท้ังเอเชีย ปจจุบันตกอยูในมือของนักบวชพราหมณ ผูไมไดดูแลวัดเลย
นอกจากวาจะถือเอาเปนกรรมสิทธิ์เทาน้ัน และพวกเขาไดตักตวงเอาผลประโยชน เปน
อยางมากความจริงในเร่ืองนี้ ตั้งแตพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ กลาวคือ ๑๔๐๐ ปมาแลว สถานท่ี
แหงนี้เปนสถานที่พิเศษสุดและชาวพุทธรักษาไว แตไดทรุดโทรมลงและถูกปลอยปละ

๑ พระมหาดาวสยาม วชิรปญโญ,ดร. , เยือนอินเดีย ตามรอยอารยธรรมพุทธ, (มปพ:
บริษัท เดล็ดไทย จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๕๗.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั ๑๓๙

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา

ละเลย เหมอื นกับวัดพุทธศาสนาแหงอื่น ๆ จากการอันตรธานสูญหายของพุทธศาสนาจาก
อินเดีย ๓๐๐ ปตอมา นักบวชศาสนาพราหมณที่ นับถือพระศิวะมาถึงท่ีน้ี และตั้งหลักปก
ฐาน ณ ที่ตรงน้ี ไดเร่ิมครอบครองส่ิงท่ีอยูรอบ ๆ ซ่ึงไดเห็นและกอตั้งโรงเรียนสอนศาสนา
ข้ึนมา พวกเขามีกําลังมากจึงเขายึดครองเปนเจาของวัดพุทธคยา ซึ่งรัฐบาลเบงกอลไดเขา
มาบูรณะและพ้ืนที่รอบพุทธคยา ในป พ.ศ. ๒๔๒๓ (ค.ศ. ๑๘๘๐) และไดขอสวนหนึ่งของ
รว้ั เสาหนิ สมัยพระเจาอโศก จากพวกมหนั ต ซง่ึ พวกเขาไดนําไปสรางบาน เพ่ือนํากลับมาต้ัง
ไว ณ ท่ีเดิม แตพวกมหันตไมไดคืนมา และทานเซอร อาชเลย เอเดน (Sir Ashley
Eden) ก็ไมส ามารถผลกั ดนั การบูรณะใหแลว เสรจ็ ได

ชาวพุทธทั่วโลกไดลืมคืนที่ดีและสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเปนศูนยกลางที่ยิ่งใหญของ
ศรัทธา ดังเชน นครเมกกะ และเยรูซาเลม (Mecca and Jeruzaiem) เปนศูนยกลาง
ศรัทธาของผูศรัทธานับลานคน เม่ือปสองปที่ผานมาขาพเจาไดพักท่ีโรงแรมที่พุทธคยา
ขาพเจารูสึกเศราใจท่ีเห็นเคร่ืองบูชา สารท (Shraddh) ของพวกฮินดูในสถานท่ีศักดิ์สิทธ์ิ
เชนน้ี และวัตถุโบราณที่มีคาจํานวนมากหลายพันชิ้น ซ่ึงจารึกดวยภาษาสันสกฤตไดถูกท้ิง
จมอยูในดิน ขาพเจาไดถามนักบวชฮินดูวา “ขาพเจาจะขอใบโพธ์ิจากตนพระศรีมหาโพธิ์ที่
ศักด์ิสิทธ์ิไดหรือไม” นักบวชฮินดูไดบอกกับขาพเจาวา “เจานาย จงหักเอาเทาที่คุณชอบ
มันไมมีคาอะไรสําหรับเรา” น้ีเปนคําตอบจากพวกเขาไมมีความละอายจากอาการท่ีพวก
เขาไมส นใจใยดี ขาพเจาเก็บใบโพธิ์ ๓-๔ ใบอยางเงียบ ๆ ซึ่งพวกมหันตไดหักมาจากกิ่งบน
หัวของพวกเขา และขาพเจาไดนําใบโพธ์ิไปยังศรีลังกา เม่ือไดคัดลอกจารึกท่ีเปนภาษา
สนั สกฤต ท่ีน้นั (ศรีลังกา) ขา พเจาไดพบวา ใบโพธเิ์ ปนสง่ิ มีคา สําหรับชาวพุทธที่ศรีลังกา ซึ่ง
ตอนรับดวยความกระตือรือรนและศรัทธา ใบโพธิ์ท่ีขาพเจาถวาย ไดถูกนําไปท่ีเมืองแคนดี้
และไดใสไวในผอบที่มีคาและไดรับการบูชาทุกๆ วัน”๒ และอีกตอนหนึ่งท่ีทานเซอรอาร
โนลดเขียนถึงพวกมหันตที่พุทธคยา มีดังตอไปนี้ “แต ๒-๓ ปผานไป ในขณะท่ีความคิดไป
แผขยายไปท่ัวเอเชีย และสมาคมอยางมากมายไดกอตั้งข้ึน ดวยจุดประสงคพิเศษ เพ่ือ
เรยี กรองดินแดนศักด์ิสทิ ธิ์คนื มา พวกมหันตไ ดเ รียกรองเอาทรัพยสินมากเกินไป และเขายึด
ครองวัดมากขึ้นทุกที จดหมายที่ขาพเจาไดรับจากทางตะวันออก แสดงวา พวกรัฐบาลได
นกึ ถึงคาํ ขขู องพวกพราหมณและผูบริหารทองถิ่น ไดม ที าทีเปล่ยี นไปในการเจรจา

ขา พเจา คดิ วา พวกมหันตเปนคนดี ขา พเจาไมไดปรารถนาอยางน้ีมากอนเลย แต
มติ รภาพและความพอใจท่ีพวกเขามีให ถาคุณเดินเขาไปในสถานที่ซ่ึงผูคนท่ีศรัทธานับลาน

๒ พระราชธรรมมุนี (เกียรติ สุกิตฺติ), จดหมายเลาเร่ืองอนาคาริกธรรมปาละ,
(กรุงเทพมหานคร: มปป, ๒๕๔๓), หนา ๓๔.

๑๔๐ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั
บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟูพระพุทธศาสนา พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

เลื่อมใสศรัทธาอยู คุณอาจสังเกตเห็นส่ิงที่นาอดสูและระทมใจในสวนมะมวง ดาน
ตะวันออกของแมน้ํา ลิลาจัน (Lilajan) พระพุทธรูปสมัยโบราณไดถูกนํามาติดไวท่ีคลอง
ชลประทานใกลกับหมูบานมุจลินท คือ สระมุจลินท และไดเห็น พระพุทธรูปใชเปน
ฐานรองรับบนั ไดทที่ า ตกั นาํ้

ขาพเจาไดพบชาวนาในหมูบานรอบๆ วิหารพุทธคยา พวกเขาใชแผนสลักท่ีมี
ความงดงามจากวิหาร มาทําเปนขนั้ บนั ไดของพวกเขา ขาพเจาไดพบภาพสลักสูง ๓ ฟุต ซึ่ง
มีสภาพดีเยี่ยม จมอยูใตกองขยะดานตะวันออกของวังมหันต อีกสวนหนึ่ง ติดอยูกับผนัง
ดานตะวันออกของสวนมะมวงริมแมน้ํา และร้ัวเสาหินพระเจาอโศกซึ่งเปนสิ่งท่ีมีคาสูงสุด
ของอินเดีย ซึ่งลอ มวิหาร แตปจจุบันกลายเปนสวนหนึ่งของหองครัวพวกมหันต”น้ีเปนสวน
หน่ึงของบทความท่ีทานเซอร เอ็ดวินอารโนลดไดตีแพรออกไปสูสาธารณะจนเปนเหตุให
ชาวพุทธตองทางเดินทางมาเพื่อพิสูจนความจริง หนึ่งในนั้นก็คือชายหนุม ดอน เดวิด ผูท่ี
เปนชาวพุทธผูมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาตองการพิสูจนใหเห็นจริงดวยตัวเองแตใน
ขณะนั้นดูเมอื อาโอกาสยังไมอํานาจเทา ทค่ี วร

ราว พ.ศ. ๒๔๒๗ ขณะน้ันชายหนุม ดอน เดลิด ไดมีอายุครบ ๒๐ ปพอดี เขาได
ขอรองบิดามารดาเพ่ือที่จะเดินทางไปรวมงานของ สมาคมธีออสโซฟ อัทยา ซ่ึงเขาก็ไดไป
ตามความปรารถนา ท่ีนั่นชายหนุม ดอน เดวิด ก็ไดศึกษาพระพุทธศาสนา และภาษาบาลี
เพิ่มมากข้ึน ตามคําแนะนําชวยเหลือของนางบลาวัตสกีตอมานางบลาวัตสกี ถูกพวกคณะ
เผยแผศาสนาคริสตในอินเดียใสรายปายสีตางๆ นานา เพราะการที่มีสมาคมธีออสโซฟ
ทาํ งานเพือ่ พระพุทธศาสนา และมีพันเอกโอลคอตต และนางบลาวัตสกอี ยู ทําใหการเผยแผ
ศาสนาครสิ ตไ มไ ดผลเทา ที่ควร ทําใหนางบลาวตั สกีตองเดนิ ทางกลับยโุ รป

ถงึ ขณะนัน้ ดอน เดวดิ เววาวติ ารเน ก็จําเปนตองอยูที่สมาคมธีออสโซฟตอไป ได
เขยี นจดหมาย ถึงพอแมและญาติ ๆ ท่ีศรีลังกาวาขอประกาศสละงานบานเรือนเพื่อถือเพศ
เปนอนาคาริกเปนผูถือพรหมจรรย (ถึงตอนน้ี แสดงวา ชายหนุมดอน เดวิด ไดช่ือวา เปน
อนาคาริก ธรรมปาละ อยางสมบรู ณแลว) และขอทํางานท่ีสมาคมธีออสโซฟตอไปอีกสักพัก
ทางฝายบิดา ก็ทัดทานอยูบาง กลาววา หากลูกชายคนโตทิ้งบานเรือนไปแลวใครจะดูแล
นองๆ ดอน เดวิด ไดตอบบิดาดวยหัวใจท่ีเด็ดเด่ียวอันเปนปกตินิสัยของเขาวา “ทุกคนมี
กรรมเปนของตน และกรรมน่ันแหละ จะดูแลรักษาพวกเขาเอง” ทางฝายมารดาเองก็มี
ศรัทธาและปรารถนาที่จะเห็นบุตรของตนเปนเชนนี้อยูเปนทุนเดิมอยูแลว ไดใหศีลใหพร
และบอกวา ไมตองเปนหวงทางบาน หากตัวของมารดาเองไมมีภาระที่ตองดูแลลูก ๆ ของ
ทานอีกสองคน เธอเองกค็ งจะไดร ว มดว ยในชวี ิตใหมข องทานธรรมปาละเปน แน

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน ๑๔๑

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา

ตอมา ในป พ.ศ. ๒๔๒๙ ขณะน้ันทานธรรมปาละกําลังทํางานรับราชการเปน
เสมียน ช้ันผูนอยในกรมศึกษาธิการในกรุงโคลัมโบอยูและไดสอบเล่ือนชั้นในตําแหนงท่ีสูง
กวา ในชว งนน้ั พันเอกโอลคอตตและเพอ่ื นตอ งการท่จี ะเดินทางจาริกท่ัวศรีลังกา เพ่ือพบปะ
พน่ี องชาวพุทธและทานตองการลา ม ทานธรรมปาละอาสาจะเปนลาม เพราะในตอนนั้นกิจ
อื่นของทานธรรมปาละที่จะทํานอกจากพระพุทธศาสนาไมมอี กี แลว ทานไดขอย่ืนใบลาออก
จากราชการ โดยใหเหตุผลวา “เพ่ือทํางานเพ่ือพระพุทธศาสนา” และทานไดพบปะชาว
พุทธมากมาย ทําใหทราบปญหาความเดือดรอนท่ีถูกกดขี่ ท้ังดานการศาสนา และการ
ทํางาน หรืออื่นๆ ซ่ึงเร่ืองชวยเหลือและหาโอกาสหรือหาแนวทางในการสรางความเสมอ
ภาคใหก ับคนทถ่ี กู กดขข่ี มเหงในทางสงั คมน้นั ในประเทศศรีลังกามีมากมาย เชน การทําใหมี
การต้ังโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาวันอาทิตยและโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษดาน
พระพทุ ธศาสนา ซึ่งตอ มากลายเปนวทิ ยาลัยทม่ี ชี อื่ เสยี ง คอื อานันทะคอลเลจ

ป พ.ศ. ๒๔๓๒ พนั เอก เฮนรี่ สตีลโอลคอตต ไดเดินทางไปยังประเทศญ่ีปุน เพ่ือ
พบปะกับชาวพุทธท่ีน่ัน และทานไดพาพระภิกษุจากประเทศญี่ปุน ท่ีปรารถนาจะมาศึกษา
พระพุทธศาสนาเถรวาท ที่ศรีลังกามาดวย ซึ่งไดรับการตอนรับจากชาวศรีลังกาอยาง
เอิกเกรกิ

ป พ.ศ. ๒๔๓๔ พันเอกโอลคอตตเดินทางมายังประเทศพมา เพื่อพบปะชาวพุทธ
ทพ่ี มา และหารือเกี่ยวกับงานฟนฟูพระพุทธศาสนา ในขณะนั้นทานธรรมปาละ ไดเดินทาง
มายังอินเดียเพื่อนมัสการพุทธสถาน และสังเวชนียสถานที่อินเดีย โดยเดินทางมากับ
พระภกิ ษุชาวญีป่ ุน คือพระโกเซน คุณรัตนะ โดยเดินทางมายังอัทยา จากอัทยาไปบอมเบย
จากบอมเบยไปท่ีสารนาถ ซึ่งเปนสถานท่ีแสดงปฐมเทศนาของพระพุทธเจา สมัยพุทธกาล
เรยี กวา ปา อิสิปตนมฤคทายวนั และจากสารนาถ เดินทางไปยังพุทธคยา สถานที่ตรัสรูของ
พระพุทธองค ทานธรรมปาละไดบันทึกเหตุการณตอนนี้ไวเองวาวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๔๓๔
เมื่อครั้งเดินทางมาพุทธคยา “หลังจากขับรถออกมาจากคยา ๖ ไมล (ประมาณ ๑๐ กม.)
พวกเราไดม าถงึ สถานท่ีศักด์ิสิทธิ์ ภายในระยะทาง ๑ ไมล ทานสามารถเห็นซากปรักหักพัง
และภาพสลักท่ีเสียหายเปนจํานวนมาก ที่ประตู ทางเขาวัดของพวกมหันต ตรงหนามุขท้ัง
สองดา น มีพระพุทธรูปปางสมาธิและปฐมเทศนาติดอยู จะแกะออกไดอยางไร พระวิหารท่ี
ศักด์ิสิทธิ์ พระพุทธรูปประดิษฐานอยูบนบัลลังก งดงามมาก ซึ่งแผไปในใจของ
พุทธศาสนิกชนสามารถทําใหหยุดนิ่งได ชางอัศจรรยจริงๆ ทันใดน้ันเอง ขาพเจาไดมา
นมัสการพระพุทธรูป ชางนาปลื้มอะไรเชนนี้ เม่ือขาพเจาจดหนาผาก ณ แทนวัชราอาสน
แรงกระตนุ อยา งฉับพลนั ก็เกดิ ข้ึนในใจ แรงกระตนุ ดังกลาวนั้นกระตุนใหขาพเจาหยุดอยูท่ีน่ี
และ ดแู ลรกั ษาพุทธสถานอนั ศักดสิ์ ิทธ์ิ อนั เปนสถานท่ีตง้ั แหง ตนพระศรมี หาโพธ์ิ ซ่ึงเจาชาย

๑๔๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบนั
บทท่ี ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟนฟูพระพทุ ธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ศากยะสิงหะ (พระสิทธัตถะ) ไดประทับตรัสรูและเปนสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์อยางไมมีท่ีแหง
ใดในโลกมาเทียมเทาน้ี (As soon as I touched with my forehead the Vajrasana a
sudden impulse came to my mind to stop here and take care of this sacred
spot, so sacred that nothing in the world is equal to this place where Prince
SakyaSinha attained enlightenment under the Bodhi Tree) เม่ือมีแรงบันดาลใจ
ขาพเจาถามทานโกเซน คุรุรัตนะ วา ทานจะรวมมือกับขาพเจาหรือไมและทานไดตอบตก
ลงอยางเต็มใจและมากไปกวาน้ันทานเองก็มีความคิด เชนเดียวกัน เราทั้งสองสัญญากัน
อยา งลกู ผชู ายวา พวกเราจะพกั อยูทีน่ ้ี จนกระทัง่ มีพระสงฆบางรปู มาดูแล สถานทแ่ี หงน”้ี

ทานธรรมปาละและพระโกเซน ไดพักอยูที่พุทธคยาช่ัวคราว ที่ศาลาพักของพมา
ซ่ึงคณะทูตของพระเจามินดงมิน ไดสราง ไวเปนท่ีพัก เรียกเสียงายๆ วา วัดพมา จากนั้น
ทานธรรมปาละกเ็ ริม่ งานของทา น โดยการเขียนจดหมายบอกเลาสภาพของพุทธคยา สงไป
ยังบุคลคลแทบทุกวงการของพมา ลังกา อินเดีย และเรียกรอง ชักชวนใหรวมมือกัน เพ่ือ
งานฟนฟูพระพุทธศาสนา และพุทธสถานการฟนฟูพระพุทธศาสนาจึงเริ่มข้ึนขณะทานได
ทุมเทชวี ิตท่ีเหลอื อยูทั้งหมดใหกบั การฟน ฟูพระพทุ ธสถานทีพ่ ุทธคยานี้เอง

๔.๔ การกอต้ังสมาคมมหาโพธิ์

ทานไดติดตอกับเจาหนาท่ีของจังหวัดคยาเพื่อจุดประสงคท่ีจะฟนฟูพุทธคยา
ไดรบั การช้แี จง วา พระวิหารมหาโพธิพรอ มกับ รายไดทเี่ กิดข้นึ น้นั ตอนน้ีกลายเปนของพวก
มหันต แตวาดวยความชวยเหลือของรัฐบาลก็อาจมีทางเปนไปไดท่ีจะขอซื้อพระวิหารและ
บริเวณดังกลาวจากพวกมหันต (นาแปลกอยูเหมือนกัน ท่ีวาเราตองขอซื้อ ขอมีกรรมสิทธิ์
ในพ้ืนท่ีที่ควรจะเปนของพวกเราชาวพุทธเอง)

ทา นธรรมปาละไดเดินทางกลบั มายงั โคลมั โบ เพ่ือท่ีจะไปจัดต้ังพุทธสมาคมขึ้นมา
ใหเปนองคกรในการดําเนินการในการเรียกรองพุทธคยาใหกลับคืนมาเปนของชาวพุทธ
อยางจริงจัง พอวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ก็ไดกอตั้งพุทธสมาคมในชื่อวา “พุทธ
คยามหาโพธิโซไซเอตี้” ก็ไดรับการตั้งขึ้น ณ กรุงโคลัมโบ ประเทศลังกา มีทานประธาน
นายก เอช. สุมังคลมหาเถระ เปนนายกสมาคม พันเอกโอลคอตตเปนผูอํานวยการ ทาน
ธัมมปาละเปนเลขาธิการ นอกน้ีก็มีผูแทนจากประเทศและกลุมชาวพุทธตางๆ เขารวม ใน
การกอตั้งดวย โดยเฉพาะอยางย่ิง มีผูแทนจากประเทศไทยของเราเขารวมดวย คือ พระ
เจาวรวงศเธอพระองคเจา จันทรทัตจุฑาธร (His Royal Highness Prince
ChandradatChudhadharn) ชื่อของสมาคมนี้ ตอมาไดตัดคําวา พุทธคยาออก คงไวแต
มหาโพธิโซไซเอต้ี ดังปรากฏในปจ จุบัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน ๑๔๓

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา

จุดประสงคข องสมาคมมหาโพธิ ท่ไี ดจ ดั ต้ังขนึ้ ในคราวน้ัน คอื
๑. เพ่ือสรางวัดพระพุทธศาสนาและกอตั้งพุทธวิทยาลัย กับสงคณะพระภิกษุซ่ึง
เปนผูแทนของประเทศพระพุทธศาสนา คือ จีน ญี่ปุน ไทย เขมร พมา ลังกา จิตตะกอง
เนปาล ธิเบต และอารกนั ไปประจาํ อยู ณ พทุ ธคยา
๒. เพื่อจัดพิมพวรรณคดีพระพุทธศาสนาข้ึนในภาษาอังกฤษ และภาษาทองถิ่น
ของอนิ เดีย
หลังจากนั้น ในวันอาสาฬหปุรณมี ทานอนาคาริกธรรมปาละไดกลับไปยังพุทธค
ยา พรอมกับพระภิกษุชาวลังกาอีก ๔ รูป ท่ีพรอมจะมารวมดวยกับทาน การขอมติในการ
สรา งท่พี กั ในเขตพุทธคยาในครั้งน้ีทานไดขอติดตอกับพวกมหันตอยางยากลําบาก ขณะนั้น
เปนยุคของเหมนารยนั คี มหันตไ ดมีมติใหท านเชาที่แปลงเล็กๆ สวนหน่ึงในพุทธคยาเพ่ือทํา
เปนท่ีพกั ตอมาในเดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ทานธัมมปาละไดจัดใหมีการประชุมชาวพุทธ
ระหวางชาตขิ ้ึนท่ีพทุ ธคยา โดยมีผแู ทนชาวพทุ ธจากลงั กา จนี ญป่ี นุ และจิตตะกอง เขารวม
ประชุม ซึ่งไดมีการประชุมกันในวันท่ี ๓๑ ของเดือนตุลาคม ผูแทนจากญี่ปุนกลาววา ชาว
พุทธญี่ปุนยินดีที่จะสละทรัพย เพ่ือขอซื้อพุทธคยาคืนจากพวกมหันต คํากลาวนี้เปนท่ี
อนุโมทนาในที่ประชุมอยางมาก ทานธัมมปาละไดใหมีการประดับ ธงชาติญ่ีปุนไวขางๆ ธง
พระพุทธศาสนาเพื่อเปนเกียรติแกชาวพุทธญ่ีปุน แตกลับไมเปนผลดี อยางที่คิด เมื่อ
ขาหลวง เบงกอล เดินทางมาถัดจากวันที่มีการประชุม เพ่ือจะมาเยี่ยมชมพุทธคยา แตเม่ือ
เห็นธงชาติญ่ีปุน ก็เกิดระแวงข้ึนมาทันที เพราะขณะน้ันอังกฤษท่ีปกครองอินเดีย ยังวิตก
กับทาทีทางการเมืองของญี่ปุนอยู ทําใหขาหลวงเบงกอล เดินทางกลับทันที และปฏิเสธท่ี
จะพบกับผูแทนชาวพทุ ธอยางไมมขี อ แม และยงั บอกผานเจาหนาท่ี ไปยังทานธัมมปาละอีก
วา พุทธคยาเปนของพวกมหันต รัฐบาลจึงไมประสงคจะไปยุงเกี่ยวใดๆ กับเรื่องนี้ ในการ
น้ันชาวพุทธ ไดเรียกรองพุทธคยาใหกลับมาเปนสมบัติของชาวพุทธเหมือนเดิมดูเหมือน
กลับมือมนตอ ไปมากข้นึ กวาเดิมดว ยซาํ้
หลังจากน้ัน ในป พ.ศ. ๒๔๓๕ สมาคมมหาโพธิ ก็ไดยายจากโคลัมโบมาอยูที่
กลั กัตตา ทอ่ี ินเดยี และไดอ อกวารสารสมาคมมหาโพธิ (Mahabodhi Review) ซ่ึงยังคงอยู
จนปจจุบันน้ี ถึง ๑๑๑ ป แลว และเปนวารสารท่ีโดงดังในทั้งตะวันออก และตะวันตก
ในชวงแรกๆ วากันวาทานธรรมปาละและทีมงานตองอดม้ือกินม้ือเพื่อนําเงินไปซื้อแสตมป
มาสง หนังสอื กันทเี ดียว

๑๔๔ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน
บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟูพระพทุ ธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๔.๕ พระมหาเจดยี พ ทุ ธคยากับพราหมณม หนั ต

มหาเจดยี พุทธคยา อันเปนอนุสรณสถานระลึกถึงการตรัสรูของพระพุทธองคน้ัน
มีการสรางพระมหาเจดียมาตั้งแตสมัยพระเจาอโศกมหาราชและสรางเติมตอๆ มาโดย
กษัตริยช าวพทุ ธในอนิ เดีย พระองคต อๆ มา จนกระท่ังเม่ือกองทัพมุสลิม ไดบุกเขามาโจมตี
อินเดีย พุทธคยาก็ถูกปลอยใหรกรางไมมีผูคอยเฝาดูแลราวป พ.ศ. ๒๑๓๓ นักบวชฮินดูรูป
หน่ึง ชื่อ โคเสนฆมัณฑิคีร ไดเดินทางมาถึงที่พุทธคยาเกิดชอบใจในทําเลนี้จึงไดตั้งสํานัก
เล็กๆ ใกลๆ กับพระมหาเจดียพุทธคยา พออยูไปนานๆ ก็คลายๆ กับเปนเจาของท่ีไปโดย
ปริยาย ส่ิงท่ีนาสังเกตก็คือพวกมหันตโดยสวนมากแลวก็จะเปนนักธุรกิจการคาที่มาในรูป
นกั บวชฮินดูเสียสวนมาก กลาวกนั วา เปน พวกทีต่ ิดอนั ดบั มหาเศรษฐี ๑ ใน ๕ ของรัฐพิหาร
ผูนําของมหันตปจจุบันก็มีการสืบทอดมาตั้งแต โคเสณฆมัณฑิคีร ตอนน้ีเปนองคที่ ๑๕ จะ
เหน็ ไดว า การท่ีพวกมหันตมาครอบครองพุทธคยาน้ัน ก็ไมไดดูแลพุทธคยาแตอยางไรทั้งสิ้น
เพียงใชพน้ื ท่ีเพ่ือหาประโยชนเทาน้นั เอง

ป พ.ศ. ๒๔๑๗ พระเจามินดงมิน แหงพมา ไดสงคณะทูตมายังอินเดีย เพ่ือขอ
บูรณะปฏิสังขรณพระวิหารและจัดการบางประการเพื่อดูแลรักษาพุทธสถานแหงนี้ เม่ือ
ไดรับความยินยอมจากพวกมหันตและรัฐบาลอินเดีย จึงไดเริ่มทําการบูรณะ ทางรัฐบาล
อินเดียไดสงเซอรอเล็กซานเดอร คันนิ่งแฮม กับ ดร. ราเชนทรลาล มิตระ เขาเปนผูดูแล
กํากับการบูรณะ หลังจากน้ันคณะผูแทนจากพมาจําเปนตองเดินทางกลับ ทางรัฐบาล
อินเดียจึงรับงานบูรณะทั้งหมดมาทําแทนและเสร็จสมบูรณ ในป พ.ศ. ๒๔๒๗ ดังที่เห็นใน
ปจจุบัน

๔.๖ อุปสรรคจากพวกมหนั ต

วนั ที่ ๔ กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๔๓๖ ทา นธรรมปาละ และพันเอกโอลคอตต เดินทาง
จากศรีลังกามาที่พุทธคยา ก็ไดรับขาวทันท่ีวา พระภิกษุท่ีจําพรรษาประจําอยูที่พุทธคยา
ขณะกําลังน่ังสนทนาธรรมกันอยางสงบในท่ีพักวัดพมา ก็ถูกพวกมหันตยกพวกมารุมทุบตี
รปู หนึ่งอาการสาหสั ตองเขาพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล พันเอกโอลคอตตเขาพบมหันตทันที
เพ่ือเจรจาและขอเหตุผลกับเร่ืองที่เกิดขึ้น ปรากฏวาพวกมหันตไมยอมรับการเจรจาใดๆ
และยังปฏิเสธไมยอมขายท่ี ไมยอมใหเชา ไมวาจะดวยกรณีใดๆ ไมยอมใหสรางแมแตท่ีพัก
สาํ หรบั ชาวพทุ ธผูม าแสวงบุญ เปนอันวาเรอื่ งของพุทธคยาก็ยังตกอยูในภาวะยุงยากลําบาก
เชน เคย

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั ๑๔๕

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา

ในเดือนกนั ยายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ทานธรรมปาละไดรับเชิญในฐานะผูแทนชาวพุทธ
ใหเขารวมการประชุมสภาศาสนา (Parliament religion) ท่ีเมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา
การทีท่ า นธรรมปาละไดเดนิ ทางไปครั้งน้ี นบั วา เกิดผลอยา งมากตอ พระพทุ ธศาสนา และตอ
ศาสนาท้งั หลาย ทา นธรรมปาละไดก ลาวปราศรัยในหลายๆ เร่ือง ทําใหที่ประชุมรูสึกท่ึง ใน
คําสอนของ พระพุทธศาสนา ถึงกับมีนักการศาสนา และปรัชญาทานหน่ึง คือ มิสเตอร ซี.
ท.ี เสตราส ประกาศปฏิญาณตนเปนพุทธมามะกะ นับถือพระพุทธศาสนา ทานธรรมปาละ
จึงไดจัดใหมีการปฏิญาณตนเปนพุทธมามะกะที่สมาคมธีออสโซฟ แหงชิคาโก นับวาเปน
อุบาสกคนแรก ในประเทศอเมริกาทีเดียวเม่ือทานธรรมปาละ เดินทางกลับจากการประชุม
สภาศาสนาครั้งนี้ ทานไดผาน ฮอนโนลูลู และสมาชิกสมาคมธีออสโซฟ แหงฮอนโนลูลู
ไดมาตอนรับทาน ซึ่งทานไดพบกับ นางแมรี่ มิกาฮาลา ฟอสเตอร นางเปนเชื้อสาย เจาผู
ครองฮาวาย นางเปน คนโทสจรติ มอี ารมณขนุ มวั เสมอ มักทําใหท้ังเธอ และคนรอบขางเกิด
ความเดือดรอน จะเอาหลักศาสนาไหนๆ มาปฏิบัติก็ไมหาย ไดมาปรึกษาทานธรรมปาละ
ทานธรรมปาละจึงแนะนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอยางงายๆ ใหเธอนําไปปฏิบัติ
ปรากฏวา เธอนําไปปฏิบัติไดไมนานก็หายจากอาการเจาโทสะ อารมณราย เธอจึงเล่ือมใส
ในพระพุทธศาสนา และทานธรรมปาละมาก นางแมร่ี ฟอสเตอรนี่เอง ท่ีเปนผูอุปถัมภทาน
ธรรมปาละ ดานทุนทรัพยในการฟนฟูพุทธคยา ดวยจํานวนเงินรวมๆแลวกวาลานรูป มีคน
ถึงกับขนานนามเธอวา “วิสาขาที่ ๒” ทีเดียว หลังจากนั้นทานไดเดินทางผานประเทศ
ญี่ปุน จีน ไทย สิงคโปร และศรีลังกา เพื่อพบปะกับผูนําฝายศาสนาและบานเมืองขอความ
รว มมอื ดานกิจกรรมฟนฟูพระพุทธศาสนา ที่ทานกําลังทําอยู ที่เมืองไทยเราทานไดเฝากรม
หมื่นเทววงศวโรปการ ซ่ึงทรงเปนเสนาบดี กระทรวงการตางประเทศในขณะนั้นและพบกับ
เจานายอกี หลายพระองค ทา นอยูในเมอื งไทย ๓ อาทติ ย จงึ เดนิ ทางกลบั

หลังจากน้ันทานไดเดินทางมาอีก เพื่อมาขอรับสวนแบงพระบรมธาตุซึ่งพระ
จลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว ไดร ับทลู ถวายจากรัฐบาลอินเดยี ซง่ึ เปนสวนพระบรมธาตุที่ขุดไดจาก
บริเวณกรุงกบิลพัสดุแถบเนปาล พระองคทรงประกาศไปยังประเทศพระพุทธศาสนาอื่นๆ
วาพระองคท รงยินดีจะแบง พระบรมธาตุใหกับชาวพุทธในประเทศอ่ืนๆ ทานธรรมปาละ
ไดเ ดนิ ทางมาขอรบั พระราชทานสว นแบงพระบรมธาตุ ในฐานะตวั แทนชาวพุทธศรีลังกา ใน
ป พ.ศ. ๒๔๔๓

หลังจากนั้นทานไดเดินทางผานประเทศญ่ีปุน ไดรับพระพุทธรูปเกาแกถึง ๗๐๐
ป จากชาวพุทธญ่ีปุน ซึ่งมีความประสงคจะขอใหทานนําพระพุทธรูปน้ีไปประดิษฐานที่
พุทธคยาดว ย ตอมาทา นธรรมปาละก็ไดเดนิ ทางกลับมายังอินเดีย ท้ังไดติดตอกับผูมีอํานาจ
ในการปกครองและผดู แู ลพุทธคยาในขณะเพ่ือขอนําพระพุทธรูปท่ีไดรับมาจากชาวญี่ปุนมา

๑๔๖ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน
บทท่ี ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ประดิษฐานยังพุทธคยา ซ่ึงไมตองบอกก็รูวา พวกมหันตไมยอมอยางแนนอน ทางมิสเตอร
แมคเฟอรสัน เจาหนาท่ีฝายปกครองของอังกฤษประจําพุทธคยา ไดขอใหทานธรรมปาละ
ลองหาเสียงสนับสนุนจากชาวฮินดูท่ัวๆ ไปกอน แตทานก็ไดรับคําตอบจากพราหมณช้ัน
บัณฑิตท่ีพาราณสีอยางขางๆคูๆ วาพระพุทธเจาเปนปางหน่ึงของพระนารายณ ดังน้ันพระ
วหิ ารพทุ ธคยาจึงเปน ของฮินดู ชาวพทุ ธไมมีสิทธิอะไรในวิหารนั้น พวกมหันตเองก็ยืนยันวา
จะไมยอมใหน าํ พระพุทธรูปเขาไปยัง วิหารพุทธคยาเปนอันขาด และยังประกาศวา หากยัง
ขืนดึงดันจะนําเขา มา ก็จะจา งคนหา พนั คน มาคอยดักฆาและไดเตรียมเงินไวถึงแสนรูปเพื่อ
การนแี้ ลวดว ย เปนอนั วาเรอ่ื งการนําพระพุทธรูปมาประดิษฐานยังวิหารพุทธคยากลายเปน
วาการที่จะนําพระพุทธรูปท่ีชาวญ่ีปุนนํามามอบใหเพ่ือประดิษฐานท่ีพุทธคยาในครั้งน้ันได
กลายเปนชนวนความขัดแยงคร้ังประวัติศาสตรระหวางทานธรรมปาละกับพวกมหันต จน
ตอ งพักไวกอน

วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๔๓๘ ทานธรรมปาละก็ไดนําพระพุทธรูปมายังวิหาร
พทุ ธคยา โดยไมก ลวั การขูจากพวกมหันต เม่ือทานไดนําพระพุทธรูปญี่ปุนองคน้ันไปถึงองค
พระเจดียพ ทุ ธคยา พรอ มกับพระภิกษุอีก ๔ รูป ซ่ึงประจําอยูที่น่ัน กําลังจะยกพระพุทธรูป
ขึ้นประดิษฐาน ปรากฏวาพวกมหันต หลายสิบคนกรูกันเขามาบังคับสั่งใหทานธรรมปาละ
เอาพระพุทธรูปออกและทําการทุบตีทํารายอีกดวย ทานธรรมปาละกลาวไวในบันทึกของ
ทานวา “มันชางเจ็บปวดเหลือแสน ชาวพุทธถูกหามไมใหบูชาในวิหารที่เปนสิทธ์ิของ
ตนเอง” ศาลประจําจังหวัดคยา ไดตัดสินความผิดใหกับพวกมหันต ในขณะท่ีศาลสูงของ
กัลกัตตา กลับตัดสินใหพวกมหันตชนะคดี แตทางศาลสูงของกัลกัตตาก็มีความเห็นใจชาว
พทุ ธ ไดพจิ ารณาวาอยางไรก็ตาม พุทธคยาน้ันเปนพุทธสถานและสมบัติของชาวพุทธอยาง
ชัดเจน

จากนั้นจึงเดินทางกลับลังกาและกอตั้งสมาคมมหาโพธิ์ ข้ึนท่ีโคลัมโบ หลังจาก
นั้นทานก็ไดสงสมณทูตมาท่ีพุทธคยา แตธรรมทูตท้ัง ๔ กลับถูกมหันตที่ยึดครองพุทธคยา
รังแกจนบางรูปบาดเจ็บและบางทานมรณภาพ ทานตองเดินทางกลับอินเดียอีก แลว
รณรงคเพื่อใหพุทธคยากลับเปนของชาวพุทธเชนเดิม ทานเดินทางไปพุทธคยาและก็โดน
พวกมหันตหามเขาพุทธคยา แตทานก็ไมยอมพยายามท่ีจะเขาไปพุทธคยาใหไดจนท่ีสุดถูก
ทํารายจนเร่ืองข้ึนศาล สุดทายศาลชั้นตนช้ีขาดใหชาวพุทธชนะ แตมหันตไมยอมจึงฟอง
ฎกี า ศาลฎีกากลบั ใหมหนั ตชนะ จงึ ทําใหมหนั ตย ดึ คนื อกี คร้ังหนึง่

ดังน้ันทานและพระสงฆจึงโดนขับออกจากพุทธคยา การแพคดีในคร้ังนั้นก็ไมได
ทําใหเปนอุปสรรคแตทานแตอยางไร ทานยังไมยอมแพยังตองมีการรณรงคบรรยายธรรม
ตามสถานท่ีตางๆ อีกทั้งเขียนหนังสือแจกจายใหชาวอินเดียท่ัวไปอาน ทําใหชาวอินเดียคน

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน ๑๔๗

พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา

สาํ คญั ทั้งคานธีราธกฤษณนั (อดีตประธานาธบิ ดีคนแรกของอินเดีย) ทานรพินทรนาถ ฐากูร
เห็นใจแลว กลา วสนบั สนนุ ทา นธรรมปาละ ทําใหพวกมหนั ตเ สียงออนลง ตอมาทานเดินทาง
ไปสหรัฐอเมริกา เพ่ือรณรงคและบรรยายธรรมและทําใหนางแมรี่ อีฟอสเตอรท่ีฮาวาย
เลื่อมใส ศรัทธา และไดยอมตนเปนพุทธมามกะและบริจาคหนึ่งลานรูปแกทานธรรมปาละ
ตอ มาทา นธรรมปาละไดกอตั้งสมาคมมหาโพธ์ขิ ้ึนหลายแหงในอินเดยี

หลังจากนั้นทานก็ไดเดินทางไปยังจังหวัด เขตตําบลตางๆ ในอินเดีย เพื่อช้ีแจง
เร่ืองปญหาของชาวพุทธกับกรรมสิทธ์ิของชาวพุทธในพระเจดียพุทธคยา ชาวอินเดียท่ีมี
การศึกษาและประเทศใกลเ คยี งตางกใ็ หความสนใจ หลายฝายเทคะแนนใหกับชาวพุทธและ
เห็นวาพุทธคยาน้ันเปนกรรมสิทธิ์ของชาวพุทธอยางไมตองสงสัย แมแตนักปราชญที่ไดรับ
การยกยองในอินเดีย เชน ทานรพินทรนาถ ฐากูร กวีและนักวรรณคดีชาวอินเดียก็เห็นวา
พระวิหารพทุ ธคยานั้นเปน กรรมสิทธิข์ องชาวพุทธอยางแนนอน

ตลอดระยะเวลานับตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๓๗ เปนตนมา ทานก็ไดดําเนินการ
เรียกรองท้ังในอินเดียและในประเทศ เร่ืองของพุทธคยาก็เปนประเด็นท่ีชาวอินเดียตางให
ความสนใจ เรียกวา เปน Talk of The Town or Talk of word เลยทเี ดียว

ทานธรรมปาละไดเดินทางไปยังประเทศอ่ืนๆ อีก เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา
เพ่อื ไปเปดสาขามหาโพธิสมาคมขึ้นท่ีนั่น เน่ืองจากการตรากตรําทํางานอยางไมหยุดหยอน
สขุ ภาพทา นจงึ ไมค อยดีนัก

ในป พ.ศ. ๒๔๕๘ ทานธรรมปาละไดทํางานที่ปรารถนาจะทําใหสําเร็จมานานได
เรียบรอย คือการท่ีจะใหมีพุทธวิหาร หรือวัดแหงแรกในอินเดีย หลังจากพระพุทธศาสนา
ถูกทําลายไปกวา ๗๐๐ ป ที่กัลกัตตา และการจดทะเบียน สมาคมมหาโพธิ เปนสมาคมที่
ถกู ตอ งสมบูรณด วย

การสรางพระวิหารน้ัน ไดประกอบพิธีวางศิลาฤกษ ในวันท่ี ๑๖ ธันวาคม พ.ศ.
๒๔๖๑ และสรา งแลวเสรจ็ ในวนั ท่ี ๒๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๖๓ รัฐบาลอินเดียไดมอบพระ
บรมสารีริกธาตุ หรือพระธาตุของพระพุทธองค ซึ่งขุดคนพบในอินเดีย ใหประดิษฐานใน
พระวิหาร สวนตึกอาคารสมาคมมหาโพธิน้ัน สรางเสร็จและเปดในเดือนกันยายน พ.ศ.
๒๔๖๓ สิ้นเงินการสรางทั้งสองแหง ราวๆ ๒ แสนรูป พุทธวิหารที่จัดสรางข้ึนนี้ ใหช่ือวา
“ศรีธรรมราชกิ เจติยวหิ าร”

ในป พ.ศ. ๒๔๖๙ ทานธรรมปาละไดเดินทางไปยังประเทศอังกฤษ และรวมจัด
งานวสิ าขบูชาขน้ึ ทก่ี รุงลอนดอนดว ย

๑๔๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน
บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ในเดือนธันวาคม ป พ.ศ. ๒๔๗๓ มสิ ซสิ ฟอสเตอร ซึ่งคอยชวยเหลือทานธรรมปา
ละในดานเงินทนุ ตลอดมา ไดถึงแกกรรมลง ซึ่งเปนการสูญเสียท่ียิ่งใหญ อยางไรก็ตาม นาง
ไดฝ ากมรดกเปน เงินกอนสดุ ทา ย จาํ นวน ๕ หม่นื ดอลลาร ใหกบั ทานธรรมปาละ

๔.๗ ผลงาน

หลังจากน้ัน ในป พ.ศ. ๒๔๓๕ สมาคมมหาโพธิ ก็ไดยายจากโคลัมโบมาอยูที่
กลั กตั ตา ทีอ่ นิ เดีย และไดออกวารสารสมาคมมหาโพธิ (Mahabodhi Review) ซ่ึงยังคงอยู
จนปจจุบันน้ี ถึง ๑๑๑ ป แลว และเปนวารสารท่ีโดงดังในทั้งตะวันออก และตะวันตก
ในชวงแรกๆ วากันวาทานธรรมปาละและทีมงานตองอดม้ือกินม้ือเพื่อนําเงินไปซ้ือแสตมป
มาสง หนงั สือกันทเี ดยี ว

พ.ศ. ๒๔๓๔ อานาคาริกธรรมปาละ อุบาสกหนุมชาวลังกาเปนบุตรผูม่ังมี ได
จัดตั้งสมาคมมหาโพธ์ิขึ้นเพ่ือร้ือฟนพุทธศาสนา และรักษาปูชนียสถาน เชน พุทธคยา เปน
ตน มสี าํ นักงานใหญท่เี มืองกลั กตั ตา

-จัดพิมพหนงั สอื “มหาโพธ”ิ รายเดอื น เพ่อื ทําการเผยแผพระพุทธศาสนา
พ.ศ. ๒๔๕๑ รัฐบาลอินเดียสัญญาไววาถาสมาคมสรางวิหารใหญที่ เมืองกัลลัต
ตา และทส่ี ารนาถ เมืองพารณสีแลว จะยอมยกพระบรมธาตุที่รัฐบาลรักษาไวใหแกสมาคม
สามคมรับสรางวิหารที่กัลกัตตาเปนเงิน ๕๐,๐๐๐ รูป สรางเสร็จไดช่ือวา ศรีธรรมราชิกะ
เจดียวหิ าร
พ.ศ. ๒๔๕๘ ทานถูกกักตัวใวในกัลกัตตาจนมหาสงครามสิ้นสุดลง เพราะทาน
เท่ยี วสอนใหค นตง้ั อยใู นศลี
พ.ศ. ๒๔๗๐ ทานไดเริ่มกอสรางมูลกัณฑกุฏิวิหารที่อิสิปตนมฤคทายวัน โดย
นางฟอสเตอร บรจิ าคเงนิ สามหมืน่ รปู เ ปน พนื้ ฐาน
พ.ศ. ๒๔๗๔ ไดก อ สรางมลู กณั ฑกุฏิวหิ ารท่อี ิสปิ ตนมฤคทายวันเสร็จ และทําการ
ฉลอง ในเดือนพฤศจิกายน ๒๔๗๔ ณ ปา อิสปิ ตนมฤคทายวนั ๓
๔.๗.๑ พระบรมสาริกธาตุท่พี ระมลู คนั ธกุฎหี ลงั ใหม
หลังจากที่ทานอนาคาริกธรรมปาละไดต้ังสามาคมหาโพธ์ิ แหงอินเดียข้ึน โดยมี
สํานักงานใหญท ่กี ัลกัตตา และในป พ.ศ. ๒๔๗๐ ทานไดเริ่มกอสรางมูลกัณฑกุฏิวิหารท่ีอิสิป

๓ สัมพันธ กองสมุทร, พุทธทาสภิกขุกับส่ือสารมวลชน, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ,
๒๕๔๓), หนา ๒๕.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน ๑๔๙

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา

ตนมฤคทายวัน นางฟอสเตอร ออกเงินสามหมื่นรูป แตวิหารนี้มีราคาถึง ๑๑๑,๐๐๐ รูป๔
หลังจากไดรับเงินบริจาคจากนางฟอสเตอร ก็เร่ิมสรางมูลคันธกุฎีท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวัน
ขึ้นและไดเริ่มงานชักชวนใหชาวโลกและอินเดีย รวมทั้งรัฐบาลอังกฤษท่ีปกครองอินเดียหัน
มาสนใจและฟนฟูพระพุทธศาสนารวมท้ังบูรณะพุทธสถานตางๆ ท่ัวอินเดีย และก็ประสบ
ความสําเร็จ หลังจากการขุดคนพบพระบรมสารีริกธาตุที่เมืองตักศิลา ประเทศปากีสถาน
รัฐบาลอังกฤษจึงไดม อบพระบรมสารรี กิ ธาตุแกส มาคมมหาโพธิ์ จึงไดน ํามาประดิษฐานท่ีมูล
คันธกุฎีหลังใหมท่ีปาอิสิปตนะฯ จนถึงทุกวันนี้ และจะนําออกมาใหประชาชนทั่วไป
สักการบูชาในวันเพ็ญเดือน ๑๒ เปนประจําทุกป บริเวณรอบๆ ปาอิสิปตนมฤคทายใน
ปจจุบนั เตม็ ไปดวยวัดทางพระพุทธศาสนาจากประเทศตา ง เชน

๑. วัดไทย พระครูประกาศสมาธิคุณ คณะ ๒๕ วัดมหาธาตุ ทาพระจันทร เปน
ประธานในการสราง มีเนื้อที่ประมาณ ๓๒ ไร ภายในรมรื่นมีพระอุโบสถท่ีสรางดวยหินทราบ
แดงทั้งหลัง และธรรมศาลาที่พักสําหรับผูแสวงบุญ และโรงเรียนประถมศึกษาสําหรับบุตร
หลานชาวบา นในละแวกใกลเคียง

๒. วัดพมา
๓. วดั ทิเบต มีจํานวน ๓ วัด ศนู ยศกึ ษาทิเบตที่ใหญโต และวัดท่ีสรางใหม (วัชรวิ
ทยาลัย)ดานหลงั ปา อิสปิ ตนะ
๔. วดั ญี่ปุน
๕. วัดศรีลังกา และท่ีตั้งสมาคมมหาโพธ์ิ และพระมูลคันกุฏีหลังใหมประดิษฐาน
พระบรมสารรี ิกธาตุ
๖. วดั จีน ปจ จบุ ันมพี ระสงฆไ ทยเปน ผูดูแลบรหิ าร (พ.ศ. ๒๕๔๓)
๗. วดั เกาหลใี ต
๘. พิพิธภัณฑสารนาถอยูตรงกันขามกับวัดไทย เก็บโบราณวัตถุที่คนพบจากปา
อิสิปตนะมฤคทายวันและเครอ่ื งหมายประจําชาติของอนิ เดีย

๔.๗.๒ ตราประจําประเทศ
เม่ืออินเดียไดรับเอกราชจากอังกฤษในวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ (ค.ศ.
๑๙๔๗) หลังจากเปนเมืองข้ึนของอังกฤษ ๓๔๘ ป รัฐสภาไดพากันแสวงหาสัญลักษณ
ประจําชาติขึ้น ในที่สุดไดเลือกเอาหัวสิงหบนยอดเสาพระเจาอโศก เปนสัญลักษณ โดยมี
เหตุผล คือ

๔ อา งแลว.

๑๕๐ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั
บทท่ี ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟูพระพุทธศาสนา พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๑. สมัยพระเจาอโศกมหาราช ประเทศอินเดียเปนปกแผน มีเอกราชมีความ
ย่ิงใหญเทาที่เคยมีมา ไมมียุดใดในประวัติศาสตรอินเดียที่จะมีพระมหากษัตริยท่ีย่ิงใหญ
เทา นี้

๒. สมัยพระเจาอโศกทรงใชธรรมเปนเครื่องมือในการปกครองแทนการใชอาวุธ
ทําใหประชาชนเกิดความรมเย็นเปนสุข

๓. พระเจาอโศกไดทรงสรางวัดจํานวน ๘๔,๐๐๐ แหงท่ัวอินเดียและเสาศิลา
จารึกท่ีมียอดเสาสลักเปนรูปสัตวตางๆ มีความแข็งแรงทนทานอยูมาจนถึงปจจุบัน สวนที่
ปาอิสิปตนะมฤคทายวัน เปนรูปสิงหส่ีตัวน่ังหันหลังชนกันท่ีมีสภาพสมบูรณท่ีสุด สิงหเปน
สัญลกั ษณแหง ความองอาจมอี าํ นาจ

ดังนั้นอนิ เดียจึงรับเอาสงิ หห วั เสาอโศกนี้เปนสัญลักษณประจําชาติ โดยเลือกเอา
ดา นท่มี ีมา และววั ทีฐ่ านเปน ดา นหนา

๔.๗.๓ ธงชาติ
สําหรับธงชาติอินเดียนั้นมีสามสี คือ สมหรือแสดหรือบนสุด ขาวอยูตรงกลาง
และเขยี วเขมอยูลา งสดุ และมพี ระธรรมจกั รท่มี ซี ีจ่ าํ นวน ๒๔ ซ่ีอยูตรงกลาง ซ่ึงธรรมจักรนี้
เอามาจากฐานสิงหบนยอดเสาพระเจาอโศกท่ีคนพบจากปาอิสิปตนะมฤคทายวันนี้เอง ซ่ึง
ปจ จบุ ันมีความหมายวา ธรรมจักรมี ๒๔ ซึ่ง หมายถึงอินเดียจะเคลื่อนท่ีพัฒนาไปขางหนา
อยา งไมหยดุ ยงั้ ตลอด ๒๔ ช่วั โมง
ปาอิสิปตนะมฤคทายวัน สถานท่ีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆครบถวย
บริบูรณ อุบาสก อุบาสิกา ผูรับเอาพระรัตนตรัยเปนท่ีพ่ึง ครบถวนที่นี้ พระองคสงพระ
สาวก ๖๐ รปู ออกไปประกาศพระศาสนา เพื่อความสุขของชาวโลกที่ปาแหงนี้ ปาอิสิปตนะ
มฤคทายวัน แหงเมืองพาราณสี ไดเจริญสูงสุด และพบกับความทรุดโทรมต่ําสุด ซ่ึงเปนไป
ตามกฎไตรลักษณ แตวนั น้ีปาอสิ ิปตนะมฤคทายวนั กลบั มารงุ เรอื งอีกครัง้ หนง่ึ แลว และเราก็
หวงั วา เมืองพาราณสจี ะกลับมาเปนเมืองแหงพระรตั นตรยั อีกครั้งหนึ่ง สาธุ ฯ

๔.๘ บั้นปลายชวี ติ อปุ สมบทเปนพระภิกษุ

ในปลายป พ.ศ. ๒๔๗๕ (ตรงกับปท่ีไทยเปลี่ยนระบอบการปกครอง) ทานธรรม
ปาละไดลมเจ็บหนักอีกครั้ง เม่ือพอสบายดีขึ้นทานรูวาใกลจักถึงวาระสุดทายของทานแลว
ทา นจงึ ไดค ดิ ทจี่ ะอุปสมบทเปนพระภิกษุเสียที จึงไดนิมนต พระเถระชั้นผูใหญจากศรีลังกา
๑๐ รูป มีทานพระสิทธัตถะอนุนายกเถระ คณะสยามนิกาย วัดมัลวัตวิหาร เปนประธาน
และเปน พระอปุ ชฌาย ไดทาํ การอุปสมบททานธรรมปาละ ไดร ับภกิ ษฉุ ายาในทางศาสนาวา

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน ๑๕๑

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟนฟูพระพุทธศาสนา

“ศรีเทวมิตฺต” เม่ือทานไดอุปสมบท ก็ปรากฏวาทานไดมีกําลังกายกลับคืนมาอีกคร้ังหน่ึง
แตเ ปน การกลบั คืนมาเหมือนกบั เปลวเทียนที่กําลงั จะหมดไส ซึ่งจะสวางไดไมนาน ดังน้ันใน
เดือนเมษายนของป พ.ศ. ๒๔๗๖ ทา นจงึ ไดลม เจ็บลงอีก โดยมนี ายเทพปริยะ วาลีสิงหะ ซึ่ง
เปน ทั้งศษิ ยและสหายของทานไดค อยรักษาและดูแลอยู

ตอ มาเม่ือวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖ (ประวัติบางแหงวา วันท่ี ๒๗) อาการ
โรคหวั ใจของทา นกําเร้ิมอยางหนักถึงที่สุด แตทานก็ยังพอจะพูดไดบาง และส่ิงที่ทานกลาว
ย้าํ บอ ยๆ ในขณะเวลา ท่ีเหลืออีกไมนานก็คือ “ขอใหขาพเจาไดม รณะเร็วๆ เถิด แตขาพเจา
จักกลับมาเกิดใหมอีก ๒๕ ครั้ง เพื่อเผยแผประกาศพระธรรมของพระพุทธเจา” และใน
เวลาเชา ของวันที่ ๒๙ เมษายน ทานแทบไมรูสึกตัวอะไรอีก พูดออกมาไดเพียงคําวา “เทพ
ปรยิ ะ” ราวจะฝากฝงใหนายเทพปริยะ จับงานของสมาคมใหดําเนินตอไป เพราะพุทธคยา
ยังไมกลับมาเปนกรรมสิทธิ์ของชาวพุทธโดยสมบูรณ จนถึงบาย ๒ โมง อุณหภูมิในตัวของ
ทานสูงข้ึนเรื่อยๆ จนถึง ๑๐๔.๖ ถึงที่สุดแลว ทุกคนที่อยูรอบๆ ก็ทราบวา ทานกําลังจะ
มรณภาพ พระภิกษุสามเณรจากศรีลังกาและอินเดียที่อยูที่นั่น ไดลอมรอบทาน พรอมกับ
สวดพระพุทธมนตไปเรื่อยๆ พอสน้ิ เสียงสวด ....วิญญาณของบุรุษผูยิ่งใหญคนหนึ่ง ผูเกิดมา
เพื่อประโยชนสุขของคนสวนรวมและเชิดชูพระศาสนาของพระพุทธองค ก็ดับวูบลง ละ
รางกายอันเกา คร่ําคราเกินเยียวยา เหลือเพียงใบหนาอันยิ้มแยมและเปนสุขไวเทานั้น ใน
เวลา บา ย ๓ ของวนั ท่ี ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖ นน่ั เอง รวมอายุ ๖๙ ปเ ดือน ๑๒ วัน

๔.๙ ขบวนการฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา

การฟนฟูพระพุทธศาสนาของทานอนาคาริก ธรรมปาละดวยการดําเนินการ
จัดตง้ั สามาคมหาโพธิ์ แหงอินเดียขึ้น โดยมีสํานักงานใหญท่ีกัลกัตตาและในป พ.ศ. ๒๔๗๐
ดวยวัตถปุ ระสงคจัดพิมพห นงั สือ “มหาโพธิ” รายเดือน เพื่อทําการเผยแผพระพุทธศาสนา
ท้ังภาษาฮินดแี ละภาษาองั กฤษเพอ่ื เผยแพรข อ มลู เก่ยี วกับพระพุทธศาสนา ที่มากไปกวาน้ัน
ก็ คื อ ต อ ง ก า ร บ อ ก ใ ห กั บ ช า ว ม หั น ต ว า พุ ท ธ ค ย า เ ป น ข อ ง ช า ว พุ ท ธ ไ ม ใ ช ข อ ง ม หั น ต
หนังสือพิมพ วารสารรายเดือนของสมาคมมหาโพธ์ิเปนกระบอกเสียงในเรียกรองบอกใหรู
วาเจดียพุทธคยาเปนของชาวพุทธและเปนกระบอกเสียงใหกับชาวโลกรูวาพุทธคยาเปน
สถานท่ีตรัสรูของพระพุทธเจา จึงไดมีการรณรงคเพื่อใหพุทธคยากลับเปนของชาวพุทธ
เชนเดมิ

การเดินสายหาสวนรวมเพ่ือเรียกรองเจดียพุทธคยากับคืนมาเปนสมบัติของชาว
พุทธจึงไดเดินทางไปยังประเทศญ่ีปุน จีน ไทย สิงคโปร และศรีลังกา เพื่อพบปะกับผูนํา
ฝายศาสนาและบานเมืองขอความรวมมือดานกิจกรรมฟนฟูพระพุทธศาสนา เรียกรอง

๑๕๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั
บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

พุทธคยาใหกลับคืนสูกรรมสิทธ์ิของชาวพุทธ ใหชาวพุทธไดดูแลเจดียพุทธคยาถึงในยุคของ
ทานจะยังไมสาํ เรจ็ ก็ตาม นั้นก็เปนการเร่ิมตนทีม่ คี วามหมายสําหรับชาวในประเทศอินเดียท่ี
ไมม ีปากเสยี งอะไรมากนกั ในทีส่ ดุ ความฝนของทานเปน จรงิ ชาวพุทธสามารถไดรับสิทธิ์นั้น
โดยรฐั บาล แหงรฐั พหิ าร ไดผา นพระราชบญั ญตั ิวิหารพุทธคยาซงึ่ ใหก ารบริหารพุทธคยาอยู
ในการดูแลของคณะกรรมการ “Bodhgaya Temple Management Committee”
จํานวน ๙ คนประกอบดวยชาวพุทธ ๔ ทาน ชาวฮินดู ๔ ทาน โดยมีผูวาราชการจังหวัดค
ยาเปนประธาน ถึงแมวาจะไมไดสิทธ์ิเต็ม แตก็ยังดีท่ียังเหลือไวใหชาวพุทธไดชื่นชมบารมี
ของพระพทุ ธเจาทพี่ วกเขาเคารพบชู า

๔.๑๐ วิเคราะหอ งคความรูเกิดจากขบวนการฟนฟูพระพุทธศาสนา

ทานธรรมปาละไดเปนผูจุดประกายริเริ่มใหชาวพุทธในประเทศอินเดียและ
ตางประเทศไดหันมาเอาใจใสและฟนฟูพุทธสถาน ที่สําคัญของพระพุทธองค โดยเฉพาะ
พทุ ธคยา แมใ นสมยั ของทานยังไมทําใหพุทธคยาคืนสูกรรมสิทธ์ิของชาวพุทธและอยูในการ
ดูแลคุมครองของชาวพุทธไมได แตตอมาการกระทําของทานก็เปนกระแสผลักดันสังคม
ชาวอินเดียหลายฝาย นักปราชญหลายทาน ก็ไดแสดงความเห็นวาพุทธคยาเปนสิทธิ์ของ
ชาวพุทธอยางแนนอน ตอมาในเดือนเมษายน ป ๒๔๙๙ รัฐบาล แหงรัฐพิหาร ไดผาน
พระราชบัญญัติวิหารพุทธคยาซึ่งใหการบริหารพุทธคยาอยูในการดูแลของคณะกรรมการ
“Bodhgaya Temple Management Committee” จํานวน ๙ คนประกอบดวยชาว
พทุ ธ ๔ ทาน ชาวฮินดู ๔ ทา น โดยมีผูวา ราชการจงั หวัดคยาเปนประธาน

ดวยผลงานที่ทา นไดเ ปน ผูรเิ รมิ่ ที่จะใหพ ุทธคยากลับมาเปนชาวพุทธนั้นเอง จึงทํา
ใหพุทธคยาจึงไดเปนที่รูจักกันไปทั่วโลกและประสบความสําเร็จในท่ีสุด และในป พ.ศ.
๒๕๐๐ รัฐบาลอนิ เดยี โดยการนําของเยาวหรลาลเนรูห นายกรฐั มนตรแี หง อินเดีย ไดจัดงาน
เฉลิมฉลอง พุทธชยันตี (วิสาขบูชา) อยางย่ิงใหญโดยเชิญชวนประเทศท่ีนับถือ
พระพุทธศาสนาท่ัวโลกมาสรางวัดไวในบริเวณพุทธคยา ดินแดนพุทธภูมิ ซ่ึงประเทศไทย
โดยการนําของจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ไดดําเนินการสรางวัดไทยพุทธคยาเปนชาติ
แรก ตอมาประเทศชาวพุทธอื่นๆ เชน ญ่ีปุน พมา เกาหลี จีน ศรีลังกา ธิเบตฯลฯ ก็ได
ดําเนินการสรางวัดตอมาตามลําดับ ในป พ.ศ. ๒๕๔๕ พุทธคยาไดรับการขึ้นทะเบียนเปน
มรดกโลกจากองคการยเู นสโก

ดวยเหตุทานอนาคาริก ธรรมปาละ (AnagarikaDhammapala) จึงเปนบุคคล
สําคัญที่ไดจารึกไวในประวัติศาสตรการฟนฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และเปนผู
เรยี กรองเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเปนของชาวพุทธ เหตุท่ีทานทําเชนนั้นก็เพราะ

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั ๑๕๓

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟนฟูพระพุทธศาสนา

ความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา ดวยน้ีทานจึงตองริเริ่มกอต้ังสมาคมมหาโพธ์ิทั้งในประเทศ
อินเดีย และศรีลงั กา ทา นคงมองเหน็ ความสําคัญของพระพุทธศาสนาวาพระพุทธศาสนาได
สรางคุณูปการไวใหกับคนอินเดียและชาวโลก จากการศึกษาในขางตนนั้นมองไดทานเห็น
ความสําคัญของหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาวาเปนหลักธรรมท่ีคนทุกชั้นสามารถนํามา
ปฏบิ ตั ไิ ดโดยไมจําจดั ชนชั้น นี้เปนเหตุผลท่ีทานตองดิ้นรนเพื่อที่จะนําพระพุทธศาสนากับสู
สงั คมอนิ เดียอีกครงั้

การกระทําอยางน้ีแสดงถึงความการมุงมั่นทํางานเพื่อพระพุทธศาสนาและ
มนุษยชาติ ทานอนาคาริก ธรรมปาละ เปนผูท่ีเริ่มตนท่ีสําคัญในประวัติศาสตร
พระพุทธศาสนายุคใหม และทานไดนําพระพุทธศาสนามาสูอินเดียจนสําเร็จ รวมตลอดถึง
เปนผูรวมเรียกรองใหพุทธคยา ไดกลับมาอยูในความดูแลของชาวพุทธจนเปนผลสําเร็จ
เชนกนั นอกเหนือจากนั้น รฐั บาลอนิ เดยี ยังไดนําสัญลกั ษณของพระพุทธศาสนาที่ทานธรรม
ปาลไดน ํามาเปน เคร่อื งหมายในการตอสูอยางเชน หัวสิงหส่ีหัวของพระเจาอโศก กลายเปน
สัญลักษณประจําชาติของอินเดีย อีกท้ังไดทํารูปธรรมจักรอันเปนสัญญาลักษณทาง
พระพุทธศาสนาใหปรากฏอยูตรงกลางของธงชาติของอินเดียอีกดวยตลอดชีวิตของทานได
อุทิศชีวิตเพ่ือพระพุทธศาสนา ท้ังการเผยแผ การกอต้ังสถาบันทางพุทธศาสนา
สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาเปนตน นอกจากน้ีทานอนาคาริก ธรรมปาละ เปนผูมี
บทบาทอยา งสูง ตอ การฟน ฟูพระพทุ ธศาสนาในอนิ เดีย

๔.๑๑ ผลกระทบตอ สังคม

ทา นอนาคารกิ ธรรมปาละ รตั นบรุ ุษแหงศรีลงั กา ผูเต็มเปยมไปดวยมหาปณิธาน
อันย่ิงใหญ อุทิศชีวิตทั้งชีวิตเพื่อเรียกรองสิทธิ์อันชอบธรรมกลับคืนมาสูชาวพุทธ ดวยการ
จัดตั้งองคกรตอสูเคล่ือนไหวสรางผลงานทางพระพุทธศาสนาใหแพรกระจอนกระจายไปสู
มหาภารตะชนไดรวมรับรแู ละสนับสนุนขอคิดเห็นในอันที่จะผลิกฟนพุทธธรรมกลับมาสูผืน
แผนดินมาตุภูมิ ตลอดชีวิตที่ตรากตรําไมยนยอทอตออุปสรรคใดๆ ถวายชีวิตเพ่ืองานพระ
ศาสนาตราบส้ินวาระสุดทายของทาน ทานเปนบุคคลแบบอยางท่ีโลกตองจารึกไว อัน
อนุชนรุน หลังควรศกึ ษาและชาวพทุ ธควรรบั รูถ งึ คุณปู การท่ีทา นมตี อ พระพุทธศาสนาไมควร
เลยทีจ่ ะหลงลมื หรอื เลอื นหายไปจากความทรงจาํ

ทานสามารถเปดแนวคิดของคนอินเดียใหรับเสรีภาพทางความคิดใหมๆ ท่ีกําลัง
เผยกระจายอยูในขณะนั้น จนสรางความกดดันใหกับรัฐบาลอินเดียจนใหสัญญาไววาถา
สรางสมาคมวิหารใหญที่กัลกัตตา และท่ีสารนาถ เมืองพาราณสีแลวเสร็จ จะยอมยกพระ
บรมธาตุท่ีรัฐบาลรักษาไวใหแกสมาคมสมาคมรับสรางวิหารท่ีกัลกัตตาเปนเงิน ๕๐,๐๐๐

๑๕๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั
บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟนฟพู ระพทุ ธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

รูป ผลสุดทายก็สรางเสร็จและไดต้ังชื่อวา ศรีธรรมะราชิกะเจดียวิหาร นี้เปนอีกสวนหนึ่งท่ี
ทานธรรมปาลไดสรา งคุณูปการในพระพทุ ธศาสนา

๔.๑๒ สรุปทา ยบท

ทานอนาคาริก ธรรมปาละ เปนบุคคลธรรมดา ทีเ่ กดิ ในตระกูลชาวพุทธลังกา แต
ทานไดทําคุณประโยชนแกพระพุทธศาสนาท่ีอินเดีย และที่ลังกามากมาย ทานเปนผูท่ีจุด
ประกายใหชาวอินเดียไดหันกลับมามองถึงส่ิงที่ชาวอินเดียลืมเลือนไป ก็คือ
พระพุทธศาสนา ทานเปนผูทําใหพระพุทธศาสนากลับมายังมาตุภูมิ ถ่ินเกิดของตนเองอีก
ครั้ง ทา นธรรมปาละ เปนอมตบุคคลและเปนรัตนบุรุษผูหนึ่งที่พุทธศาสนิกชนพึงจดจําและ
ระลึกถึงทาน ชาวพุทธควรตระหนักถึงแนวทางของทานนํามาเปนแบบดําเนินชีวิต ทาน
ธรรมปาละไดอุทิศท้ังแรงกายและแรงใจ เพื่อเชิดชู เพื่อรักษา เพ่ือเผยแผพระพุทธธรรม
ของพระพทุ ธองค จนกระท่ังวาระสุดทายแหง ชีวติ
การมุงมัน่ ทํางานเพื่อพระพุทธศาสนาและมนุษยชาติของทานอนาคาริก ธรรมปาละเปนสิ่ง
ที่ควรสรรเสริญ ทานไดพยามยามทํางานเพื่อนําพระพุทธศาสนามาสูอินเดียจนสําเร็จ รวม
ตลอดถงึ เปนผรู ว มเรียกรองใหพุทธคยา ไดกลับมาอยูในความดูแลของชาวพุทธจนเปนเปน
ผลสําเร็จ หัวสิงหบนยอดเขาอโศก ณ จุดแสดงปฐมเทศนา เปนท่ีเล่ืองลือถึงความเปน
ศิลปะชั้นเย่ียม และความหมายของการประกาศพระธรรมไดกึกกองไปทั่วทุกสารทิศ
ปจจุบันรัฐบาลอนิ เดียเกบ็ รักษาไวในพพิ ิธภัณฑ และใชเปนตราประจําชาติ ธรรมจักรที่ฐาน
ก็ปรากฏอยใู นธงชาตขิ องอินเดยี ดว ยเชนกัน

การยึดม่ันนับถือพระพุทธศาสนา ตลอดชีวิตของทานไดอุทิศชีวิตเพ่ือ
พระพุทธศาสนา โดยท้ังการเผยแผ การกอต้ังสถาบันทางพุทธศาสนา สถาบันการศึกษา
พระพุทธศาสนา เปนตนนอกจากนี้ทานธรรมปาละ เปนผูมีบทบาทอยางสูง ตอการฟนฟู
พระพทุ ธศาสนาในอนิ เดยี ประโยชนท ท่ี านฝากไวในพระพุทธศาสนาพอสรปุ ไดดังน้ี

เปนผูจุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ทําใหชาวอินเดีย ซึ่งแทบ
จะลืมเลือนพระพุทธศาสนา จนหมดสิ้น แลว หันกลับมาแนวทางแหงอริยมรรคแหงพระ
พุทธองคอีกครัง้

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั ๑๕๕

พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟนฟูพระพทุ ธศาสนา

คําถามประจาํ บท

ก. แบบประเมินแบบปรนยั ๑๑ ขอ
๑. ขอใดกลาวถึงบทบาทในการเผยแผของทานอนาคาริก ธรรมปาละไดถูกตอง
ท่ีสุด
ก. นาํ พระพุทธศาสนากลับคนื มายังพุทธสถาน
ข. เปน นักปราชญทปี่ ฏริ ูปในการเผยแผ
ค. เปน นักปราชญท ี่ทมุ เทและเสยี สละ
ง. เปนนักปราชญพุทธผสู รางศรัทธา
๒. คณุ ลกั ษณะเดนของทา นอนาคารกิ ธรรมปาละคือ ขอใด
ก. เปนนักปราชญปฏริ ปู พทุ ธศาสนา
ข. เปนนกั ปราชญป ฏิวัติพุทธศาสนา
ค. เปน นกั ปราชญป ฏริ ปู การเมอื ง
ง. เปน นกั ปราชญผ ูเสยี สละตอการประกาศาสนา
๓. สมาคมพทุ ธคยามหาโพธโิ ซไซเอตีก้ อ ข้ึน เมือใด
ก. ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ข. ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๔
ค. ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๕ ง. ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๕
๔. ผแู ทนจากประเทศไทยท่เี ขา รวมการกอตั้งสมาคมพุทธคยามหาโพธิโซไซเอตี้ คือ
ใคร
ก. พอ ขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย
ข. สมเด็จพระราเมศวร
ค. พระมหาธรรมราชาธริ าช
ง. พระเจา วรวงศเ ธอพระองคเ จา จนั ทรทตั จฑุ าธร
๕. ขอใดกลาวถึงขบวนการเผยแผพระพุทธศาสนาของอนาคาริก ธรรมปาละได
ถกู ตอ งท่ีสดุ
ก. จัดพมิ พว รรณคดพี ระพุทธศาสนา
ข. การสรางองคกรในการเผยแผใหทันสมยั
ค. การการขยายตัวของสมาคมไปเรอื่ ยๆ
ง. อธิบายคาํ สอนทางพระพทุ ธศาสนาใหเ กิดความหลากหลายและทันสมัย

๑๕๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั
บทที่ ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟนฟพู ระพทุ ธศาสนา พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๖. ขอใดกลาวถึงความหมายอุดมการณในการนําพระพุทธศาสนากับสูอินเดีย
ของทานอนาริก ธรรมปาละไดถูกตอ งทสี่ ดุ

ก. การรองสทิ ธ์ิอนั ชอบธรรมกลับคืนมาสูชาวพุทธในประเทศอนิ เดยี
ข.กรตอ สูเคลือ่ นไหวสรางผลงานทางพระพุทธศาสนาอยา งตอเน่ือง
ค. การแพรข ององคกรกระจายไปสมู หาภารตะชน
ง. การพลกิ ฟน พทุ ธธรรมกลับสูผืนแผน ดนิ มาตุภมู ิ

๗. ใครเปน ผจู ัดงานเฉลิมฉลอง พทุ ธชยันตี (วิสาขบชู า) ในประเทศอินเดยี
ก. นายกรฐั มนตรีเยาวหรลาลเนรูห ข. นายกรัฐมนตรีมันโมหัน สงิ ห
ค. นายกรฐั มนตรีนาเรนทระ โมที ง. นายกรฐั มนตรีราชพี คานธี
๘. ประเทศใดไดด าํ เนินการกอ สรางพุทธคยาในประเทศอินเดยี เปนชาติแรก
ก. ประเทศไทย ข. ประเทศศรลี ังกา
ค. ประเทศอินเดยี ง. ประเทศพมา
๙. พุทธคยาไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกจากองคการยูเนสโกเมื่อ พ.ศ
.........
ก. พ.ศ. ๒๕๐๐ ข. พ.ศ. ๒๕๔๕
ค. พ.ศ. ๒๕๐๑ ง. พ.ศ. ๒๕๔๖
๑๐. ขอใดกลาวถึงผลกระทบที่เกิดจากการนําพระพุทธศาสนาสูอินเดียของอนา
รกิ ธรรมปาละไมถ กู ตอ ง
ก. ทาํ ใหช าวฮนิ ดูในประเทศอินเดยี หันมานับพระพุทธศาสนามาก
ข.ทาํ ใหชาวพุทธในประเทศอนิ เดยี วสามารถรอ งสทิ ธ์ิไดมากขึ้น
ค. สามารถจดั ตั้งคณะกรรมท้ังสองฝา ยบริหารพทุ ธคยาไดอ ยางเปน ระบบ
ง. การพลิกฟนพุทธธรรมกลับมาสูผืนแผนดินมาตุภูมิจนกลายเปนการ
สงครามศาสนา
๑๑. พระภิกษชุ าวญป่ี ุนรูปใดเดินทางมาที่พระพุทธคยาอันเปนสถานที่ตรัสรูของ
พระพุทธองคก บั ทานอนาคาริก ธรรมปาละ
ก. พระภิกษพุ ระโกเซน คุณรตั นะ
ข. พระภกิ ษุคณุ รัตนะ โกเซน
ค. พระภิกษพุ ระโซกุน
ง. พระภิกษุถงั ซมั จ๋งั

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๑๕๗

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา

ข. แบบฝก หดั แบบอัตนยั

๑. วิเคราะหเ หตุแหง ความเสอ่ื มสละของพระพุทะในในชวงปพุทธศักราช ๒๔๐๐ใน
ประเทศอินเดยี มาดู

๒. จงวิเคราะหบทบาทในการเผยแผพระพุทธศาสนาของอนาคาริก ธรรมปาละท่ีมี
ตอสังคมอนิ เดยี มาดูอยางละเอียด

๓. จงวิเคราะหบ ทบาทของสมคมโพธิของธรรมปาละกับการเผยแผพระพุทธศาสนา
มาดู

๔. วิเคราะหใหเห็นถงึ องคความรูใหมที่เกิดจากฟนฟูพระพุทธศาสนาของอนาคาริก
ธรรมปาละมาดู

๑๕๘ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน
บทท่ี ๔ อนาคาริก ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพุทธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

“...หลังจากที่พระพุทธศาสนาไดถูกเนรเทศออกไปเปนเวลานานถึง ๘๐๐ ป ชาวพุทธ
ทั้งหลายก็ไดกลับคืนมายังพุทธสถานอันเปนที่รักของตนน้ีอีก ... เปนความปรารถนาของ
สมาคมมหาโพธิ ที่จะมอบพระธรรมคําสอนอันเปยมดวยพระมหากรุณาของพระพุทธองค
ใหแกประชาชนชาวอินเดยี ทั้งมวล ไมเ ลอื กชาติชั้นวรรณะ และลัทธนิ ิกาย...ขา พเจาม่ันใจวา
ทา นทงั้ หลาย จะพรอมใจกนั เผยแผอารยธรรม (ธรรมอันประเสริฐ) ของพระตถาคตเจา ไป
ใหตลอดทว่ั ทงั้ อนิ เดยี ...”

บทที่ ๕
ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ษุ ผนู าํ พทุ ธศาสนากลบั คืนสมู าตุภมู ิ

Dr. Ambedkar is the leader returned Buddhism in motherland

แผนบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี ๕
หวั เร่ือง

๕.๑ ความนํา
๕.๒ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผนู ําพทุ ธศาสนากลับคืนสมู าตภุ มู ิ
๕.๓ กาเคล่ือนไหวภาคสงั คม
๕.๔ ประกาศความเสมอภาค
๕.๕ ขบวนการฟนฟพู ระพทุ ธศาสนา
๕.๖ แนวคิดและปรชั ญา ของ ดร.อมั เบดการ
๕.๗ ดร.อัมเบดการ ถงึ แกก รรม
๕.๘ วเิ คราะหอ งคความรูเกดิ จากขบวนการฟนฟพู ระพุทธศาสนา
๕.๙ ผลกระทบตอ สงั คม
๕.๑๐ สรปุ ทา ยบท
คาํ ถามประจําบท

วัตถุประสงคป ระจาํ บท
เมอ่ื ศกึ ษาบทที่ ๕ จบแลว ผเู รยี นสามารถ

๑. อธบิ ายประวตั ขิ อง ดร.อัมเบดการ
๒. เขา ใจถึงการตอ สเู พื่อความเสมอภาค
๓. เขาใจถึงการประกาศความเสมอภาค
๔. เขาใจถงึ การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา
๕. เขา ใจถึงกจิ กรรมสาํ คัญของ ดร.อัมเบดการ
๖. เขาใจถึงแนวคิดและปรัชญา ของ ดร.เอมเบดการ
๗. อธิบายการถึงแกก รรมของ ดร.อัมเบดการ

๑๖๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน

บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบุรุษผนู ําพุทธศาสนากลับคืนสมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

๘. สามารถวเิ คราะหอ งคความรจู ากแนวคดิ ของ ดร.อมั เบดการ
๙. เขาใจถึงผลกระบททเ่ี กิดจากแนวคิดท่มี ีตอสงั คม

กจิ กรรมการเรียนการสอน

๑. วิธีสอนใชวิธีการสอนแบบบรรยาย (Lecture) ประกอบกับการสอบถาม/
สัมภาษณเปนรายบคุ คล

๒. กระบวนการเรยี นการสอน
๑) ใหผูเรียนเขียนใบงานหัวขอ “องคความรูและผลกระบทท่ีเกิดจาก

แนวคิดการฟน ฟูพระพทุ ธศาสนาของ ดร.อัมเบดการทีม่ ีตอสงั คม”
๒) ใหผเู รยี นดวู ีดที ัศนเกี่ยวกบั ขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจจบุ นั โดยสังเขป
๓) อาจารยบรรยายสรปุ เชอ่ื มโยงเขา สูบทเรยี นและบรรยายตามเนือ้ หา
๔) ใหผเู รยี นทาํ บททดสอบหลังเรยี น

สอื่ การเรยี นการสอน

๑. เอกสารคาํ สอนวชิ าขบวนการพุทธใหมในโลกปจจบุ นั
๒. Power Point Presentation
๓. วดี ิทัศนเ กย่ี วกับของ ดร.อมั เบดการ
๔. สือ่ ตามแหลง เรียนรูตางๆ เชน ภาพประกอบในหองสมุด

การวดั และประเมนิ ผล

๑. สังเกตจากความตั้งใจเรียนของผูเรียน/การมีสวนในการแสดงความคิดเห็น/
และการมีสวนรวมกับกจิ กรรมในชนั้ เรียน

๒. พิจารณาจากการเขียน/สงใบงานที่ตรงเวลาและตรงกับเนื้อหาสาระ/การ
แสดงความคิดเหน็ ทป่ี รากฏในใบงาน

๓. พจิ ารณาใหคะแนนจากการทําบททดสอบหลงั เรยี น

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน ๑๖๑

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบุรุษผนู าํ พทุ ธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ ูมิ

๕.๑ ความนาํ

พุทธศาสนาถือกําเนิดและเคยย่ิงใหญในชมพูทวีป แตกลับสูญสลายไปจาก
ดินแดนมาตุภูมิไปเกือบส้ินในภายหลัง จนเมื่อป พ.ศ. ๒๕๐๐ (ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๙๙ ของ
ไทย) (ในอินเดียเปนป ๒๕๐๐ อินเดียนับพุทธศักราชเร็วกวาไทย ๑ ป เชนเดียวกับพมา
และลังกา)ไดมีชาวอินเดียวรรณะตํ่าประมาณ ๕ แสนคน ประกาศตนมานับถือ
พระพุทธศาสนา ดวยการนําของ ดร.อัมเบดการ (Dr. Babasaheb BhimraoRamji
Ambedkar) จึงไดมีชาวพุทธเกิดข้ึนในอินเดียอีกคร้ัง เรียกวา กลุมชาวพุทธใหม (New
Buddhist) มีมากที่สุดในเมืองนาคปูร ตอนกลางของอินเดีย จากนั้นก็ไดมีชาวอินเดีย
วรรณะต่ําไดหันมานับถือพระพุทธศาสนาอยางตอเน่ือง และไดมีการประกาศตนเปนชาว
พุทธอยหู ลายเมอื ง เชน เมอื งนาคปูร, เมืองคยา, เมอื งเดลี ฯลฯ

พุทธศาสนาถือกําเนิดและเคยยิ่งใหญในชมพูทวีป แตกลับสูญสลายไปจาก
ดินแดนมาตุภูมิไปเกือบส้ินในภายหลัง จนเม่ือป พ.ศ. ๒๕๐๐ (ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๙๙ ของ
ไทย) (ในอินเดียเปนป ๒๕๐๐ อินเดียนับพุทธศักราชเร็วกวาไทย ๑ ป เชนเดียวกับพมา
และลังกา)ไดมีชาวอินเดียวรรณะตํ่าประมาณ ๕ แสนคน ประกาศตนมานับถือ
พระพุทธศาสนา ดวยการนําของ ดร.อัมเบดการ (Dr. Babasaheb BhimraoRamji
Ambedkar) จึงไดมีชาวพุทธเกิดขึ้นในอินเดียอีกครั้ง เรียกวา กลุมชาวพุทธใหม (New
Buddhist) มีมากที่สุดในเมืองนาคปูร ตอนกลางของอินเดีย จากน้ันก็ไดมีชาวอินเดีย
วรรณะตํ่าไดหันมานับถือพระพุทธศาสนาอยางตอเนื่อง และไดมีการประกาศตนเปนชาว
พทุ ธอยหู ลายเมือง เชน เมอื งนาคปรู , เมอื งคยา, เมืองเดลี ฯลฯ

ปจจุบันมีชาวอินเดียท่ีหันมานับถือพระพุทธศาสนาประมาณ ๒๐ ลานคน ทั้งน้ี
ยังไมไดนับรวมชาวพุทธที่อพยพมาจากทิเบตในสมัยท่ีถูกจีนรุกราน ซ่ึงไดกระจายอยูใน
เมืองตางๆ ของอินเดีย

๕.๒ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ษุ ผนู ําพุทธศาสนากลบั คนื สมู าตุภมู ิ

ดร.อัมเบดการ เกิดวันท่ี ๑๔ เมษายน ๒๔๓๔ ในวรรณะจัณฑาลซ่ึงถือวาเปน
วรรณะที่ยากจนท่ีสุดของอินเดีย ในเมืองนาคปูร รัฐมหาราษฏร ทางตอนกลางของอินเดีย
ในหมูบานคนอธิศูทร (คนวรรณะจัณฑาลที่มีชื่อเรียกมากมาย เชน หริจันทร, จัณฑาล, อธิ

๑๖๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั

บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรษุ ผูนําพทุ ธศาสนากลับคนื สมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ศูทร, ในที่น้ีจะใชคําวา อธิศูทร) ช่ือวา อัมพาวดี เปนบุตรชายคนสุดทอง คนท่ี ๑๔ ของ
รามจิ สักปาล และนางพมิ มาไบ สกั ปาล๑

๕.๒.๑ การศึกษา
กอนท่ี ดร.อัมเบดการจะเกิดนั้น มีเรื่องเลาวา ลุงของพอของทานซ่ึงไปบวชเปน
สันยาสี(ผูถือสันโดษตามแนวคิดเร่ืองอาศรม ๔ ของฮินดู พรหมจรรย คฤหัสถ วนปรัส สัน
ยาส)ี อาศยั อยตู ามปาเขา ไดม าพาํ นักในแถบละแวกบาน รามจิไดทราบจากญาติคนหนึ่งวา
หลวงลุงของตนมาพํานักอยูใกลๆ จึงไปนิมนตใหมารับอาหารที่บาน นักบวชสันยาสีน้ัน
ปฏิเสธ แตไดใ หพรแกร ามจิวา "ขอใหมีบุตรชาย และบุตรชายของเธอจงมีช่ือเสียง มีเกียรติ
ในอนาคต ไดจารึกชื่อไวในประวัติศาสตรชาติอินเดีย" ซ่ึงพรน้ันก็มาสําเร็จสมปรารถนาใน
เวลาตอมา เม่ือวันที่ ดร.อัมเบดการเกิดน้ันเอง บิดามารดาไดต้ังช่ือใหวา “พิม” แมจะเกิด
มาในครอบครัวอธิศูทรท่ียากจน แตบิดาก็พยายามสงเสียจนเด็กชายพิม สามารถเรียนจน
จบประถม ๖ ได เมื่อจบแลวบิดาของเด็กชายพิมก็ไมไดใหหยุดเรียนยังตองพยายามท่ีจะให
บุตรไดรับความรู ชีวิตตองอดมื้อกินมื้อ เงินท่ีไดรับจากการรับจางแบกหามก็เอามาสงเสีย
เปน คาเลาเรียนใหกับเด็กชายพิม จนกระท่ังสามารถสงใหเรียนจนจบมัธยมไดสําเร็จ แตใน
ระหวางการเรียนน้ัน พิมจะตองเผชิญหนากับความดูหมิ่นเหยียดหยามของนักเรียนท่ีเปน
คนในวรรณะสงู กวา และครู-อาจารยที่เกิดในตระกูลสูงศักด์ิหลายเร่ืองที่กลายเปนความช้ํา
ใจในความทรงจําของพมิ เชน การแสดงอาการขยะแขยงครูและเพ่ือนรวมชั้นแสดงรังเกียจ
ในความเปนคนวรรณะตํ่าของทาน ทานไมไดรับอนุญาตแมแตการที่จะไปน่ังบนเกาอ้ีใน
หองเรียน ทานตองเลือกเอาที่มุมหองแลวปูกระสอบน่ังเรียนอยูอยางน้ัน แมแตเวลาจะสง
งานตออาจารย อาจารยก็มีทีทารังเกียจ ไมอยากจะรับสมุดของทาน เวลาที่เขาถูกสั่งใหมา
ทําแบบทดสอบหนาชน้ั เรียน นักเรยี นในหอ งทเี่ อาปนโต หออาหารท่นี าํ มากินท่โี รงเรียนวาง
ไวบนกระดานดําก็วิ่งกรูกันไปเอามาไวกอน เพราะกลัววาความเปนเสนียดของพิมจะไปติด
หออาหารของพวกเขาท่ีวางอยูบนกระดานดํา แมแตเวลาที่ทานจะไปด่ืมนํ้าที่ทางโรงเรียน
จัดไว ทานก็ถูกหามอยางเด็ดขาดท่ีจะไปจับตองแท็งกนํ้าหรือแกวท่ีวางอยู ส่ิงเหลาน้ีเปน
การแสดงความรังเกียจวาเสนียดของทานจะไปติดที่แกวน้ํา ทานตองขอรองเพ่ือนๆ ท่ีพอมี
ความเมตตาอยูบาง ใหตักนํ้าแลวใหพิมคอยแหงนหนา อาปาก ใหเพ่ือนเทนํ้าลงในปาก
ของพิม เพื่อปองกนั เสนียดในความเปนคนตางวรรณะของทาน ซึ่งเปนความนาเจ็บชํ้าใจยิ่ง
นัก อยางไรก็ตาม ในโลกนก้ี ไ็ มใ ชว า จะมีแตยกั ษมาร ครูคนหนึ่งซึ่งเปนวรรณะพราหมณ แต

๑ อริยะวงั โส, ดร.อัมเบดการรัตนบุรุษแหงชมพทู ว,ี (กรงุ เทพมหานคร: พิมพโดยสํานักพิมพ
ดีเอ็มจี, ๒๕๕๓), หนา ๒๐๔.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน ๑๖๓

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบรุ ษุ ผูนําพุทธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ มู ิ

เปนผูมีเมตตาผิดกับคนในวรรณะเดียวกัน บางครั้งครูทานนี้ก็จะแบงอาหารของตน
ใหกับพิม แตเขาก็แสดงออกมากไมได เพราะอาจจะถูกคนในวรรณะเดียวกันเกลียดชังไป
ดวย ครูทานนี้คิดวา เหตุท่ีพิมถูกรังเกียจเพราะความท่ีเปนนามสกุลของทานบงชัดความ
เปนอธศิ ูทร ดว ยความเมตตาครูทานน้ันจึงไดเอานามสกุลของตนเปล่ียนใหกับพิม โดยแกท่ี
ทะเบยี นโรงเรียน ใหเขาใชนามสกุลวา “ดร.อัมเบดการ”๒ พิมจึงไดใชนามสกุลใหมนั้นเปน
ตนมา

หลังจากอดทนตอความยากลําบาก การถูกรังเกียจจากคนรอบขาง ท่ีรูวาทาน
เปนคนอธิศูทรแลว ทานก็ไดสําเร็จการศึกษาจบมัธยม ๖ ซึ่งนับวาสูงมาก สําหรับคน
วรรณะอยางพิม แตมาถึงข้ันน้ี พอของทานก็ไมสามารถที่จะสงเสียใหเรียนตอไปไดอีกจน
จบปริญญาตรี เคราะหดีท่ีในขณะนั้น มหาราชาแหงเมืองบาโรดา ซ่ึงเปนมหาราชาผูมี
เมตตา พระองคไมมีความรังเกียจในคนตางวรรณะ ปรารถนาจะยกระดับการศึกษาแมคน
ระดบั อธศิ ูทร พระองคไดทรงพระราชทานเงินทุนในการศึกษาตอของพิม โดยใหเปนเงินทุน
เดอื นละ ๒๔ รูป ทําใหพิมสามารถเรียนจบปริญญาตรีได เรียนตอที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
กลบั มาสอนในวิทยาลยั ซดิ นาหม

ตอมามหาราชาแหงบาโรดาไดทรงคัดเลือกนักศึกษาอินเดีย เพ่ือจะทรงสงใหไป
เรียนตอทม่ี หาวิทยาลัยโคลมั เบีย ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ พิมพไ ดร บั การคัดเลือกดวย การ
ท่ีทานไดเรียนตางประเทศในคร้ังนี้ทําใหทานไดพบกับส่ิงที่เรียกวา อิสรภาพ และความ
เสมอภาค เพราะที่อเมริกานั้นไมมีคนแสดงอาการรังเกียจทานในความเปนคนอธิศูทร
เหมือนอยางในประเทศอินเดีย หลังจากจบการศึกษาถึงขั้นปริญญาเอกแลว ทานจึงมีช่ือ
เรียกวา ดร.อมั เบดการ และไดเดนิ ทางกลบั มายงั อนิ เดีย

ดร. อัมเบดการ ไดทํางานในหลายๆ เร่ือง หลังจากจบการศึกษาท่ีอเมริกาแลว
ทานไดเปนอาจารยสอนในวิทยาลัยซิดนาหม เมืองบอมเบย ในป พ.ศ. ๒๔๖๑ ตอมาไดรับ
การอปุ ถัมภจากเจาชายแหงเมืองโครักขปูร ซ่ึงเปนผูมีพระทัยเมตตาเชนเดียวกับมหาราชา
แหงบาโรดา ซึ่งปรารถนาท่ีจะถอนรากถอนโคนความอยุติธรรม ที่สังคมฮินดู กีดกันคนใน
วรรณะอื่นๆ ไดทรงอุปถัมภใหคนอธิศูทรมารับราชการในเมืองโครักขปุร แมนายควาญชาง
พระองคก็เลือกจากคนอธิศูทร เจาชายแหงโครักขปุร ไดทรงอุปถัมภในการจัดทํา
หนังสือพิมพ “ผูนําคนใบ” ของ ดร.อัมเบดการเชนอุปถัมภคากระดาษพิมพ และอื่นๆ ซึ่ง
ดร.อัมเบดการไมไ ดเ ปน บรรณาธกิ ารเอง แตอยูเบื้องหลัง และเขยี นบทความลงตีพิมพ ๓

๒ เรือ่ งเดยี วกัน, หนา ๑๐๕.
๓ เรอ่ื งเดยี วกัน, หนา ๑๐๗.

๑๖๔ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั

บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบุรษุ ผนู าํ พุทธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ มู ิ พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ในบทความชิ้นหนง่ึ มีถอ ยคาํ ท่ีนา สนใจ วา “อินเดียเปนดินแดนแหงความเหล่ือม
ล้าํ ต่ําสงู สังคมฮนิ ดนู ัน้ ชา งสงู สงประดุจหอคอยอนั สงู ตระหงาน มีหลายช้ันหลายตอน แตไม
มีบันไดหรือชองทางท่ีจะเขาไปสูหอคอยอันน้ันได คนท่ีอยูในหอคอยน้ันไมมีโอกาสที่จะลง
มาได และจะติดตอกับคนในหอคอยเดียวกันในอีกช้ันหน่ึงก็ทําไมได ใครเกิดในชั้นใดก็ตาย
ในช้นั นน้ั ”

ทานไดกลา วถึงวา สังคมฮินดูมีสวนประกอบอยูสามประการ คือ พราหมณ, มิใช
พราหมณ, และอธิศูทรพราหมณผูสอนศาสนามักกลาววา พระเจามีอยูในทุกหนแหง ถา
เชนน้ัน พระเจาก็ตองมีอยูในอธิศูทร แตพราหมณกลับรังเกียจคนอธิศูทร เห็นเปนตัวราคี
นั่นแสดงวาทา นกาํ ลงั เหน็ พระเจา เปน ตัวราคีใชหรอื ไม

อิทธิพลตอความเคล่ือนไหว ดร.อัมเบดการมีไดมีอิทธิพลตอความเคลื่อนไหว
หลายๆ อยางในอินเดียขณะน้ัน ทานเปนอธิศูทรคนแรก ท่ีไดรับตําแหนงเปนรัฐมนตรี
กระทรวงยุตธิ รรมของอนิ เดีย หลังจากทีอ่ นิ เดยี ไดรับเอกราช เปนผูรวมรางรัฐธรรมนูญของ
อินเดยี ทานเปนผูท่ีช้ีแจงตอท่ีประชุมในโลกสภา โดยการอนุมัติของ ดร.ราเชนทรประสาท
ใหช้ีแจงอธิบายตอผูซักถาม ถึงบางขอบางประเด็นในรัฐธรรมนูญ หนังสือพิมพบางฉบับลง
เหตุการณตอนนี้วา “ดร.อัมเบดการทําหนาที่ชี้แจงอธิบาย เรื่องรางรัฐธรรมนูญตอผูรวม
ประชุม ประดุจพระอุบาลีเถรเจา วิสัชชนาขอวินัยบัญญัติ ในท่ีประชุมปฐมสังคายนา ตอ
พระสงฆ ๕๐๐ มีพระมหากัสสปะเปนประธาน ฉะน้ัน” และทานเปนผูตอสูเพ่ือทําลาย
ความอยุติธรรมท่ีคนในชาติเดียวกันหยิบย่ืนใหกับคนในชาติเดียวกัน แตตางวรรณะกัน
เทานั้น

ดร.อัมเบดการไดพบรักกับแพทยหญิงในวรรณะพราหมณคนหนึ่ง ชื่อวา ชาดา
คาไบ ในโรงพยาบาลท่ีเขาไปรับการรักษาอาการปวย และเปนคร้ังแรกท่ีคนในวรรณะต่ํา
เชนทานไดแตงงานกับคนในวรรณะสูง คือวรรณะพราหมณ และมีคนใหญคนโต
นักการเมือง พอ คา คนในวรรณะตา งๆ มารวมงานแตง งานของทานมากมาย

หลังจากนั้น ดร.อัมเบดการไดลงจากเกาอี้ทางการเมือง ทานถือวาทานไมไดชื่น
ชอบกับตําแหนงทางการเมืองอะไรนัก ท่ีทานเปนรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม ก็เพราะทาน
ตองการทาํ งานเพื่อเรียกรองความถกู ตองใหแกคนที่อยูในวรรณะตํ่าที่ไดรับการขมเหงรังแก
เทานน้ั

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั ๑๖๕

พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ษุ ผูน ําพทุ ธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ มู ิ

๕.๓ การเคลื่อนไหวภาคสงั คม

ดร.อัมเบดการเปนนักกฎหมายที่มีการสูเพื่อความเสมอภาคในสังคมอินเดีย
อาชีพนกั กฎหมายนจ้ี ะเปน โอกาสไดชว ยเหลือรับใชประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอธิศูทรท่ีถูก
ทอดทิ้ง เขาจะไดเปนปากเปนเสียงแทนบุคคลท่ีนาสงสารเหลานี้ในแงกฎหมาย ปญหา
เฉพาะหนาของเขาขณะนั้นก็คือทําอยางไรเขาจึงจะไดรับอนุญาตใหข้ึนทะเบียนเปน
ทนายความและเปดสํานักทนายวามไดเพราะเขาไมมีเงินเลย คร่ันแลวผูชวยขจัดปญหาอัน
ยุงยากของเขาอีกคร้ังหน่ึงก็มิใชใครท่ีไหน คือมิตรแทผูเปนท้ังมิตรและผูมีพระคุณที่เคย
ศึกษารวมกันในอเมริกาและเคยชวยเหลือดร.อัมเบดการคร้ังแลวคร้ังเลาน่ันเอง เขาผูนี้ช่ือ
นาวลั ภาเทนา เพ่ือนแทผูน ้ีไดชว ยเหลือหาเงินใหจาํ นวนหนึ่ง ดังนัน้ ดร.อัมเบดการจึงไดรับ
ใบอนุญาตเปนทนายความและจัดต้ังสํานักงานของเขาข้ึนในเดือนมิถุนายน ๒๔๖๖ ความ
เปนอธิศทู รเสมอื นหนามยอกอกดร.อัมเบดการอยูตลอดเวลา มันเปนเหตุใหเขาดําเนินชีวิต
เปนนักกฎหมายไดไมคอ ยราบร่ืนนัก ประกอบกับบรรยากาศรอบๆ ศาล ทําใหเขาตองตอสู
อยูทุกลมหายใจ ไมวาจะเปนคดีหรือนอกเวลาเนื่องจากบุคคลในท่ีนั้นสวนมากเปน พวก
พราหมณ แตดร.อัมเบดการก็มิไดทอแทใจ เพราะเขาคิดและรูอยูเสมอวา งานทุกอยางจะ
สําเร็จลงไดดวยดีก็ดวยความมานะพยายาม งานทุกอยางตองมีอุปสรรค ที่ใดขาดอุปสรรค
ท่ีนั่นก็หาสมรรถภาพไมได

พวกอธิศูทรหรือพวกนอกวรรณะ ไดรับอิทธิพลทั้งภายนอกและการผลักดันจาก
ภายใน เปนเหตุทําใหพวกเขาตื่นตัวที่จะพัฒนาตนเอง และมีความปรารถนาท่ีจะ
เปล่ียนแปลงระบบสังคมพิการของชาวฮินดู การขยายตัวทางการศึกษา เปนปจจัยใหพวก
ชนชน้ั ต่ําไดม ีโอกาสศกึ ษาและทอ งเทย่ี วเพื่อความรูไปในท่ีตางๆ ได ดังน้ัน ความรูสึกนึกคิด

ทางชาตินิยม (Nationalism) ก็ไดกอตัวข้ึนที่ละนอยๆ อีกอยางหน่ึงท่ีทําใหฐานะของพวก

ชนชั้นต่ําคอยกระเต้ืองขึ้นก็คือ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญไดเร่ิมสรางข้ึนในอินเดีย
ตั้งแตปลายสงครามโลกครัง้ ทหี น่ึงเรือ่ ยมา โรงงานเหลา น้นั ตองการกรรมกรมาก พวกชนชั้น
ต่ํากไ็ ดม โี อกาสเขาทํางานและมีรายไดขึ้นกวาแตกอน ชวยปรับปรุงฐานะของตัวเองใหดีขึ้น
ไดอันสืบเน่ืองมาจากผลของสงครามโลกคร้ังนั้น คล่ืนกระแสแหงความนึกคิดในหลัก
ประชาธิปไตยก็ไดกระจายไปทั่วโลก และอิทธิพลของความนึกคิดอันนี้ก็ไดแพรเขาไปสู
ประชาชนชาวอินเดียเหมือนกัน พวกเขาไดตื่นตัวเกี่ยวกับเสรีภาพ เริ่มพากันเรียกรองเอก
ราชจากอังกฤษ ผูนําของอินเดียทั้งหลายในสมัยนั้นทราบและตระหนักดีวา การที่อังกฤษ
เขาไปมีอํานาจปกครองอินเดียอันเปนประเทศใหญกวาและมีพลเมืองมากกวาต้ังหลาย
เทาน้ัน ก็เพราะประชาชนชาวอินเดียขาดความสามัคคีกันแยกกันเปนกกเปนเหลา อัน
ความแตกสามัคคีกันภายในชาติน้ันเปนภัยรายแรงอยางนี้ ผูน้ันเหลาน้ันจึงไดเริ่มงานดวย

๑๖๖ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน

บทท่ี ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ุษผูนําพทุ ธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

การปฏิรูปทางสงั คม ปลุกใจใหช าวอินเดียมีความรักชาติเปนน้ําหน่ึงใจเดียวกัน แตงานของ
นักปฏิรปู สังคมเหลา น้ันดําเนินไปไมสูไดผลนัก เพราะความเห็นแกตัวของพวกวรรณะสูงยัง
มีมาก และมีวามเช่ือถืออยางฝงหัววา ชนช้ันต่ํานั้นถูกพระเจาสาปมา และเช่ือวาการ
รวมงานกนั อยางชนิดใกลชิดชนิดท่ีวา กินรวมกัน พักผอนรวมกันกับชนวรรณะตํ่าเปนบาป
อยางรายแรง พวกอธิศูทรรูเหมือนกันวา พวกเขามีสภาพเหมือนทาสในสายตาของเพ่ือน
รว มชาติในวรรณะอนื่ และความเปน ทาสนจ้ี ะหมดไปได มิไดข้ึนอยูกับการรอคอยนักบุญผูมี
ใจปราณีมาชวยกําจัด แตข้ึนอยูกับการรักษาผลประโยชนและสิทธิของตนเองของบุคคลผู
ไดร บั ทกุ ข อนั วิสยั ทัว่ ๆ ไปของคนเรา ถา เหน็ เขาออนขอใหก็มักไดใจและยิ่งรังแกผูออนกวา
พอคนอนื่ คิดสขู ้นึ มาบา งก็ออนขอ ลงไปเอง

ดร.อมั เบดการค ดิ อยเู สมอวา เขาจะตอ งทําการปฏิวัติเพ่ือเปล่ียนแปลงโครงสราง
ของสังคมอินเดียเสียใหมและจะตองทําใหสําเร็จ ดังนั้น ในป ๒๔๖๗ ดร.อัมเบดการจึงได
เริ่มงานปฏิรูปสังคมเพื่อยกระดับพวกอธิศูทร โดยไดจัดใหมีการประชุมขึ้นท่ีเมืองบอมเบย
ในเดือนมีนาคม การประชุมคร้ังน้ันมีจุดประสงคสําคัญอยูอยางเดียวคือ เพื่อพิจารณาหา
ชองทางจัดตั้งสถาบันสําหรับเปนศูนยกลางแลกเปล่ียนความคิดเห็นในอันท่ีจะขจัดทุกข
บํารุงสุขใหแกพวกอธิศูทร และจะไดนําเอาความเดือดรอนหรือความยุงยากตางๆ ของเขา
เสนอตอ รัฐบาล เพือ่ หาทางแกไขใหถกู จุดตอไป คร้ันแลวในเดอื นกรกฎาคมในปเดียวกันน้ัน
อันสืบเนื่องมาจากผลของการประชุมในเดือนมีนาคม สถาบันดังกลาวก็ไดถูกสถาปนาขึ้น
โดยมีชื่อวา “พาหิสกริต หิตการินี สภา” (Bahishkrit HitakriniSabha)๔ จุดประสงคของ
สภาก็คือ

๑. เพ่ือสงเสริมการขยายการศึกษาในบรรดาชนชั้นต่ํา โดยจะจัดใหมีหอพัก
นักศกึ ษาขึน้ หรือโดยวิธอี นื่ ใดทีเ่ ห็นวาจาํ เปนหรอื เปน ความตอ งการข้ันมลู ฐาน

๒. เพ่ือสงเสริมการเผยแพรวัฒนธรรมในบรรดาชนชั้นตํ่า โดยเปดใหมีหองสมุด
ประชาชน เปน ศนู ยกลางทางสงั คม

๓. เพอ่ื ความกาวหนาและปรับปรงุ ฐานะทางเศรษฐกิจของชนช้นั ต่าํ โดยจะจัดต้ัง
โรงเรียนอตุ สาหกรรมและเกษตรกรรมขึน้

๔. เพ่ือเปนตัวแทนเสนอความทกุ ขร อ นของชนชน้ั ตาํ่

๔ D.Y. Keer,Ambeckar, p. 55.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน ๑๖๗

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบรุ ษุ ผนู าํ พุทธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ

ประธานของสภานี้ไดแก เซอรคิมานลาล ฮาริลาล (Sir ChimanlalHarilal
Setalvad) สว น ดร.อมั เบดการไดร บั เลือกใหเปน ประธานคณะกรรมการแผนกจัดหา สภา
น้ีไดอุทิศทุกสิ่งทุกอยางเพื่อยกระดับอธิศูทรท่ีถูกย้ํายีน้ันใหมีสภาพทัดเทียมกับชาวอินเดีย
ในวรรณะอ่ืนๆ ท้ังในทางสังคมและการเมือง หาทางสงเสริมการครองชีพของพวกเขาใหดี
ข้ึนโดยลาํ ดบั

แตอยางไรก็ดี จากการรายงานประจําปคร้ังแรก คณะผูทํารายงานเสนอวา “มี
ความจําเปนเหลือเกินท่ีเจาหนาที่และคนงานของสภาสวนใหญจะตองมาจากชนช้ันตํ่า
เพราะถา เลอื กคณะกรรมการและเจา หนาทมี่ าจากบุคคลที่มีสภาพเชนเดียวกัน มีความทุกข
รอนแบบเดียวกัน เขายอมจะทราบขอเท็จจริงไดดีกวาบุคคลท่ีมาจากกลุมอื่นๆ
คณะกรรมการที่ไดรับเลือกนั้นก็ยอมจะทํางานดวยความจริงใจมากกวา งานของสถาบัน
ใดๆ ก็ตามถาเจาหนาที่เอาความเห็นแกตัวเปนท่ีต้ัง ไมมีความจริงใจเสียแลวงานก็หา
ความกา วหนามไิ ด” จากถอ ยแถลงน้ัน ทาํ ใหเราเขา ใจไดวา ตอนแรกๆ เจาหนาที่ของสภานี้
เปน บคุ คลทีม่ าจากวรรณะอื่นเสียเปนสวนมาก และเจาหนาท่ีเหลาน้ันไมเขาใจถึงสภาพอัน
แทจริงของพวกอธิศูทร แตสภาน้ีมีความจําเปนท่ีหลีกไมไดในอันท่ีจะขอความรวมมือบาง
ประการจากชนช้ันสงู มฉิ ะน้นั แลว ก็เทา กับปด ประตขู ังตัวเอง

ความจริง สถาบันองคการตางๆ ก็มีอยูมากที่มีจุดประสงคจะยกระดับฐานะของ
ชนช้ันต่ํา ดร.อัมเบดการ นาจะรวมมือกับองคการหรือสถาบันเหลาน้ัน ซึ่งมีทั้งทุนในการ
ดําเนินงานและกําลังคนอยูแลว งานของ ดร.อัมเบดการ อาจจะไมมีอุปสรรคก็ไดแตดร.
อัมเบดการเห็นวา คําวา “ปฏิรูปสังคม” (Social Reform) นั้น มีสองความหมาย
ความหมายหน่ึงคือ การปฏิรูปครอบครัวของชาวฮินดู อีกความหมายหนึ่งคือ การ
เปลี่ยนแปลงโครงสรางของสังคมฮินดูเสียใหม ตามความหมายหลังนี้จะเรียกวา “ปฏิวัติ
สังคม” ก็ไมผิด และ ดร.อัมเบดการ ตองการจะดําเนินงานของเขาไปตามความหมายอัน
หลังน้ี เพราะเขาไดสังเกตเห็นวา ขบวนการปฏิรูปสังคมท่ีไดเคยจัดตั้งกันข้ึนมานั้น มักจะ
เกี่ยวพันอยูแตเรื่องการแตงงานใหมของแมหมาย สิทธิของสตรี การศึกษาของกุลสตรี การ
แตงงานแบบคลุมถุงชน ฯลฯ และมาลงเอยอยูในประการสุดทายวา เพื่อขจัดระบบวรรณะ
ใหหมดไปจากสังคมฮินดู แตงานของขบวนการเหลานั้นไมไดกาวหนาไปสูเปาหมาย
เทาที่ควร เพราะผูดําเนินการเหลานั้นลวนแลวแตมาจากวรรณะสูง โปรแกรมและทฤษฎี
วางไวสวยหรู แตไมค อยไดนํามาปฏบิ ัติ ทั้งน้เี นอื่ งมาจากชาวฮินดูหวั โบราณเปนจํานวนมาก
มีความคิดเห็นวา ไมมีความจําเปนอะไรเลยที่จะกําจัดระบบวรรณะใหหมดไปจากสังคม
ฮินดู จึงเปนสิ่งที่หลีกไมไดท่ีผูดําเนินงานเหลานั้นจะตองเอาใจคนหัวโบราณเหลานั้นดวย
ยิ่งไปกวาน้ันบางขบวนการดําเนินงานไปเพียงเพื่อหาเสียงนิยมจากชนช้ันตํ่าเทานั้น

๑๖๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน

บทท่ี ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผูนําพทุ ธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

บางครัง้ บบี น้าํ ตาพูดในทส่ี าธารณะวา เกลียดระบบวรรณะ สงสารชนชั้นตํ่าท่ีถูกย้ํายีเหมือน
ไมใชมนุษย เขาจะยอมสละแมกระทั่งชีวิตเพ่ือชวยเหลือพวกวรรณะต่ํา แตเปลานั่นเปน
เพียงยาหอมท่ีพวกอธิศูทรไกรับคร้ังแลวครั้งเลา ผูใหคํามั่นสัญญา พอทํางานสําเร็จดัง
ประสงคแลวไมเคยคิดถึงพวกอธิศูทรเลย ขบวนการหรือบุคคลที่เปนนักปฏิรูปสังคม
เหลานน้ั มิไดมีจุดประสงคในอันจะขจัดระบบวรรณะอยางจริงใจ เขาทําไปเพ่ือจุดประสงค
อยางอื่นมากกวา การชวยเหลืออธิศูทรน้ัน ทําแตวาขอไปท่ีเขาเหลาน้ันเหมือนหมอวางยา
คนไข โดยไมคํานึงถึงสาเหตุของโรค เม่ือพบคนไขบอกวาปวดทองแลวเอายาแกไขหวัดให
คนไขรับประทาน นอกจากไมเกิดผลดีอะไรแลวยังจะเกิดผลรายแกคนไขดวย ในทํานอง
เดยี วกัน ขบวนการจํานวนไมนอยที่ดําเนินงานไปโดยไมคํานึงถึงขอเท็จจริงวาอธิศูทรกําลัง
ตองการอะไร? บางคนทําไปเพอ่ื ใหช าวโลกเหน็ วาตนมเี มตตาปราณีตอชนช้ันตํ่า ซ่ึงเปนการ
กระทําท่ีมิไดออกมาจากใจจริง การศึกษาถือวาเปนปจจัยและเปนงานสําคัญสําหรับการ
ปฏิรูปสังคม แตนักปฏิรูปสังคมของอินเดียในยุคนั้นสักก่ีคนท่ีคิดถึงขอนี้ สวนใหญเอาวัตถุ
อามิสเล็กๆ นอยๆ มาแจกจายแกชนชั้นตํ่า ซึ่งไมเกิดผลอะไรเลย การแกเชนน้ันเปนการ
แกปญหาท่ีปลายเหตุแบบฉาบฉวย วิธีการแบบนี้แหละท่ีนักสังคมสงเคราะหใจทรามและ
นักการเมืองใจเลวนิยมเอามาหลอกคนจนหรอื คนช้ันตาํ่ อยเู ปนประจาํ

ดวยเหตุนเ้ี อง ดร.อมั เบดการจึงไมอยากรวมมือกับขบวนการหรือองคการอื่นๆ ท่ี
ดําเนินงานปฏิรูปสังคมของเขา เขาคิดวาอธิศูทรเทาน้ันท่ีจะรูจักถึงความระทมทุกขของอธิ
ศทู รไดอ ยา งถูกตอ ง ฉะนั้น อธิศูทรเทาน้ันควรทํางานเพ่ืออธิศูทร ดร.อัมเบดการตองการให
พวกอธิศทู รเกิดความรูสึกเช่ือมั่นในตัวเอง และใหเขาใจกับคําวา “การชวยเหลือ” ซ่ึงมี ๒
แบบ แบบหน่ึงคือการชวยเหลือที่ไดรับจากคนอื่น และอีกแบบหน่ึงคือ การชวยเหลือ
ตนเอง การไดรับอาหารเคร่ืองนุงหมที่บุคคลอื่นใหทานมามิใชเปนการชวยเหลือขจัดความ
ทุกขยากของพวกเขาท่ีถาวร เพราะผูใหทานน้ันยอมไมสามารถมานั่งแจกทานอยูได
ตลอดเวลา การชวยเหลือตนเองจึงเปนสิ่งสําคัญท่ีสุด พิจารณาใหดีจะเห็นวา นักปฏิรูป
สังคมท้งั หลายไดดําเนนิ ไปเพือ่ ตอตานการปกครองของตางดาวโดยอาศัยการสนับสนุนของ
ชนชน้ั ต่ําเปน เคร่ืองมือ มากกวาท่ีจะทาํ งานเพอื่ ชนช้นั ตา่ํ หรอื เพ่ือปฏิรปู สังคมอยา งจริงจัง

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั ๑๖๙

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบุรษุ ผนู ําพุทธศาสนากลับคืนสมู าตภุ ูมิ

ในปเดยี วกนั นน้ั ทานมหาตมะคานธี ซ่ึงถูกจับกุมในขอหากบฏไดพนโทษออกมา
ทา นไดเ รมิ่ งานขบวนการกชู าติ ซงึ่ เปน เหตุใหทา นตองถกู จับติดคุกติดตารางจนนับคร้ังไมได
เปาหมายของการดําเนินงานก็คือเอกราชของอินเดีย ดังน้ัน ประชาชนชาวอินเดียจึงเคารพ
ทานใหเกียรติยกยองวา “บิดาแหงเอกราชอินเดีย” ทานไดกอตั้งพรรคการเมืองข้ึนช่ือวา
“พรรคคองเกรส”๕ (Congress party) เปนพรรคท่ีย่ิงใหญและสําคัญไดรับมอบอํานาจ
จัดต้ังรัฐบาลตัง้ แตอนิ เดยี ไดเ อกราชสบื มาจนถึงปจจุบนั (๒๕๑๘)

นโยบายทางการเมืองของทานมหาตมะคานธีน้ัน เปนวิธีการที่นําเอาคําสอนใน
ศาสนามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับการสมัยและสิ่งแวดลอม เพราะคําสอนในศาสนา
น้ันมีอยู ๒ ขั้นดวยกัน คือ ขั้นโลกิยะและโลกุตตระ ทานมหาตมะคานธีนําเอาคําสอนขั้น
โลกิยะมาเปนหลักตอสูทางการเมืองอยางไดผลดีท่ีสุด และกลายเปนปรัชญาการเมืองขึ้น
ใหม เรียกวา ลัทธิคานธี (Gandhism) วิธกี ารท่ที ่ัวโลกรจู ักดีคือ การปฏิบัติตามหลักอหิงสา
ไมเบียดเบียนและทํารายผูอ่ืน ใหอภัยแกทุกคน ทานเคยกลาววา “ถาถูกเขาตบแกม
ดานซา ย กจ็ งหันแกม ดานขวาใหเ ขาตบอีก” ซ่ึงตรงกับคาํ สอนของพระพทุ ธศาสนาท่ีสอนวา
“จงเอาชนะความโกรธดวยความไมโกรธตอบ (อโกเธนชิเนโกธํ) วิธีการอีกอยางอยางหน่ึง
ของทานมหาตมะคานธีก็คือวิธีดื้อแพง ไมใหความรวมมือ (Non-cooperation) สิ่งใดท่ี
เจาหนาที่ของอังกฤษออกคําส่ังถาพิจารณาเห็นแลววาไมเกิดประโยชนหรือเกิดความเปน
ธรรมแกอินเดีย ทานมหาตมะคานธีจะพาบริวารด้ือ ไมปฏิบัติตามถาถูกลงโทษก็ใชหลัก
อหงิ สา จนเปน เหตุใหอ งั กฤษตอ งพา ยแพแกว ธิ กี ารนแี้ ลว พจิ ารณาใหเอกราชแกอินเดยี

สําหรับงานดานปฏิรูปสังคมน้ัน นับวาทานมหาตมะคานธีก็ไดรับการยกยองวา
เปนนักปฏิรปู ท่ีสําคัญคนหน่งึ แตวิธกี ารของมหาตมะคานธีน้ันตรงกันขามกับวิธีการของดร.
อมั เบดการ มหาตมะคานธีเปนคนในวรรณะ เกดิ ในตระกลู แพศย บิดาเปนถงึ นายกรัฐมนตรี
ของรัฐ คานธีเคยศึกษาวิชากฎหมายจากประเทศอังกฤษ เคยมีชีวิตอยูในทามกลางแหง
ความฟุมเฟอย ซ่ึงตรงกันขามกับดร.อัมเบดการ ดังนั้น ยอมเปนไปไมไดที่ทานมหาตมะ
คานธจี ะเขา ใจปญหาชนช้นั ต่ําไดดเี ทาดร.อัมเบดการ มหาตมะคานธียังเชื่อวาระบบวรรณะ

๕ พรรคคองเกรส เปนพรรคการเมอื งทใี่ หญท่ีสุดของอินเดียนับแตอินเดียไดเอกราช อํานาจ
บรหิ ารประเทศก็ตกอยใู นกาํ มือของพรรคคองเกรสมาโดยตลอด ทานเนหรูไดเปนนายกรัฐมนตรีคนแรก
ทานสตรี เปนนายกรัฐมนตรีคนที่สอง นางอินทิราคานธี บุตรสาวของทานบัณฑิตเนหรู เปนนายกคนท่ี
สาม ในชวงนี้พรรคคองเกรสมีความเห็นขัดแยงกันอยางรุนแรงระหวางพวกหัวเกากับหัวใหมจนถึง
แตกแยกแบงออกเปน ๒ พรรค เรียกวาพรรคคองเกรสใหม (New Congress) ซ่ึงมีนางอินทิราคานธี
เปนผูนํา และพรรคคองเกรสเกา (Old Congress) พอแยกกันโดยเด็ดขาดแลวก็มีการเลือกต้ังท่ัวไป
ปรากฏวาพรรคคองเกรสใหมไดรับชยั ชนะอยางทวมทน ไดจัดตั้งรัฐบาลมาจนบัดน้ี

๑๗๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน

บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรษุ ผนู าํ พุทธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

น้ัน ยังเปนส่ิงจําเปนสําหรับสังคมอินเดีย โดยคิดวาระบบวรรณะเปนเอกลักษณพิเศษของ
อนิ เดียซ่ึงไมมีท่ีไหนอีกแลวในโลกนี้ ทานจึงเห็นวาควรรักษาเอาไว เปนแตชวยเหลือชนชั้น
ตาํ่ โดยเฉพาะพวกอธิศทู รใหมโี อกาสไดร บั การศึกษาและมีฐานะทางเศรษฐกิจดีข้ึนเปนใชได
ดงั นน้ั ทานจึงพูดอยเู สมอวา “เอกราชกอ น สิ่งอื่นทีหลัง” แตดร.อัมเบดการมีความเห็นวา
ระบบวรรณะเปนส่ิงเลวรายท่ีสุดในสังคมอินเดีย เอกราชจะไดมาไมยากเลย ถาคนใน
ชาติมีความสามัคคีกัน ไมเกลียดกันเอง ระบบวรรณะเปนระบบท่ีขัดตอหลัก
ประชาธิปไตย เพราะสง เสริมการทําคนใหเปนทาส อันความจริงการกระทําความผิดและ
อาชญากรรมตางๆ เปนเร่ืองของแตละบุคคลมิใชเปนส่ิงที่ถายทอดกันตามสายเลือด ดังนั้น
ดร.อัมเบดการจึงตองการทําลายระบบวรรณะใหหมดไปกอนอื่นใดท้ังสิ้น ถึงแมวาจะเปน
การยากลําบาก แตกต็ องสู ตอ งกระทํา เม่อื มีแนวความคิดแตกตางกันเชนน้ี ดร.อัมเบดการ
จึงตองขัดแยงกับมหาตมะคานธีอยูตลอดเวลา สวนแนวความคิดของใครถูกของใครผิดนั้น
ใหอ ยใู นดลุ ยพนิ ิจของทานผูอาน จะนําขอขัดแยงของบุคคลท้ังสองนีมากลาวเปนตอนๆ ไป
อยางไรก็ดี นักสังคมวิทยาท่ัวไปเรียกทานมหาตมะคานธีวา นักปฏิรูป (Refomer) และ
เรียกดร.อัมเบดการวา เปน นกั ปฏิวัตสิ งั คม (Revolutionist) โดยไมต องใชอ าวธุ

ในปเดยี วกันน้ี ไดมนี ักสังคมสงเคราะหท ีส่ าํ คัญของอินเดยี อกี ทานหน่ึง เดนขึ้นมา
อยูในชั้นแนวหนาคือ ทานเสวาการ (Shavakar) ทานผูน้ีเปนพราหมณโดยกําเนิด เปนนัก
ชาตินิยมและนักสังคมสงเคราะหที่เผชิยกับความทุกขยากนานัปการ เคยติดคุกขอหากบฏ
มาแลวเปนเวลานานถึง ๑๒ ป ก็ไดพนโทษออกมาในปน้ีเชนกัน ทานไดเริ่มงานของทาน
ตอไป ต้งั ขบวนการข้ึนมาชื่อวา ฮินดูมหาสภา เปาหมายในการดําเนินงานก็คือเอกราชของ
อินเดีย สวนดานสังคมนั้น เสวาการ มีความเห็นวาระบบวรรณะตองหมดไปและสังคม
อนิ เดยี ควรรวมตัวกันเปนหน่ึง เพ่ืออินเดียและชาวอินเดียงานของเสวาการมีลักษณะหลาย
อยา งคลายกับงานของดร.อัมเบดการ แตดูเหมือนวางานของเสวาการไมคอยขยายวงกวาง
ออกไปมากนัก เม่ือเปรียบกับงานของมหาตมะคานธีและ ดร.อัมเบดการ มีหลายคร้ังที่เส
วาการไดแสดงความปลาบปล้ืมยินดีกับผลสําเร็จของดร.อัมเบดการ และใหการสนับสนุน
อยา งเต็มที่

ผูนําทั้ง ๓ คน ท่ีกําลังเดนข้ึนมาในระยะเดียวกันน้ี มี ดร.อัมเบดการคนเดียวท่ี
เปนคนนอกวรรณะ เคยมีชีวิตอยางลูกนอกวรรณะ จึงเขาใจถึงปญหาของคนพวกนั้นได
อยางถูกตอง เขาเชอื่ วา ปญหาของพวกอธิศูทรจะหมดไปไดก็โดยพวกอธิศูทรรูจักชวยตัวเอง
และพยายามชวยตวั เองใหไ ด ดร.อัมเบดการก ลา ววา ถึงเวลาแลวท่ีสังคมฮินดูจะตองเคารพ
ถึงหลักความยุติธรรมและความเสมอภาค ความยุติธรรมและความเสมอภาคนี้ จะไมวัน
เกดิ ข้ึนไดถาหากพวกอธิศทู รยงั มวั รอคอยความเมตตาปราณีจากคนในวรรณะอื่นอยู โดยไม

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบนั ๑๗๑

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผูน ําพุทธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ ูมิ

คดิ ที่จะยืนอยบู นลําแงของตนเอง เขาคดิ วาจะเปนการดีทีเดียวถาจะบอกใหผูเปนทาสรูเสีย
ทีวาเขาเปนทาส ซ่ึงจะทําใหผูเปนทาสน้ันรูสึกขยะแขยงตอความเปนทาสของตน เขาปลุก
ใจพวกอธิศูทรใหเกิดความเชื่อม่ันตนเอง คิดชวยตนเองและสรางความเปนไท ความเสมอ
ภาคกับคนในวรรณะอืน่ ใหเกดิ ขึน้ ครง้ั หน่ึง เขาไดกลาวคาํ ปราศรยั ดวยน้ําเสียงอันหาวหาญ
และเราใจพวกอธิศูทรวา “หัวใจของขาพเจาแทบแตกสลายที่ไดพบภาพอันนาสงสารบน
ใบหนาพวกทาน ไดยินเสียงอันเศราสรอยของพวกทาน พวกทานไดคร่ําครวญมาเปน
เวลานานแสนนาน และพวกทานไมรูสึกอายบางหรือท่ีจะปลอยใหความเปนผูไรที่พึ่งน้ีมี
อยูตอไป เหมือนกับวาเปนสิ่งท่ีหลีกเล่ียงไมได ทําไมพวกทานจึงไมตายเสียดีกวาจะอยู
เปนมนุษยแบบทาสเชนน้ี ทําไมพวกทานจึงพากันสรางภาพแหงความเศราความระทม
ทุกขใหมันเลวรายลงไปอีก ชีวิตของพวกทานมันชางนาเกลียด นาชัง นาขยะแขยง ทาน
ปลอ ยใหเปนไปเพ่ือใหหนักโลกทําไม? ถาทานไมสามารถสรางและดําเนินชีวิตแบบใหม ไม
สามารถสรางตนเองใหกระปร้ีกระเปราขึ้นใหม พวกทานควรตายเสียดีกวา เพ่ือใหโลกมี
ภาระนอยลง ความจริงมันเปนสิทธิอันชอบธรรมของพวกทานท่ีจะไดรับอาหาร มีท่ีอยู
อาศัย มีเครื่องนุงหมในผืนแผนดินน้ีในสวนเสมอภาคกันกับทุกๆ คน ไมวาสูงหรือต่ํา ถา
ทานท้ังหลายเช่ือในการดําเนินชีวิตอยางนานับถือ เช่ือการพ่ึงตนเองวาเปนท่ีพ่ึงประเสริฐ
ที่สุด”

งานของ พาหิสกริต หิตการินี สภา ไดเร่ิมสรางความหวังและแววแหงความเปน
จริงก็ไดเร่ิมปรากฏขึ้นมาทุกที ในป ๒๔๖๘ สภาไดกอตั้งโรงเรียนและหอพักนักศึกษาข้ึน
สําหรับบุคคลช้ันต่ําสภาตองใชจายเงินมาก ในการจัดหาเครื่องนุงหม อาหาร คาอุปกรณ
การศึกษาใหแกนักศึกษา สภาไดเร่ิมปลูกฝงนักศึกษาใหรักการคนควาหาความรู รักงาน
ชวยเหลือสังคม ดวยความชวยเหลือของนักศึกษาสภาไดออกนิตยสารฉบับหน่ึงช่ือวา
“สารัสวดี วิลาส” (Saraswati Vilas) สภายังไดจัดตั้งหอสมุดขึ้นที่บอมเบยเพื่อใหบุคคล
ช้ันตํ่าไดมีโอกาสคนควาหาความรูและจัดทีมนักกีฬาของพวกชนชั้นต่ําขึ้น จุดประสงคและ
ความหวังก็คือ เพื่อเปนท่ีจูงใจใหชนช้ันตํ่าเลิกม่ัวสุมอยูกับการปลอยเวลาใหหมดไปโดยไม
ทําอะไรเลย หรือเลิกม่ัวสุมอยูกับอบายมุข เชน การดื่มสุราเมรัย การพนัน เปนตน ถาเขา
หันมาสนใจการอา นหนงั สอื มาเลน กีฬา ก็จะทําใหพวกเขาไดรับการพัฒนาตนเองพรอมกัน
ท้งั ทางรา งกายและจิตใจ นับวาเปน โยบายท่ีนา สรรเสริญของสภามากทีเดยี ว

บัดนี้ ดร.อัมเบดการ ไดเร่ิมชนะใจพวกชนชั้นตํ่าทั้งหลายแลวในฐานะที่เปนนัก
กฎหมาย เขาไดพยายามสรางจุดเดนใหแกตนเองทีละนอยๆ คร้ังหน่ึง เขาไดวาความให
จําเลยคดีหน่ึงในขอหาหม่ินประมาท เพราะจําเลยไดพิมพหนังสือเปนรูปใบปลิวโจมตีพวก
พราหมณ โดยกลาววา อินเดียไดถูกทําลายใหยอยยับไปมิใชใครที่ไหนเลย แตโดยพวก

๑๗๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั

บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผนู าํ พุทธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ มู ิ พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

วรรณะพราหมณในอินเดียน้ีเอง ในคดีนี้เอ็มเบดการไดสรุปอยางเฉลียวฉลาดและใชคําพูด
อยางเผ็ดรอนและคมคาย ผลปรากฏวา ศาลตัดสินใหจําเลยเปนฝายชนะ ชัยชนะคร้ังน้ีทํา
ใหชื่อของดร.อัมเบดการดังขึ้นราวกับเสียงพลุระเบิด มันเปนชัยชนะทั้งในดานสวนตัวและ
ในดา นสงั คมดว ย เขาจึงกลายเปนเปาสายตาของนกั กฎหมายทั้งหลาย และทําใหประชาชน
เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถของเขาในดานกฎหมายมากขึ้นโดยลําดับ ซ่ึงตอนเขามา
เปนทนายความเม่ือสําเร็จวิชากฎหมายมาจากอังกฤษใหมๆ ไมคอยมีใครใหความสนใจ
เทา ไรนกั

ดังท่ีกลาวมาแลววา ดร.อัมเบดการเปนผูรูจักความทุกขและความตองการอัน
แทจ รงิ ของพวกอธศิ ูทร เพราะเขาเกิดมาจากสิ่งแวดลอมอันเดียวกัน มีความเจริญเติบโตมา
ในสิ่งแวดลอมอันนนั้ เขามิไดวางตัวเปนนายของพวกอธิศูทร ตรงขาม เขาทําตนใหเปนทั้งที่
พ่ึง เปนท้ังผูนํา และเปนทั้งเพื่อน เขาเปนบุคคลท่ีไดรับการศึกษาดีผูหน่ึงของอินเดีย ทั้ง
เปนผูมีความสามารถเปนพิเศษอีกดวย แตเขามิไดลืมตัวเลยเขาคิดเสมอวา อดีต เขาคือ
บุคคลท่ีถูกตองไมไดของพวกพราหมณ บัดนี้ เขาปลีกตัวไปคบกับพวกพราหมณ พวก
พราหมณก็คงไมรังเกลียดเหมือนแตกอนเปนแน แตดร.อัมเบดการผูท่ีเกิดมาเพื่อเช็ดนํ้าตา
เพ่ือนรวมวรรณะไมคิดทําเชนน้ัน เขาอยูคลุกคลีกับอธิศูทรอยูตลอดเวลา บานของเขาเปน
แฟลตทถี่ กู สรางข้นึ เพื่อชนช้ันตาํ่ แฟลตนั้นมี ๓ ช้ัน แตละช้ันมีประมาณ ๘๐ หอง (คือ ๘๐
ครอบครัว) ซ่ึงไมมีความสะดวกสบายเอาเสียเลยก็วาได เพราะแตละช้ันมีหองนํ้า ๒ หอง
ซึ่งทุกครอบครัวใชรวมกัน มีกอกน้ํา ๒ กอก สําหรับอาบนํ้า ซักเส้ือผา ทําความสะอาด
ตลอดถงึ สาํ หรับหุงหาอาหาร ดร.อัมเบดการก ็อดทนอยไู ดอ ยางไมเดือดรอน

พดู ถึงสํานักงานทนายความ เขาไดเชาหองเล็กๆ หองหนึ่งอยูใกลๆ แฟลตนั่นเอง
บางครัง้ บุคคลผูมีเกียรติมีชื่อเสียงมาเยี่ยมโดยมิไดนัดหมายก็มักจะพบเขาที่สํานักงาน และ
มักจะอยูในสภาพแตงตัวไมเรียบรอยเสมอ คือบางทีก็ไมใสเส้ือ เปนตน และเขาก็ตอนรับ
แขกในสภาพเชนนั้นเอง ครั้งหน่ึง มหาราชาแหงโคลัคปูระ ไดเสด็จมาเย่ียมดร.อัมเบดการ
ถึงสํานักงานของเขาโดยมิไดนัดหมายไวกอน ดร.อัมเบดการก็รีบวิ่งไปแตงตัวและตอนรับ
มหาราชาที่หองอานหนังสือของเขา ในหองน้ันทุกส่ิงทุกอยางจัดไวอยางเรียบๆ ธรรมดา
ท่สี ดุ ไมมีของมีคา อะไรเลย ทําใหมหาราชาทรงพอพระทัยมาก ที่ไดทรงเห็นดร.อัมเบดการ
เปนอยูอยางงายๆ สมเปนผูนําของชนช้ันตํ่าที่อุทิศทุกอยางเพ่ืองาน มิไดเพ่ือตนเองท้ังท่ี
ขณะน้ีตําแหนงการงานของเขาก็ไมใชตํ่าเลย ดร.อัมเบดการเปนคนของสังคมและเปนนัก
กฎหมาย เขาไดอ ทุ ศิ เวลานอยมากในดานการศึกษา แตมใิ ชว าเขาจะทิ้งไปเสียเลย เขายังได
ทาํ การสอนวชิ ากฎหมายในสถาบันแหงหนึ่งในบอมเบย และเขาไดรับแตงต้ังใหเปนสมาชิก
ของสภานิติบญั ญตั ิของรฐั บอมเบยอ กี ดวย

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบนั ๑๗๓

พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบุรษุ ผูนาํ พทุ ธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ ูมิ

เพราะความเฉียบแหลมและคมคายในการวาความ ทําใหช่ือของดร.อัมเบดการ
ไดกระจายไปทั่วทุกสารทิศ ประชาชนไมวาไกลหรือใกลเมื่อมีปญหาเก่ียวกับเรื่องคดีตางๆ
จะตองบุกบ่ันมาขอความชวยเหลือจากเขา สวนมากเปนคนชั้นตํ่าหรือพวกอธิศูทรน่ันเอง
ดร.อัมเบดการไดพบความเศราความระทมทุกขจากใบหนาอันแสนซื่อของบุคคลเหลาน้ัน
ทําใหเขาพลอยรันทดใจไปดวยแตมิใชวาเขาจะทอแทในการทํางานเพื่อหมูชนของเขา ตรง
ขามกลับทําใหเขามีมานะมากข้ึนเขาไดใหคําแนะนําและการชวยเหลือในการใหคําปรึกษา
แกผ ทู ี่มาขอความชว ยเหลือเหลาน้นั ดว ยความบรสิ ุทธ์ิใจ และไมคิดคาปวยการอีกดวยความ
ฝนและจินตนาการของเขามีเพียงวา วันหน่ึงขางหนาสังคมฮินดูจะตองยอมรับความเสมอ
ภาคของชนชั้นตํ่าตามที่เขาจินตนาการ ทําใหเขาสดช่ืนและสุขใจเปนที่สุด เขาเทาน้ันท่ีจะ
เปนผูสามารถผลกั ดันใหโ ฉมหนาของสังคมฮินดู หันไปสจู ดุ หมายทเี่ ขาตองการได

บัดน้ี เงาแหงความขี้ขลาด ความกลัว ความทอแทในชะตาชีวิตไดหมดไปอยาง
ส้ินเชิง แสงแหงความเชื่อม่ันตนเองไดทวีความแกกลาขึ้นตามลําดับ บุคคลช้ันตํ่าท้ังหลาย
กําลังจองตาเฝามองแสงสวางดวงน้ัน ดวยความหวังและสนใจย่ิง และเรากําลังศึกษามาถึง
จุดสําคัญของชีวิตดร.อัมเบดการ คือ ดร.อัมเบดการเริ่มรุนแรงโตตอบบุคคลที่พากันสมมติ
ตนวาเปนผูสูงศักด์ิ เปนเลือดเนื้อเชื้อไขของพระเจาดวยวิธีรุนแรงทั้งในดานกําลังและดาน
สติปญญา คร้ังหนึ่ง เขาไดเปนประธานในประชุมชนชั้นต่ําท่ีเมืองมะฮาด (Mahard) ท่ี
อําเภอโคลาบา (Colabar) อยูในรัฐบอมเบย ซ่ึงมีพวกชนชั้นตํ่าไดหลั่งไหลมาจากที่ตางๆ
เพ่ือเขารวมประชุมมีจํานวนหมื่นกวาคน สาเหตุที่เกิดมีการประชุมข้ึนในครั้งน้ีก็เพราะวา
รัฐบาลของรัฐบอมเบยไดอ อกพระราชบัญญัตใิ หสรา งท่เี ก็บนาํ้ สาธารณะขน้ึ เพ่ือใหใชรวมกัน
ของชนทุกช้ัน โดยเฉพาะก็เพ่ือประโยชนของชนช้ันต่ํา แตผลปรากฏวา พอสรางเสร็จแลว
ชนชั้นตํ่าถูกหามใชน้ํา คงมีแตชนในวรรณะอ่ืนไดรับประโยชนจากที่เก็บนํ้านั้น เวลาที่พวก
ชนช้ันต่ําไปใชน้ําจะถูกไลตีบาง เอากอนอิฐกอนดินปาใสบาง บางคร้ังไดรับบาดเจ็บมาก
ดังนั้น จุดประสงคของรัฐบาลท่ีจะสรางท่ีเก็บนํ้าสําหรับคนชั้นต่ํา จึงไมเปนไปตามความมุง
หมาย กฎหมายกเ็ ลยกลายเปนเพยี งกระดาษเปลา ๆ เทา นนั้

ในการประชุมครั้งนี้ ดร.อัมเบดการไ ดม องดูประชาชนท้งั ชายหญิงที่มาสูที่ประชุม
ดวยความสงสารยิง่ นัก ลวนแลวแตยากจนบางคนไมมีเส้ือจะใส บางคนเสอื้ ผาว่ินกระรุงกระ
ริ่ง บางคนดูทาทางหิวโหยแตดวงตาของพวกเขาสดใสสอใหเห็นถึงความบริสุทธ์ิและ
ความหวัง ดร.อัมเบดการไดเริ่มกลาวคําปราศรัยดวยถอยคําธรรมดางายๆ ใชประโยคส่ันๆ
เพื่อใหบุคคลท่ีไรการศึกษาไดเขาใจดวยตนเองวา ตัวเขาพูดอะไรและมีความหมายอยางไร
เอ็มเบดการไดบรรยายถึงตอนที่เขาเขารับการศึกษาเบ้ืองตน ซึ่งภาพในโรงเรียนไดสราง
ความขมข่ืนใหเขาอยางมิมีวันที่จะลืมได แตขณะเดียวกันก็ทําใหเขาสุขใจและมีความหวัง

๑๗๔ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั

บทท่ี ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรษุ ผูนาํ พทุ ธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ ูมิ พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ในสมัยนั้น บรรยากาศเต็มไปดวยความจงเกลียดจงชังพวกอธิศูทร บางครั้งเขาแทบหมด
กาํ ลังใจในการท่ีจะเรียนตอไป แตเพราะความอดทนเทาน้ัน ทําใหเขาฝาฟนบรรยากาศน้ัน
มาไดดวยความสําเร็จและเขากลาวยํ้าวา “การศึกษาเปนสิ่งจําเปนท่ีสุดสําหรับพวกชนชั้น
ต่ํา ดังน้ัน ขอใหทุกคนพยายามหาความกาวหนาในทางการศึกษาดวยความมานะอดทน”
ขอความในคําปราศรัยอีกตอนหนึ่งท่ีกองกังวานมิใชแตในท่ีประชุมเทานั้น แตกองไปทั่วทุก
แหงหนในดินแดนชมพูทวีป เขากลาววา การออกกฎหมายเลิกมิใหอธิศูทรเขารับราชการ
ทหารน้ัน เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหฐานะของอธิศูทรเลวลงอยางหนัก โดยกลาววา “การรับ
ราชการทหารเปนการเปดโอกาสใหพวกเราไดดําเนินชีวิตการครองชีพใหดีขึ้น มันเปนขอ
พิสูจนใหเห็นถึงความสามารถ ความเฉลียวฉลาด ความกลาหาญอดทน ซื่อสัตยตอหนาที่
ของพวกอธิศูทร ในอดีต พวกอธิศูทรสามารถเปนครูในโรงเรียนของกองทัพตางๆ ที่จัดไว
สําหรับบุตรของทหาร ผลงานในสมัยโนนไดชี้ใหเห็นถึงความสามารถของอธิศูทรไดเปน
อยางดี” และดร.อัมเบดการไดเนนอีกวา “มันมิใชอะไรทั้งหมด แตสมควรจะเรียกวาการ
ทรยศ เพราะเม่ืออังกฤษตองมีภาระทําสงครามกับฝรั่งเศส ก็มิใชพวกอธิศูทรนี้หรอกหรือท่ี
ไดช วยสรา งความเปนจักรวรรดิใหแกอังกฤษ แตบัดน้ี รัฐบาล (ตอนนั้นอินเดียยังอยูภายใต
การปกครองขององั กฤษ) ไดปดประตกู ารเขา รบั ราชการทหารของพวกอธิศูทร การทําอยาง
นไ้ี มเรียกวาทรยศแลวจะใหเ รยี กวาอยางไรดี” เขาไดกลา วจูงใจประชาชนตอไปอีกวา “ไมมี
ความกา วหนา อนั ใดทีพ่ วกเราจะไดรับ ถาหากพวกเราไมยึดม่ันอยูในวิธีการ ๓ ประการ คือ
ประการที่หนง่ึ เราจะตองปรบั ปรุงความประพฤติของพวกเราเองใหคนที่สังคมพึงปรารถนา
ประการทสี่ อง พดู จาใหไพเราะเปนท่ีนาฟง ประการทสี่ าม สรางแนวความคิดใหมใหเกิดขึ้น
แกเราเอง การคิดวาเราถูกพระเจาสาปมาใหเปนอธิศูทรแลว เราจะตองเปนอธิศูทรจน
วันตายนั้น เปนความคิดที่ผิด ถาคิดเชนน้ันแสดงวาเราสาปตัวเราเอง มิใชพระเจาที่ไหน
เลย ดงั นนั้ ขาพเจาอยากจะวิงวอนใหทานทั้งหลายจงปฏิญาณตนเสียแตวินาทีน้ีวา จะเลิก
เก็บกินเศษอาหารท่ีเขาทิ้งตามกองขยะ๖ บัดน้ี เปนสมัยที่เราจะตองสรางรากฐานจิตใจ
ของเราใหคํานึงถึงเกียรติในความเปนมนุษย เราจะตองแกปญหาชีวิตดวยความมานะ
พากเพียร มิใชดวยการเท่ียวเก็บเศษอาหารที่เขาโยนทิ้งแลวมากิน ถาเราศึกษาถึงการรูจัก
ชวยตนเอง การเคารพและเช่ือม่ันตนเอง และเพ่ิมพูนความรูใหตนเอง เราก็จะสามารถ
ยกระดับของเราเองไดอยางไมมีปญหา” ในท่ีสุด ดร.อัมเบดการไดสรุปคําปราศรัยของเขา
ดวยเสียงอันหนักแนนวา “ไมมีอะไรผิดแปลกกันเลยระหวางความเปนบิดา มารดา กับ

๖ พวกอธิศูทร ชอบหาเก็บอาหารกินตามกองขยะ เพราะเหตุแหง ความยากจนนั่นเอง สภาพ
แบบนแี้ มในปจจบุ ันกย็ ังมใี หเห็นอยทู ัว่ ไปในประเทศอนิ เดยี .

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน ๑๗๕

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบรุ ษุ ผูนาํ พทุ ธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ

ความเปนสัตว ถาบิดามารดาเหลาน้ันไมปรารถนาท่ีจะเห็นความกาวหนาของลูกๆ ใน
การศกึ ษา และมฐี านะดกี วาบดิ ามารดา”

ผลของการประชุมในคร้ังนั้น เขาไดเสนอใหรัฐบาลไดชวยออกกฎหมายพิเศษ
หามอธิศูทรเก็บกินเศษอาหารในกองขยะ ใหรัฐบาลขอความรวมมือกับคนในวรรณะอ่ืน
ชวยอธิศูทร โดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน โดยใหเขาไดมีโอกาสไดทํางาน ไดกรุณาใหอาหาร
แกนักศึกษาที่เปนอธิศูทรโดยไมคิดมูลคา และประการสุดทาย ขอรองใหรัฐบาลไดจัด
การศกึ ษาภาคบังคบั ใหแกเด็กอธิศูทรโดยไมคิดมูลคา ตลอดถึงการจัดหอพักใหนักศึกษาอธิ
ศูทรอกี ดวย

กิจการเกี่ยวกับการประชุมในคราวน้ัน ในวันแรกๆ ไดมีบุคคลในวรรณะ
พราหมณหลายคน ทงั้ ทม่ี ีภมู ลิ าํ เนาอยูในเมืองนั้นและมาจากเมืองอ่ืน ไดถูกเชิญใหกลาวคํา
ปราศรัยในที่ประชุมน้ัน พวกพราหมณเหลาน้ีเปนพวกท่ีมองเห็นการณไกล เห็นภัยพิบัติที่
จะเกิดขึ้นจากการกดขี่ขมเหงพวกอธศิ ูทรทงั้ ในทางตรงและทางออม ฉะนั้น คําปราศรัยของ
พวกเขาจึงเปน ไปในทาํ นองเดียวกนั กับทกุ คนวา พวกเขารูสึกเห็นใจพวกอธิศูทร และพรอม
เสมอที่จะสนับสนุนพวกอธิศูทรตอสูเพื่อสิทธิมนุษยชน พูดกันดวยความยุติธรรมแลว อาง
เกบ็ นา้ํ นั้นถูกสรา งขน้ึ เพ่อื ชนชั้นตํ่าแทๆ แตบุคคลช้นั ต่ําเพยี งแตเ ดินผา นไปใกลๆ ก็ไมไ ด

ดร.อัมเบดการไดพิจารณาอยางถ่ีถวนแลวตัดสินใจอยางเด็ดเด่ียว ในการที่จะใช
สิทธขิ องตนและของอธศิ ทู รทง้ั หลายโดยชอบธรรม การดําเนนิ เพ่อื กเู อกราชก็ดูเหมือนจะไม
ยุงยากเทากับงานปฏิวัติสังคมของชาวอินเดีย เพราะเปนการกระทําที่ขัดตอความรูสึกท่ีฝง
อยูในสายเลือดของพวกฮินดูหัวเกา สวนใหญที่มีอิทธิพลทั้งทางดานเศรษฐกิจและอํานาจ
ทางการเมือง แตมนุษยใจเพชรอยางดร.อัมเบดการไมเคยคิดยอมแพตออุปสรรคเลยแมแต
นอย เขายดึ มัน่ อยูเ สมอวา ธรรมยอมชนะอธรรม เขาตอสูเพื่อความเปนธรรมถาชีวิตเขาจะ
สูญส้ินไปเพราะการกระทําเพื่อความเปนธรรมแลวไซร เขาก็ยอมที่จะพลีชีวิตของเขาได
เสมอบุคคลที่อยูในวรรณะเดียวกับเขาไดถูกกดขี่มาหลายชั่วอายุคนแลวถาปลอยใหเปนไป
อยางน้ี ก็จะไมมีวันท่ีจะไดรับความเปนไทเลย ดังน้ัน เหตุการณที่นาต่ืนเตนก็ไดปรากฏข้ึน
มันเปนการกระทําที่ตอตานความเปนทาส ตอตานระบบวรรณะ ตอตานพวกพระที่เห็นแก
ตัว เอมเบ็ดการไดเดินนําหนาพวกอธิศูทรที่มารวมประชุมมุงไปสูอางเก็บนํ้า ที่บุคคลใน
ศาสนาอื่น เชน อิสลาม และคริสเตียน เปนตน มีโอกาสและมีสิทธิใชนํ้ารวมกับบุคคลท่ี
สมมติตนเองวาเปนพวกวรรณะสูงของฮินดูได สวนพวกอธิศูทรผูเคารพบูชาพระเจาองค
เดียวกัน ปฏิบัติตามแนวคําสอนอันเดียวกันกับพวกฮินดูอื่นๆ คอแหงกระหายนํ้า กลับถูก
หา ม แมจะดื่มสักหยดเดียว ประเพณีหรือความเช่ืออันปาเถื่อนน้ี กําลังจะถูกดร.อัมเบดการ
ทําลายลง เอ็มเบ็ดการืไมมีอาวุธอยูในมือ ไมมีกําลังทหาร ไมมีกําลังตํารวจสนับสนุน แตมี

๑๗๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบนั

บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผนู าํ พุทธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

พลังของประชาชนจาํ นวนหม่ืนแวดลอมท่ีพรอมจะปฏิบัติตามคําแนะนําของดร.อัมเบดการ
ทุกอยาง การไดผูนําท่ีเขมแข็งก็ทําใหพวกเขามีกําลังใจเขมแข็งไปดวย และยังใหขอคิดวา
“ถาไมต อสูกม็ ีสภาพเกิดมาเปน ทาส มีความเปน อยแู บบทาส และกต็ ายไปแบบทาส ถาตอสู
อาจไดรับความเปนไท ถาตายเสียกอนความหวังจะสําเร็จ ก็ยังเรียกวาผูตอสู ผูกลาหาญ”
พอ ดร.อัมเบดการนําคลื่นมนุษยไปถึงอางเก็บนํ้าแลว ก็ไดตักเอานํ้าข้ึนมาดื่มเปนคนแรก
และฝูงชนนั้นก็ไดปฏิบัติตามเพื่อแสดงใหเห็นวา น่ันคือสิทธิอันชอบธรรมของพวกเขา คร้ัน
แลวคลื่นมนุษยน้ันก็พากันกลับไปยังปะรําที่พักอยางสงบน่ีแหละปราชญบางคนจึงกลาววา
“ความสาํ เร็จของคนเรากค็ ือการกระทาํ ”

ตอจากนั้นอีก ๒ ช่ัวโมง เหตุการณที่ไมคลาดคิดก็ปรากฏข้ึนคือพวกวรรณะ
พราหมณไดโมเมเองวา พวกอธิศูทรมีแผนการจะเดินขบวนเขาไปในวัดของฮินดูอีก พวก
เขาจึงพากันถือไมบาง มีดบาง ปนบางเปนอาวุธเทาท่ีจะหาได เมืองนั้นทั้งเมืองมีสภาพ
เหมือนอยูในสถานการณสงคราม ความจริงก็เปนเชนนั้น คือสงครามเพื่อความเปนไท แต
เปนที่นาสังเกตอีกฝายหนึ่งมีอาวุธ อีกฝายหนึ่งมีแตมือเปลา ในสภาพการณเชนน้ีจะวาอธิ
ศูทรตาขาว ขี้ขลาด หรือพวกอวดทระนงคิดวาตนดีเลิศกวามนุษยอื่นเปนคนขี้ขลาดกันแน
พวกพราหมณสงเสียงโพนทะนาโหรองวา ศาสนาฮินดูกําลังไดรับอันตราย จะเกิดเปน
มลทินคิดดูใหดีชางนาสมเพชเสียจริง มีอยางที่ไหนศาสนาจะเปนมลทินเพราะคนท่ีนับถือ
ศาสนาเดียวกันเขาไปในวัดไปไหวพระองคเดียวกัน แตพวกอิสลามที่ฆาวัวกินพระเจาฮินดู
เปนอาหาร พวกฮินดูยังยอมรับนับถือใหพวกอิสลามใชบอนํ้ารวมกันไดโดยไมคิดวาจะเปน
มลทินเลยแมแ ตนดิ เดียว อยางนี้จะเรียกวาโงห รอื เขลากส็ ุดแทเถดิ

ครั้นแลวพวกพราหมณพรอมดวยอาวุธ กรูกันเขาไปสูปะรําท่ีพวกอธิศูทรอยู
อาศยั ขณะท่มี าเขา ประชมุ ซึ่งขณะนั้นอธิศูทรบางคนกําลังรับประทานอาหาร บางคนกําลัง
เกบ็ ของจะกลบั บาน บางคนกอ็ อกเดินทางกลบั บานแลว พวกพราหมณไ ดท าํ ลายปะรํา แยง
เอาอาหารโยนท้ิงและทุบตีพวกอธิศูทร ตอนน้ัน ดร.อัมเบดการไมไดอยูในเหตุการณ พวก
ผูหญิงและเด็กๆ ตองวิ่งหนีไปขอหลบภัยในบานของพวกอิสลาม พอ ดร.อัมเบดการได
ทราบขาวก็รีบว่ิงมาสูสถานที่เกิดเหตุ และไดตะโกนบอกเจาหนาที่ตํารวจวา “ขอใหคุณ
ควบคุมบุคคลของพวกคุณ ขาพเจาจะควบคุมคนของขาพเจา” พวกอธิศูทรไดพากันมายืน
ลอ ม ดร.อมั เบดการดว ยความแคน และพรอมที่จะปฏิบัติตามคําสั่งของ ดร.อัมเบดการทันที
แตดร.อัมเบดการไมไดส่ังใหตอสู เพราะถาตอสูก็มีแตทางเสียเปรียบเน่ืองจากไมมีอาวุธ
และเปนการกระทําที่ปาเถื่อนซ่ึงคนท่ีมีอารยธรรมแลว เขาจะตองดําเนินไปตามตัวบท
กฎหมายของบานเมืองมิใชตัดสินเอาเองแบบบาๆ ท่ีพวกพราหมณผูถือตัววาเปนผูบริสุทธ์ิ
กําลังทําอยูขณะน้ัน ดร.อัมเบดการไดพบกับหัวหนาพราหมณและแจงใหทราบวา พวกอธิ

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน ๑๗๗

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผูน าํ พุทธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ ูมิ

ศูทรทั้งหลายมิไดมีแผนการจะเขาไปในวัด การท่ีเขาพาอธิศูทรไปตักน้ําในอางมาด่ืมนั้นก็
เพราะอางเก็บนํ้านั้นเปนของสาธารณะ พวกอธิศูทรมีสิทธิโดยชอบธรรมท่ีจะดื่มน้ําที่น้ัน
ตอนนนั้ พวกอธิศทู รไดรับบาดเจ็บหลายคน บางคนอาการสาหัส ดร.อัมเบดการไปตามหมอ
มาใหปฐมพยาบาลแตหมอน้ันกลับเปนพวกพราหมณเสียอีก หมอก็สักแตวาทําไปแบบเสีย
ไมไดและเยาะเยยพวกอธิศูทรเสียดวย คือสมน้ําหนาในการท่ีไดรับบาดเจ็บ น่ีหรือจรรยา
ของหมอทม่ี ีวรรณะเปนพราหมณ ศาสนาสอนใหค นทําความดี มีเมตตาตอมนุษยดวยกันแต
ไฉนพวกพราหมณจึงมีความเช่ืออยา งนา สลดใจเชนนัน้

เตชะบุญ วินาทีแหง การนองเลอื ดก็ไดผานพนไปอยางนาหวาดเสียว พวกอธิศูทร
ไดปฏิบัติตามคําสั่งของผูนําอยาง ดร.อัมเบดการอยางเครงครัด แสดงใหเห็นถึงความมี
ระเบียบวินัยของพวกอธิศูทร ดร.อัมเบดการไดพาพวกอธิศูทรตอสูดวยวิธีท่ีถูกตองตามตัว
บทกฎหมายของบานเมือง ไมไดคิดจะทําลายกฎหมายของบานเมืองอยางท่ีพวกบาวรรณะ
กระทํากนั เลย เพราะการตดั สินใจทถ่ี ูกตองของ ดร.อัมเบดการนี้เอง เหตุการณหนาส่ิวหนา
ขวานจึงผานพนไปได พอดร.อัมเบดการจัดสงพวกอธิศูทรกลับสูภูมิลําเนาไปหมดแลวตัว
เขาเองก็ไดเดินทางเขาสูเมืองบอมเบย และคอยฟงขาวเรื่องที่เกิดขึ้นน้ันอยูเงียบๆ ในท่ีสุด
ปรากฏวา พวกพราหมณตัวการสําคัญไดถกู จบั และบางคนไดถูกศาลตัดสินจําคุก อยางไรก็
ดี ตัว ดร.อัมเบดการเองไดทําการบันทึกเหตุการณคร้ังน้ีวา “ถาเจาหนาท่ีชั้นหัวหนาเปน
ฮินดูแลวอยาหวังเลยวาพวกอธิศูทรจะไดรับความยุติธรรม” นี้ก็ชี้ใหเห็นวาเจาหนาท่ีฝาย
ปกครองในเมืองน้ันไมไดเปนพราหมณความยุติธรรมจึงปรากฏมีขึ้น ถาเจาหนาท่ีเหลาน้ัน
เปน พราหมณแ ลวไซร ไมแ นวา พวกพราหมณจ ะถูกจบั หรือไมดไี มดีพวกอธิศูทรเสียอีกจะถูก
ตัดสินใหเ ปน ผูผ ดิ

เมือ่ ดร.อัมเบดการเดินทางถึงเมืองบอมเบยก็ไดพบวาญาติๆ ของเขาเฝารอคอย
การกลบั ของเขาดวยความหว งใยยิ่ง พีช่ ายคนโตไดแ นะนาํ ดร.อัมเบดการดวยความบริสุทธิ์
ใจวา อยาทํางานอันเส่ียงตออันตรายเชนน้ันเลย แต ดร.อัมเบดการไดพึมพําออกมาสอง
สามคําวา เขารูวาอะไรที่จะเปนผลดีแกเขาเองและมีคุณคาตอสังคม บุคคลที่เปนทุกขมาก
ที่สุดคือภริยาผูซื่อสัตยของเขา เม่ือไดทราบขาวเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในเมืองท่ีสามีหลอนไป
ประชมุ ตวั เธอนอนไมห ลบั เฝาแตออนวอนสวดมนตใหเทพเจาจงไดเมตตาคุมครองสามีเธอ
เม่ือเธอไดพบสามีกลับมาดวยความปลอดภัยเธอไดผวาเขากอดและพร่ําวา เพราะบุญกุศล
ทเี่ ธอสวดมนตไ หวพระแทๆ สามีเธอจึงไดกลับมาหาเธออีกโดยไมไดรับอันตรายใดๆ เลย นี่
แหละวิสัยท่ีดีของภรรยาส่ิงที่จะเปนทุกขเปนภัยตอสามี ตัวเองก็พลอยเดือดรอนไปดวย
ตรงกันขามกลับภรรยาที่ไมซื่อสัตยพอสามีออกจากบานไปทํางาน ตัวอยูทางบานเฝาคอย

๑๗๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน

บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบรุ ุษผนู ําพุทธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ต้ังหนาแตจะประกอบกรรมอันเปนอบายมุข เชน ชอบเลนการพนัน เปนตน สตรีที่ดี
ทง้ั หลายอยา ไดเปนอยางน้เี ลย

ใครจะขอพาทานผูอานยอนกลับมาดูการกระทําโตตอบของพวกพราหมณใน
เมอื งที่เกิดเหตุน้ันอีกคร้ังหน่ึง พวกพราหมณหัวเกาทั้งหลายไดรวมมือกันทําการกลั่นแกลง
อธศิ ูทรรุนแรงยงิ่ นกั บางคนปฏเิ สธไมใ หพ วกอธิศูทรเชาท่ีทําไรทํานา บางคนไลอธิศูทรท่ีมา
ปลูกกระตอบอยูในที่ของตนและหาเร่ืองทะเลาะกับพวกอธิศูทรใหมากท่ีสุด เรื่องเล็กก็
พยายามทําใหเ ปนเรอื่ งใหญตลอดเวลา บางพวกถกู แกลงกลาวหาใหถูกจับเขาคุกเขาตะราง
ไปก็มีเปนจํานวนหลายคน อธิศูทรในเมืองน้ันจะไดรับความลําบากมากพูดถึงอางเก็บนํ้าที่
ดร.อัมเบดการพาพวกอธิศูทรไปตักดื่มนั้น พวกพราหมณก็ไดทําการประชุมกันวา นํ้านั้น
เปนมลทินเสียแลวจะทําใหสะอาดดังเดิมไดอยางไร ในที่สุดลงความเห็นกันวาสถานที่แหง
นนั้ ตอ งฉาบดวยโคมยั (มลู โค) และนมเปร้ียว น้ําในอางน้ันจะตองตักท้ิงดวยหมอดินถึงหนึ่ง
รอ ยแปดหมอ ผูท ่ีจะประกอบพธิ ีนี้จะตองเปนพระของพวกพราหมณ หลังจากทําพิธีแลวนํ้า
นน้ั ก็จะเปน นํ้าบริสุทธิ์ดังเดิมตามความเช่ือถือของพวกเขา สวนพวกอิสลามและคริสเตียนท่ี
ใชนํ้าท่ีเดียวกันน้ัน เขามิไดพากันเดือดรอนเลยแมแตนอยเพราะพวกเขาเขาใจดีวา เพียง
เพ่อื นมนุษยดวยกันไปถูกอางนํ้าจะทําใหนํ้ามีมลทินไปไดอยางไร ตรงขามวิธีการที่ทําใหนํ้า
กลับบรสิ ุทธิ์ของพวกพราหมณน ต้ี า งหากทจี่ ะทําใหน ้ําสกปรกมากยงิ่ ข้ึน

อยางไรก็ดี ชื่อของ ดร.อัมเบดการไดปรากฏอยูในหนาหนังสือพิมพในบอมเบย
ติดตอกันหลายวัน อันสืบเน่ืองมาจากการประชุมของพวกอธิศูทรคร้ังนั้น หนังสือพิมพเอง
ไดแ บง ออกเปน ๒ กลมุ กลมุ หนง่ึ ไมคอ ยแสดงความคิดเห็นอะไรมาก อีกพวกหน่ึงไดชมเชย
การกระทําอันกลาหาญและเด็ดเด่ียวในการที่จะรักษาสิทธิมนุษยชนของ ดร.อัมเบดการ
และตําหนิการกระทําอันนาอดสูของพวกพราหมณในเมืองนั้น โดยกลาววา พวกพราหมณ
เหลาน้ันเปนผูบุกรุก เปนผูทําลายกฎหมายของบานเมือง และแนะนําวารัฐบาลควรจะ
ลงโทษใหหนัก บุคคลสําคัญอีกคนหนึ่งที่ไดสนับสนุนการตอสูของ ดร.อัมเบดการก็คือ
นักปฏิรูปสังคมที่เร่ิมงานพรอมๆ กับดร.อัมเบดการที่ไดกลาวนามมาแลว เขาผูนั้นคือเส
วาการไดกลาวย้ําความเห็นของเขาวา “ความเปนอธิศูทรจะตองกําจัดใหหมดไป มิใชแต
ความประสงคชั่วครูช่ัวคราวเทานั้นแตจะตองปฏิบัติใหเปนกฎที่ถูกตองตามคําสอนทาง
ศาสนา และมิใชเพยี งนโยบายอนั ใดอนั หนง่ึ แตเพ่ือความยุติธรรมของสังคมการกระทําวัตถุ
ใหบ ริสทุ ธ์ดิ ว ยมลู โคน้นั เปนการกระทาํ ท่ีนาขบขนั และนาเยาะเยย อยา งยิง่ ”

ดร.อัมเบดการกําลังเผชิญกับคล่ืนแหงการวิพากษวิจารณเขาจึงคิดวา มันเปน
ความจําเปนเหลือเกินที่จะตองมีหนังสือพิมพเปนกระบอกเสียงสักฉบับหนึ่ง เพ่ือเอาไวแก
ขา วที่ผิดพลาดและแสดงความคิดเห็นใหประชาชนไดทราบ ผูท่ีจะกาวไปสูความเปนผูนํามี

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน ๑๗๙

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ มหาบรุ ุษผูนาํ พุทธศาสนากลับคืนสมู าตภุ มู ิ

ความจาํ เปนเหลือเกินที่จะตองมีหนังสือพิมพไวเปนเคร่ืองมือ ผูนําที่ปราศจากหนังสือพิมพ
ก็เหมือนนกท่ีปราศจากหนังสือพิมพฉันน้ัน ดร.อัมเบดการจึงไดเริ่มออกหนังสือพิมพราย
ปกษฉบับหนึ่ง ช่ือวา พาหิสกริต ภารตะ (BhahishkritBharat) ออกในเดือนเมษายน
๒๔๗๐ เปนภาษามาระธี พูดถึงปญหาเงินทุนที่ออกหนังสือพิมพนั้นก็เปนปญหาใหญแต
ดร.อมั เบดการก็ตองกดั ฟนตอ สู เรียกไดวาเปนความจําเปนที่เล่ียงไมได เพราะหนังสือพิมพ
นี้จะไดเ ปนปากสียงของคนชน้ั ตา่ํ จะไดเ ปน ลําโพงกระจายขาวและใหขอเท็จจริงวา พวกคน
ช้นั ตํา่ กาํ ลังทาํ อะไร? เพ่อื อะไร? และผลปรากฏอยา งไร? ดร.อมั เบดการปรารภวา ชนชั้นตํ่า
ถูกปดปากปดตามาหลายศตวรรษ จะไดมีโอกาสตอบโตขอกลาวหาและการดูถูกของคนใน
วรรณะอ่ืนบาง เพ่ือใหเปนไปตามจุดประสงคนี้จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีหนังสือพิมพไว
แถลงขา วท่ถี ูกตอง และใหพ วกชนชั้นต่าํ ไดร ับทราบเหตกุ ารณโ ดยทั่วถงึ และรวดเรว็

โดยอาศัยหนังสือพิมพฉบับนี้ ดร.อัมเบดการไดโตตอบผูวิจารณเขาในแงรายวา
วดั ตางๆ กด็ ี บอนาํ้ สาธารณะก็ดี ควรจะเปด โอกาสใหพวกอธิศูทรไดเขา ไปกราบไหวและด่ืม
เพราะพวกอธศิ ทู รเปนฮนิ ดูเหมอื นกัน เขาไดเ ขยี นในบทบรรณาธิการอยางเผ็ดรอนและกลา
หาญวา รัฐบาลจะตองออกขอบังคับใหมีผลในทางปฏิบัติในการคุมครองสิทธิของพวกอธิ
ศูทร อยาไดหลับหูหลับตาเช่ือคํารายงานท่ีปรากฏในกระดาษของเจาหนาที่ทองถิ่นอยูเลย
และวิงวอนใหรัฐบาลไดลงโทษแกผูท่ีฝาฝนคําสั่งหรือผูกระทําผิดที่คอยขัดขวางการ
ปฏิบัติงานของเจา หนา ที่ เพอื่ จดุ ประสงคด งั กลาวอยา งจริงจังดว ย

ดร.อัมเบดการไดใชหนังสือพิมพฉบับนั้น เปนปากเปนเสียงคอยคุมครอง
ผลประโยชนของพวกชนชั้นตํ่าอยางแทจริง จะขอยกตัวอยางท่ี ดร.อัมเบดการไดเขียน
โตต อบพวกพราหมณบ างคนที่เขียนลงในหนงั สือพมิ พฉบบั อืน่ ดงั นี้

พราหมณก ลาววา : เหตผุ ลทอี่ ธิศูทรถูกประณามวาเปนคนนอกวรรณะ เปนคนมี

มลทินตดิ ตวั ไมค วรทใี่ ครจะคบหาสมาคมดวย ก็เพราะพวกอธศิ ูทรกินสิ่งที่มีชีวิตเปนอาหาร
(Non-Vegetarian) เปน สัตวศ กั ด์สิ ิทธิ์ ทุกคนเคารพบูชา

ดร.อัมเบดการ เขียนโตวา : ถาพวกวรรณะฮินดูถือเอาเรื่องการกินเน้ือสัตวเปน

อาหารมาเปนขอรังเกียจพวกอธิศูทร แลวไฉนพวกอิสลามและคริสเตียนซ่ึงทานเน้ือสัตว
เปนอาหารหนัก จึงไมถูกพวกวรรณะฮินดูรังเกียจบางและอธิศูทรบางคนไมเคยทานของมี
ชวี ติ เลย เครงในการถอื มังสวิรัติ (Vegetarian) ทําไมยงั ถกู ประณามอยูเลา

พราหมณบ างคนเขียนโตแยง เกย่ี วกบั บอน้ําที่ดร.อัมเบดการพาพวกอธิศูทรไปตัก

กนิ คราวนั้นวา : บอ นํา้ น้ันรบั บาลจดั สรางขนึ้ เพอ่ื คนฮนิ ดูในวรรณะเทาน้ัน จะเรียกวาบอนํ้า

สาธารณะไมไดเมื่อพวกอธิศูทรบุกรกุ พวกวรรณะฮินดูก็มีสิทธิอันชอบธรรมในการตอตานผู
บุกรกุ

๑๘๐ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน

บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบุรุษผูน ําพทุ ธศาสนากลบั คืนสมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ดร.อัมเบดการ ตอบวา : รัฐบาลน้ัน ไมใชเปนคนของคนใดคนหน่ึงหรือกลุมใด

กลมุ หน่งึ โดยเฉพาะ หนาท่ีของรัฐบาลคือขจัดทุกขบํารุงสุขของประชาชนทุกหมูเหลา ส่ิงใด
ก็ตามที่รัฐบาลทําไปเพ่ือหิตประโยชนของประชาชนสวนใหญแลว ส่ิงน้ันยอมเปนของ
สาธารณะซ่ึงประชาชนทุกคนมีสิทธิทัดเทียมกันท่ีจะใชส่ิงน้ัน ถามีคนกลุมหนึ่งหนาดานใช
อภิสิทธิ์เขายึดครองเอาเปนของพวกตนโดยพลการ ฝายท่ีเสียผลประโยชนยอมจะใชสิทธิ
ของตนเรยี กรองได

วรรณะฮินดูบางคนกลาววา : ประชาชนสวนใหญของอินเดียยังเคารพประเพณี

ของตนอยู ไมเห็นมีความจําเปนอะไรท่ีจะเปล่ียนแปลงประเพณีที่ไดนับถือปฏิบัติกันมาชั่ว
กาลนาน

ดร.อัมเบดการ ใหความเห็นคัดคานวา : “ประชาชนของอินเดียกําลังเรียกรอง

เอกราช ตองการประชาธิปไตย แลวจะมีผลประโยชนอะไรในเม่ือประชาชนเหลาน้ันยังไมรู
เลยวา ประชาธิปไตยคืออะไร? การท่ีทําใหเพ่ือนรวมชาติบางกลุมมีสภาพเปนทาสอยูอยาง
น้ีนะหรือคือประชาธิปไตยในทัศนะของวรรณะฮินดูท้ังหลาย ตราบใดที่ผูเรียกรอง
ประชาธิปไตยยังเรียกรองการมีทาส ประชาธิปไตยจะมีไมไดเด็ดขาด การทําลายวรรณะ
กําจัดความเช่ือถือเร่ืองอธิศูทรน่ันตางหากเปนการกาวไปสูความเปนประชาธิปไตย” แลว
ดร.อัมเบดการก็บรรยายตอไปอีกวา “ประชาชนชาวอินเดียในอาฟริกาใตก็ดี๗ ประชาชน
และนักศึกษาอินเดียในอังกฤษก็ดี กําลังถูกดูถูกและเหยียดหยามอยางมาก ชาวอินเดีย
เหลานั้นตางก็โวยวายเรียกรองความเสมอภาค และตองการสิทธิตางๆ ใหทัดเทียมกับคน
ชาตอิ น่ื ” แลวเขาก็เหน็บแนมวา แปลกไหมละ พอตนเองถูกคนอ่ืนแสดงความรังเกียจดูถูก
เหยียดหยามตางก็พากันโวยวายเรียกรองขอความยุติธรรม แตในขณะเดียวกันตัวเองกําลัง
ปฏิบัติตอคนอ่ืนในลักษณะเดียวกันน้ัน กลับพากันเงียบหรือไมก็แกตัวอยางไรยางอายวา
เพ่อื รกั ษาประเพณี

ดร.อัมเบดการรูดีวาการแกปญหาอธิศูทรนั้น นอกจากการขยายการศึกษาออก
ไปสชู นชัน้ ตาํ่ แลว ความสามัคคีของพวกอธิศูทรเอง ก็มีความสําคัญไมนอยจําเปนจะตองให
พวกวรรณะฮินดูไดเรียนรูดวยตนเองจากประสบการณวา การที่พวกเขาทอดทิ้งเหลาอธิ
ศูทรน้ันจะเปนภัยอยางใหญหลวงแกพวกพราหมณเอง ในชวงนั้น อิสลามกับฮินดูกําลังทํา
สงครามนํ้าลายกันและอาจจะกลายเปนสงครามท่ีใชอาวุธเม่ือใดก็ได การตอสูระหวาง

๗ทานมหาตมะคานธี ไดตัดสินใจทําการตอสูเพื่อเอกราชของอินเดีย ก็เพราะตนเองไดถูก
เหยียดหยามอยางมากในอาฟริกา คานธีซ้ือต๋ัวรถไฟชั้นหนึ่งแตเขาไมอนุญาตใหโดยสารช้ันหนึ่ง เพราะ
เห็นวาเปน คนชั้นตา่ํ !.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน ๑๘๑

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ุษผูนาํ พุทธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ

อสิ ลามกับฮนิ ดูน้นั ตางมุงที่จะเปนผูมีอํานาจทางดานการเมืองและทางเศรษฐกิจเหนือกวา
อีกฝายหนึ่ง เมื่อเปนเชนนี้ดุลแหงอํานาจ (Balance of Power) จึงอยูที่พวกอธิศูทรเม่ือมี
การใชอาวุธกันขึ้นเม่ือใด เมื่อนั้นแหละความสําคัญของอธิศูทรจึงจะมีคนมองเห็น ดร.
อัมเบดการจึงเตือนคนของเขาใหมีความสามัคคีกัน แสดงความสามารถ ความกลาหาญให
ปรากฏ อยาเปนคนขี้ขลาดเปนอันขาดและยํ้าวา แพะเทานั้นที่เขาใชเปนเคร่ืองมือบูชา
ยญั มีใครท่ีไหนจะกลา จับราชสีหม าบชู ายัญบา ง?

คร้ังหนึ่ง ดร.อัมเบดการไดมีโอกาสกลาวคําปราศรัยตอประชาชนเปนจํานวน
แสน เนื่องในโอกาสฉลองวันสวรรคตของกษัตริยมหาราชองคหน่ึง ทรงพระนามวา ศิวจิ
มหาราชา (Shivaji the Great) กษัตริยพระองคน้ีไดทรงสรางวีรกรรมไวมาก เปนนักรบท่ี
กลาหาญ มีราชธานีอยูที่เมืองปุณา (ปจจุบันเหลือแตซากเมืองเกาๆ) ประชาชนอินเดีย
ภูมิใจในประวตั ศิ าสตรข องตนทีม่ พี ระมหากษัตริยพระองคนี้ เชนเดียวกันกับ พวกเราภูมิใจ
ในพอขุนรามคําแหงและมหาราชองคอ่ืนๆ ฉะนั้น ในโอกาสนั้น ดร.อัมเบดการไดกลาวถึง
ประวัตแิ ละเคล็ดลบั ของพระองคท ที่ รงสรางความเปนจักรพรรดิขึ้นมาอยางละเอียดและยืด
ยาว และไดยาํ้ ถงึ ความหายนะของราชวงศใ นการตอมาวาเกิดจากอะไร ประการสําคัญที่สุด
คอื กษตั ริยองคตอ ๆ มาโดยเฉพาะในสมัยเปชวา (Peshwa) สังคมของอินเดียไดแตกแยกกัน
อยา งรนุ แรง พวกอธศิ ทู รในสมัยน้ันจะเดินเขาสเู มืองปุราไมไดเด็ดขาด มีกฎหมายบอกเวลา
และวันไวอยางแนนอนวา อธิศูทรจะเดินเขาเมืองปุณาไดเวลาใด และวันใด ขณะท่ีเขา
มาในเมืองจะตองเอาใบไมทําเปนกระทงแขวนคอมาดวย เพ่ือสําหรับไวบวนน้ําลาย อธิ
ศูทรจะบวนน้ําลายลงในเมืองไมได เพราะเหตุน้ีเอง อํานาจและกําลังของบานเมืองก็
ออนแอลงโดยลําดบั ในที่สุดก็เสยี เอกราชใหแกตางชาติไป

เหตุการณที่นาตื่นเตนอีกอันหน่ึงก็ไดเกิดขึ้นแก ดร.อัมเบดการ คือหนังสือพิมพ
ในเมอื งบอมเบยลงขาววาไดมีวัดของฮินดูที่สรางขึ้นใหมและเปดโอกาสใหชาวฮินดูทุกคนมี
สิทธิเทา เทียมกันในการเขา ไปทําพธิ ที างศาสนาในวัดน้ี ดร.อมั เบดการไดติดตอทางโทรศัพท
ไปยังเลขาฯ ของวัดวาเขาอยากจะเขาไปในวัดและไปไหวพระในวัดน้ัน เลขาฯ ของวัดตอบ
ยินดีตอนรับและขอเชิญ ดร.อัมเบดการดวยความเต็มใจ เพราะตองการจะสัมภาษณ ดร.
อัมเบดการบางประการ คร้ันแลวดร.อัมเบดการก็ไปยังวัดนั้นพรอมดวยเลขาฯ สวนตัว แต
พอไปถึงเหตุการณกับปรากฏวา ดร.อัมเบดการถูกหามในการที่จะเขาไปในบริเวณวัดและ
พวกพราหมณพากนั เดือดดาลท่จี ะไดท ราบวา ดร.อมั เบดการพยายามท่ีจะเขาไปในวัดใหได
จึงพากนั ถอื ไมถอื คอ นจะมารุมทําราย แต ดร.อัมเบดการแกไขปญหาเฉพาะหนาเพื่อเอาตัว
รอดดวยอารมณเ ย็น โดยกลา ววา เขามาทว่ี ดั นั้นโดยคําเชิญของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ และ
เขาพรอมท่ีจะออกไปจากวัดทันทีถาเจาหนาท่ีผูเชิญเขามานั้นบอกใหเขาออกไป แตฝูงชน

๑๘๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน

บทที่ ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ุษผนู าํ พทุ ธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

หาไดย อมฟง คําพดู ของ ดร.อมั เบดการไม ฝายเลขาฯของวัดผูเชิญ ดร.อัมเบดการเกิดความ
กลวั และตองยอมจาํ นนตอ ฝูงชน จงึ ขอรอ งให ดร.อมั เบดการก ลับ เลิกลมรายการสัมภาษณ
และทางวัดไดป ระกอบพิธีอกี ครั้งหนึ่ง โดยใชน้ํานมและนมเปร้ียวลางสถานที่ ที่ ดร.อัมเบด
การและเลขาฯสวนตัวของเขาไปยืนอยู

พูดถึงงานทางดานสภา ดร.อัมเบดการไดรับแตงต้ังใหเปนสมาชิกของสภาใน
ฐานะผูแทนของพวกวรรณะต่ํา ดร.อัมเบดการไดทําหนาที่ของเขาอยางดีย่ิง เอาใจใสตอ
สวสั ดิภาพของพวกวรรณะตํา่ อยา งจรงิ จัง ทุกครงั้ ท่ีเขาไดพ ดู ในสภา เขาจะขอรองใหรัฐบาล
จัดการศึกษาใหฟรี หรือใหเก็บคาเลาเรียนใหตํ่าที่สุดเทาที่จะทําไดตั้งแตชั้นประถมจนถึง
ระดับชั้นมหาวิทยาลัย สําหรับคนชั้นตํ่า และ ดร.อัมเบดการเปนผูสนับสนุนรับบาลในการ
ออกกฎหมายหามดื่มสุรา เขากลาววาการดื่มสุราเปนภัยตอตัวผูดื่มเอง แกครอบครัว และ
แกสังคมอันเปนสวนรวมในท่ีสุด ถึงแมรัฐบาลจะไดภาษีสุราปละมากๆ ก็ตาม แตเม่ือ
เปรยี บเทียบกบั ผลเสียทเ่ี กิดแกประชาชนแลว กน็ บั วา ยังไมคุมคากัน รัฐบาลควรยอมสละ
รายไดอันนี้เสีย ในดานกิจการตํารวจ ดร.อัมเบดการไดพูดในสภาและถามรัฐบาลวา ไดมี
กฎหมายอันใดหา มคนวรรณะต่ําเขา รบั ราชการตาํ รวจหรือ? ท้ังๆ ท่ีไมมีกฎหมายระบุเอาไว
แตไฉนในทางปฏิบัติเจาหนาที่ของรัฐบาลจึงปฏิเสธในการรับคนช้ันตํ่าเขาเปนตํารวจ?
หลังจากทไี่ ดถกเถยี งกันในสภาอยางเผ็ดรอน ทางฝายรัฐบาลก็ใหเหตุผลวา เปนการยุงยาก
ในการปฏิบัติหนาที่ถารับอธิศูทรและคนช้ันต่ําเขาเปนตํารวจ ประชาชนจะไมเช่ือถือ
สมรรถภาพของตํารวจ แต ดร.อัมเบดการก็ไดโตรัฐบาลวา เพราะมัวแตกลัวในส่ิงที่ไมควร
กลัวสภาพของสังคมจึงเปนอยางน้ี ถารัฐบาลมีนโยบายในการยกระดับฐานะของคนชั้นตํ่า
แลว จะตองเปดโอกาสใหพวกเขาไดใชสิทธิและแสดงความสามารถเชนเดียวกับคนใน
วรรณะอ่ืน มิฉะนั้นแลวก็ไมผิดเลยที่จะพูดวารัฐบาลเองก็เปนผูตัดรอนสิทธิอันชอบธรรม
ของพวกอธิศูทร ผลของการอภิปรายก็ปรากฏวา พวกอธิศูทรก็ไดมีโอกาสเขารับราชการ
ตาํ รวจตามประสงคของ ดร.อมั เบดการ

๕.๔ ประกาศความเสมอภาค

พธิ ีกรรมทางศาสนาเพือ่ ลบลา งมลทินของอา งน้ําท่ีสกปรก เพราะ ดร.อัมเบดการ
พาฝงู ชนไปด่ืมแสดงสทิ ธิอันชอบธรรมของพวกเขาในคราวประชุมที่เมืองมะฮาด๘ อําเภอโค
ลาบารนั้น เปนภาพที่แสลงใจและเปนเหมือนหน่ึงแผลหัวใจของ ดร.อัมเบดการท่ีไม

๘ ท่ีเมืองมะฮาด ปจจุบัน มีวิทยาลัยท่ีเปดสอนท้ังวิชาสังคมศาสตรและวิทยาศาสตรระดับ
ปริญญาตรี ชือ่ วา วิทยาลยั ดร.อัมเบดการ เปน วทิ ยาลยั เขตหนงึ่ ของมหาวิทยาลยั ปุณา .

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบนั ๑๘๓

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ษุ ผนู ําพุทธศาสนากลบั คนื สมู าตภุ มู ิ

สามารถจะรักษาเยียวยาใหหายไดอีกแผลหน่ึง เขาจึงไดตัดสินใจตอสูดวยสัตยาเคราะห
(วิธีการตอสูโดยใชคนหมูมากเขาตอสูคลายๆ เดินขบวน) เพ่ือคุมครองรักษาไวซ่ึงสิทธิ
เสรีภาพของประชาชนของเขา

ในการตดั สนิ ใจครงั้ น้ี เพอื่ นรวมงานบางคนคัดคานเหมือนกัน โดยเกรงวาจะเปน
ผลรายมากกวาผลดี แต ดร.อัมเบดการไดตอบแกขอกังขาน้ันวา “การรักษาโรคบางชนิด
เราอาจจะใชยาทานหรือยาทาแลวใชผาพันเอาไว โรคน้ันหรือแผลนั้นก็จะหายได แตโรค
บางชนิดหรือแผลบางชนิดไมสามารถจะรกั ษาไดโ ดยวธิ ีดงั กลาว ซึ่งตอ งรกั ษาดวยวิธผี า ตัด”

ขบวนการสัตยาเคราะหนี้ไดประกาศทางหนังสือพิมพ พาหิสกริต ภาระ
(Bahishkrit Bharat) วา ใครจะสมัครใจเพื่อทํางานชําระลางมลทินที่พวกฮินดูวรรณะสูงได
ฉาบทาให ขอใหไปสมัครลงชื่อไดท่ี พาหิสกริตหิตะการิณีสภา ที่บอมเบย งานของ
สตั ยาเคราะหจะดาํ เนินไปในนามของสถาบนั น้ี ปรากฏวามีผูไปสมัครเขารวมขบวนการเปน
จํานวนมาก

บัดนี้ ดร.อัมเบดการกําลังขบคิดปญหาวา ศาสนาเปนสิ่งท่ีมีความหมายและมี
คณุ คา ตอ มนุษย หรือมนษุ ยม ีความหมายและคุณคาตอศาสนา? เขาคิดวาพวกชนช้ันต่ําควร
จะยอมเสียสละไดแมกระทั้งชีวิตเพื่อศาสนาท่ีหวงใยพวกเขา แตพวกเขาไมควรจะพากัน
แยแสตอศาสนาที่ไมไยดีตอพวกเขา ดร.อัมเบดการประกาศตอคนของเขาวา “ปญหาท่ีวา
พวกเราเปนฮินดูหรือไม? มันควรจะไดรับการตัดสินโดยพวกเราเองใหส้ินสุดไปเลย” ตาม
ความคดิ เหน็ ของเขา เขาคดิ วาวรรณะพราหมณเปนโนตสําคัญที่จะประสานเสียงแหงความ
สามัคคี แตถ า โนต นมี้ ีเสยี งผดิ แปลกไปจากจดุ ประสงคข องผูเ ขยี นโนตและไซร สังคมอันเปน
สวนรวมก็ยอมจะถึงความยอยยับ ดร.อัมเบดการกลาวอธิบายถึงจุดประสงคและวิธีของ
ขบวนการสัตยาเคราะหของเขาวา เขาไมตองการใชวิธีรุนแรงในการแกปญหา และไมเคย
คิดเลยวาพวกพราหมณคือศัตรู แตตองใหพวกพราหมณยอมรับวาอธิศูทรก็คือเพ่ือนรวม
ชาติรวมศาสนากับพวกเขา การงานที่มีเจตนาดีเปนเบ้ืองตน มีความยุติธรรมในการ
ดําเนินงาน ผลท่ีไดรบั อนั เปน เบอ้ื งปลายกจ็ ะเปนความดี เพราะธรรมยอมชนะอธรรมในบ้ัน
ปลายเสมอ ดังนั้นจึงไมจาํ เปนตองมาคิดใหเสียเวลาวา การกระทําน้ันจะรุนแรงหรือไม เขา
ใหขอคิดตอไปอีกวา หลักธรรมอหิงสานั้นเปนกฎที่ดี แตเราจะเครงจนตึงเก่ียวกับอหิงสา
เรากจ็ ะไมก ลาฆา แมแตเช้ือโรคที่จะบั่นทอนชีวิตเรา ไมกลาด่ืมนํ้าเพราะกลัวตัวจุลินทรียใน
นาํ้ จะตาย ไมกลา หายใจเพราะกลัวจลุ ินทรยี จะเขาไปในจมกู และเนนวา “ถามีคนมาฆาคุณ
มาเผาบานคุณ ทําการปลนสะดมบานคุณ และในท่ีสุดถูกเจาหนาที่ของบานเมืองยิงตาย
การตายเชนนั้นเปนการตายเกิดจากกรรมชั่วของเขามิใชเกิดเพราะความเหี้ยมโหดที่บุคคล
อื่นมีตอเขา” ดร.อัมเบดการพูดอีกตอนหนึ่งวา “ถาจะกลาวหาวาขบวนการสัตยาเคราะห

๑๘๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน

บทท่ี ๕ ดร.อมั เบดการ มหาบรุ ษุ ผูนาํ พทุ ธศาสนากลับคนื สมู าตภุ ูมิ พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ของเขาเปนการกระทําแบบรนุ แรงแลว สัตยาเคราะหของมหาตมะคานธีก็ยอมมีพ้ืนฐานมา
จากความรุนแรง (Violence) ดวย” แลวเขาสรุปวากฎของอหิงสาควรนํามาใชในท่ีที่พูด
เขาใจกันได ถาพูดไมรูเรื่องก็ตองใชความรุนแรงกันบาง ซึ่งถือวาเปนสิ่งจําเปนและ
หลีกเล่ียงไมไดแ ลว

พดู ถึงการตอสขู องขบวนการสตั ยาเคราะห ดร.อัมเบดการกลาววา มันยอมมีทาง
เปน ไปได ในการทีจ่ ะเกิดความอลหมานข้นึ ในสงั คม เพราะเหตุแหงขบวนการสัตยาเคราะห
นน้ั ในกรณีเชน นั้นเขามัน่ ใจวารัฐบาลจะตองชวยเหลือผูที่ตองการใชสิทธิอันชอบธรรมของ
ตน ถาเกิดรัฐบาลออกคําสั่งหามขบวนการสัตยาเคราะหแลว เขาจะทําอยางไร ดร.อัมเบด
การประกาศกอ งวา ก็ถงึ คราวแลว ทพ่ี วกสตั ยาเคราะหต อ งทาทายคาํ ส่ังนั้น โดยกลา ววา

“ความเปนอธิศูทร เปนรอยมลทินอันนาขยะแขยง มีชีวิตอยูที่ไมผิดไปจากสัตว
เดรัจฉานสืบตอกันมานานนับเปนพันๆ ป จะมีคาอะไรสําหรับโลกน้ี เสียทีที่เกิดมาเปน
มนษุ ย ชวี ติ จะมคี า ถาเราสังเวยใหแกสัจจะ เกียรติยศหรือประเทศชาติ เพื่อรักษาไวซึ่งสิทธิ
มนุษยชน วีรชนท้ังหลายของโลกไดเคยนอมถวายชีวิตของตนอุทิศใหเปนเคร่ืองสังเวยตอ
หนา ที่มาแลว นับจํานวนไมถ วน ตายอยา งมีเกยี รติ ดเี สยี กวามชี ีวิตอยชู นดิ ท่ีหาคามิได”

ดร.อัมเบดการไดกลาวตอไปอีกวา “ถารัฐบาลขัดขวางไมใหคนชั้นต่ําไดใชสิทธิ
ของพวกเขาแลว เขาจะนําเร่ืองน้ีเสนอตอสันนิบาตชาติ และถาพวกฮินดูในวรรณะอื่น
ขัดขวางการตอสูนี้ก็จะไดประจักษแกสายตาชาวโลกเสียทีวา ศาสนาฮินดูเปรียบเสมือน
กําแพงหินมหึมาคอยขัดขวางประชาชนท่ีจะเขาไปนับถือและจะมีประโยชนอะไรที่พวกชน
ช้ันต่ําจะมาอางตนวาเปนฮินดูอธิศูทรทั้งหลายควรจะหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ใหเสรีภาพ
ความเสมอภาค ใหค วามรักความเมตตา ไวเ ปน ท่ีพงึ่ ทางใจตอ ไปดกี วา ”

ใครจะขอใหทานผูอานทําความสนใจตอนน้ีสักเล็กนอยวา ในระหวางนี้ ดร.
อัมเบดการไดศึกษาพระพุทธศาสนาดวยตนเองอยางหนัก และมีความเขาใจใน
พระพุทธศาสนาเปนอยางดี แตเขายังมิไดประกาศตนเปนชาวพุทธ ไดแตเพียงทาทายพวก
ฮินดูอยูวา ถาฮินดูไมยอมรับนับถือเขาใหมีความเสมอภาคในการนับถือศาสนาแลว เขา
อาจจะพาอธิศูทรละท้ิงฮินดู แลวไปยึดเอาศาสนาอื่นเปนท่ีพึ่งเมื่อใดก็ได ท่ีเปนเชนนี้คงสืบ
เนื่องมาจาก ดร.อัมเบดการทราบดีวา การเปล่ียนศาสนานั้นไมใชเปล่ียนงายๆ เหมือน
เปลี่ยนเสื้อผา ศาสนาเปนเร่ืองของความเชื่อถือ เปนเรื่องของจิตใจ จะตองรอใหถึงการอัน
สมควรเสียกอน พวกอธิศูทรมีการศึกษานอย อาจจะตามความคิดเขาไมทัน แลวจะทําให
เกิดผลเสียมากกวาผลดี คร้ังหนึ่ง เขาไดกลาวโตตอบพวกฮินดูท่ีวิพากษวิจารณขบวนการ
สัตยาเคราะหของเขาไปในทางท่ีไมดีวา “พวกอธิศูทรประสงคจะเปน ศาสนิกของฮินดู
ตอไป แตเขาจําตองตอสูเพ่ือความเสมอภาคและเพื่อสิทธิของพวกเขา ถาคุณยอมรับวา


Click to View FlipBook Version