The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั ๘๕
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

ได เปนเพียงสักวาเปนธรรมชาติท่ีเปนไป หรือต้ังอยูตามลักษณะหรือกฎเกณฑของ
ธรรมชาติ คือไมม ี หรือไมควรเรียกวา ตวั ตนของมนั เอง ดังนี้ ก็เรียกวาวางจากตัวตนได รวม
ความวา ลกั ษณะทเี่ หน็ วา วางจากความเปนตัวตน หรือวางจากความหมายท่ีสมควรแกการ
ทีบ่ ุคคลใดบุคคลหน่ึงจะมอบกายถวายชีวิตจิตใจเขา ไปยึดถอื เอา นีเ้ รียกวา “เหน็ ความวาง”
ที่เปนใจความสําคัญของพุทธศาสนา ถาบุคคลใดเห็นความวางของสิ่งท้ังปวงดังนี้แลว จะ
เกิดความรูสกึ ที่เรยี กวา “ไมนา เอา ไมนาเปน ” ในสิง่ ตา ง ๆ ขนึ้ มาทันที

สุญญตา ความวางเปลา ความศูนย คือสูญจากความมตี ัวตน เวลาพระทาน
พิจารณาสังขารโดยความเปนสภาพศูนย หมายถึงพิจารณาเห็นความเปนจริงวา ส่ิงที่
เรยี กวา ตัวตนเราเขา น้ันที่แทไมมี มีเพียงการประกอบเขาแหงธาตุสี่ดินน้ําลมไฟเทาน้ันเอง
เมอ่ื เหน็ วา วางอยางนแ้ี ลว ทา นก็ไมย ึดมน่ั ถือม่ัน ดังทีห่ ลวงพอพุทธทาสกลาววาวางจากตัวกู
ของกู ไมข ึ้นอยูกบั การเกดิ ข้นึ ของศาสดาหรือศาสนาใดๆ

ความหมายของหลกั สญุ ญตาตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุ:ธรรมที่ลึกท่ีสุดก็
คือเรื่อง “สุญญตา” นอกนั้นเรื่องต้ืน ธรรมที่ลึกจนตองมีพระตถาคตตรัสรูขึ้นมาและสอน
น้นั มแี ตสุญญตา เร่ืองนอกนัน้ เรื่องตื้น ไมจําเปนจะตองมีตถาคตเกิดข้ึนมา๘ ถามวา “ความ
วาง” หรือ “สุญญตาธรรม” คืออะไร? พุทธทาสภิกขุไดกลาวไววา ความวางในภาษาธรรม
ไมไดหมายถึง ความวางเปลาโลงเตียนไมมีอะไร เลยตามที่เขาใจกันในภาษาสามัญ หาก
หมายถงึ สภาพความจริงที่สรรพสิง่ ในโลกลวนอิงอาศัยกัน เกิดอยูและมีอยู ดวยเหตุน้ีแตละ
สิง่ จงึ ปราศจากแกนสารในตัวเอง (self-nature) หรือพูดอีกแบบหนึ่งคือไมมีอัตลักษณแยก
ตางกัน (separate identity)๙

พุทธทาสภิกขุไดใหความหมายของสุญญตาตามรูปศัพทเดิม วา สุญญตา
มาจากคํา ๒ คํา คือ สุญญ แปลวา วาง + ตา ปจจัย ในภาวตัทธิต ซ่ึงมีคําแปลประจําวา
ความ เมื่อรวมความแลว สุญญตา จึงหมายถึง ความวาง ซ่ึงความวาง ตามหลัก
พระพทุ ธศาสนานั้นมีความหมายท่ีกวางมากและไมไดมีความหมายวา ความไมมีหรือความ
ขาดสูญ (อุจเฉททิฏฐิ) แตสุญญตาน้ันแปลวา ความวาง ความวางของโลก คือ ความไมมี
ตวั ตนทีจ่ ะหาไดใ นโลก ความวางของจติ คอื จิตทปี่ ระกอบดวยปญ ญา (วา งจากกิเลส)๑๐

หนา ๓๒. ๘ พุทธทาสภิกขุ, ชุมนุมธรรมบรรยายเร่ืองความวาง, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ม.ป.ป.),
า ๑๖. ๙ พทุ ธทาสภิกข,ุ จิตวางในชวี ิตประจาํ วัน, (กรุงเทพมหานคร : รุงแสงการพิมพ, ๒๕๓๓), หน
๑๐ พุทธทาสภกิ ข,ุ สุญญตาปรทิ รรศน เลม ๒, (สุราษฎรธ านี : ธรรมสภา, ๒๕๑๙), หนา ๔๘.

๘๖ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

พทุ ธทาสภกิ ขุกลาวถึงสุญญตาวาเปนภาษิตของพระพุทธเจา ไมไดมุงแสดง
ความวางที่ไมมีอะไรเลย แตมุงแสดงลักษณะสุญญตาที่วางจากตัวตนท่ีเปนลักษณะของส่ิง
ท้ังหลายทั้งปวง สุญญตาจึงเปนเร่ืองสําคัญคนสวนมากเห็นวาเปนเรื่องไมสําคัญเปนเรื่อง
เบ็ดเตล็ด เล็กนอยหรือเห็นวาเปนธรรมแขนงหนึ่งของหลักธรรมใหญๆ ใชสําหรับอธิบาย
ประกอบเร่ืองน้ันๆ ทั้งยังเห็นวาเร่ืองสุญญตาไมใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาท
เปนหลักธรรมของพระพุทธศาสนามหายาน พุทธทาสภิกขุใหความหมายของสุญญตาไว
ดังนี้

สญุ ญตา มคี วามหมายวา วางเปลา ซึ่งกินความเลยไปถึงความเปนมายาหา
สาระอะไรอันแทจริงและแนนอนตายตัวไมได เชนนี้มันมิไดหมายความวา มันไมมีอะไรอยู
เลย แตมนั อาจจะมีอะไรๆ มากมายเทาไรก็ได เพียงแตวาทั้งหมดนั้นที่ปรากฏอยูน้ันเปนมา
ยา ครั้นไปคนหาสวนที่เปนสาระเขา กลับควานํ้าเหลว นี้เปนความหมายอันหนึ่งตามทาง
ธรรมของคําวา วางอีกความหมายหน่ึงนั้น เล็งถึงความวางโดยเฉพาะ โดยไมตองคํานึงถึง
ปรากฏการณต า งๆ คอื มองขามปรากฏการณตางๆ ไปเสียไมสนใจหรือใสใจ หรือไมรูสึกตอ
ปรากฏการณเหลาน้ันเลย หรือรูสึกอยูแตภาวะแหงความวาง ซึ่งเปนของจริงและไมไดเปน
มายาแตประการใด แตกเ็ รียกสง่ิ นัน้ วา ความวา ง๑๑

ในทรรศนะของพุทธทาสภิกขุ ความวางมี ๒ อยาง คือ ปรากฏการณที่เปน
เพียงมายา หาสาระอะไรไมได และตัวของความวางอันแทจริงคือพระนิพพานซึ่งหมายถึง
สุญญตาคือความวางจากตัวตน “ความวางกับลักษณะของความวางพรอมกันไปใน
ขณะเดียวกัน กลมเกลียวกันจนไมสามารถแยกออกไดวา สวนไหนเปนความวาง สวนไหน
เปนลักษณะของความวาง เพราะความวางท่ีแทจริงไมมีลักษณะแตประการใด”๑๒ ความ
วา งกบั ลักษณะของความวางเปนลกั ษณะเดียวกัน แตแยกกัน เพ่ืออธิบายในรายละเอียดให
เหน็ แงม มุ ตา งๆ ทัง้ ๒ อยา งเปน อันเดียวกันและอยูในขณะเดยี วกนั

พุทธทาสภิกขุยังใหทรรศนะเกี่ยวกับสุญญตาและจิตวาง มีความสัมพันธกัน
กลาวคือ คําวา สุญญตา แปลวา ความวาง ความวางของโลก คือ ความไมมีตัวตนท่ีจะหา
พบไดใ นโลก ความวางของจิต หมายความวา จติ ประกอบดวยปญญา หรือความวางจากตัว
กู ของกู คือ ความเตม็ แหงสติปญญา๑๓

๑๑ เรอื่ งเดียวกัน, หนา ๑๓-๑๔.
๑๒ เร่ืองเดียวกนั , หนา ๒๓.
๑๓ เรื่องเดียวกนั , หนา ๑๖.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั ๘๗
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

คําวา สุญญตา ความวาง หมายถึง ความวางจากตัวตน เปนคําท่ีรวบรวม
ความหมายของคําวา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไวท้ังหมด คือเม่ือมันไมเที่ยงเปลี่ยนแปลงอยู
เสมอ ไมมสี วนไหนทย่ี ่ังยืนถาวร เรียกวา วา งได เมือ่ เต็มไปดวยลักษณะท่ีดูแลว นาสังเวชใจ
ก็แปลวา วางจากสว นท่คี วรเขาไปยดึ ถือเอา๑๔ เมอื่ พิจารณาดูไมเห็นลักษณะที่จะคงทนเปน
ตวั ตนของมนั เองได เรียกวา วา งจากตัวตน ถาจิตมองเห็นความวางของสิ่งทั้งปวงเปนเชนน้ี
แลว จะเกิดความรูสึกวา ไมมีอะไรนาเอานาเปนในส่ิงตางๆ ขึ้นมาทันที ความรูสึกชนิดน้ีมี
อาํ นาจเพยี งพอท่จี ะคมุ ครองคนเรา ไมใหตกเปน ทาสของกิเลสหรืออารมณทุกชนิดทําใหจิต
เปนอิสระปราศจากทุกขอยูเสมอ การพิจารณาใหเ หน็ วา สงิ่ ทัง้ ปวงวางจากสาระท่ีควรเขาไป
ยึดถือน้ัน เปนตัวแกนแทของพระพุทธศาสนา เปนหัวใจของการปฏิบัติตามหลักของ
พระพุทธศาสนาท่แี ทจ รงิ ๑๕

นอกจากน้ี พุทธทาสภิกขุยังกลาววา สุญญตา แปลวา ภาวะของจิตที่วาง
จากกเิ ลส โดยเฉพาะอยา งย่ิง วางจากความรูสึกวาเปนตัวเปนตน เปนสัตว เปนบุคคล เปน
เราเปนเขา ภาวะท่ีไมม คี วามรูสึกวาเปนตัวตนหรือของตนน้ัน เรียกวาสุญญตา หมายความ
วา วา งจากความสําคัญม่ันหมายวาตัวกูหรือของกูหรือวางจาก อนังการ มมังการ อหังการก็
คอื ตวั กู มมงั การ ก็คอื ของกู๑๖

พทุ ธทาสภิกขกุ ลาวถึงความหมายของหลักสุญญตาไวค ือ
๑. ความวางทางวัตถุธาตุ เราเรียกวาเร่ืองทางฟสิกส คําวา “ความวาง”
หมายถึงไมมีอะไร, ไมมีอะไรอยางท่ีเรียกวา สุญญากาศ หรือ vacuum หมายความวาไมมี
วตั ถุอะไรเลย อยางท่ีหนงึ่ นีเ้ ปน เรื่องทางวตั ถุ มันหมายถงึ รางกายดวย คือวางจากวัตถุก็วาง
จากรางกาย คือไมม อี ะไรเลย นีม่ ันก็เปน ความวางชนดิ หนง่ึ
๒. ความวางทางจิต ก็คือวา จิตไมมีความคิดอะไรเลยเหมือนกับคนสลบ
ไสล ไมมคี วามคดิ นึกสิน้ สมปฤดี อยางน้ีเปน ความวางทางจิต
๓. ความวางของสติปญญา เปนความวางทางสติปญญา ทางธรรม,ซ่ึงผม
ชอบพูดวา ทางวญิ ญาณ,หมายถึง ความวางจากความคิดนกึ วาตัวกู - ของกู๑๗

๑๔ พทุ ธทาสภกิ ข,ุ พจนานกุ รมธรรมของพุทธทาส, หนา ๔๗๒ -๔๗๓.
๑๕ พุทธทาสภิกขุ, สุญญตาปริทรรศน, (สุราษฎรธานี : ธรรมทานมูลนิธิจัดพิมพ, ๒๕๔๑),
หนา ๗๑-๘๕.
๑๖ พุทธทาสภิกขุ, โอสาเรตัพพธรรม, พิมพคร้ังที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมทานมูลนิธิ,
๒๕๓๘), หนา ๒๐๔.
๑๗ พทุ ธทาสภกิ ขุ, ฆราวาสธรรม, หนา ๒๒๖.

๘๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

โดยสรุปแลว สุญญตา ตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุ หมายถึง ความวางอัน
เปน สภาวะแหง ความวางที่ปราศจากความเปนสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา เปนภาวะที่ขันธ
๕ เปนอนัตตา กลาวคือ วางจากความเปนตัวตน ตลอดจนวางจากสาระตางๆเชนสาระคือ
ความเที่ยงแท ความสวยงาม ความสุข โดยปริยาย หมายถึง หลักธรรมฝายปรมัตถ เชน
ขนั ธ ธาตุ อายตนะ และปจจยาการ แสดงตัวสภาวะใหเห็นความวางเปลา ปราศจากความ
เปนสัตว บุคคลตัวตน เรา เขา เปนเพียงธรรม หรือกระบวนการทางธรรมชาติลวนๆ
หมุนเวยี นเปล่ียนแปลงไป

๓.๔.๑.๕.๑ ลกั ษณะของสญุ ญตาตามทศั นะของพทุ ธทาสภิกขุ
เน่ืองจากมีการปฏิบัติกันในแนวยึดความวางหรือสุญญตากันอยางผิดๆ ยึด
ในความวาง พยายามทาํ ใหว า งจากความคดิ ความเห็นอยา งผดิ ๆ เหน็ วา ไมม ีสิ่งใดท่ีเปนสิ่งที่
มีอยจู ริง ทุกสิ่งเปน ของวางเปลา การกระทําใดๆ ก็ตามจะไมมีการสงผลใดๆ เกิดข้ึนเพราะ
ทุกส่งิ อยางเปนของวา งเปลา จงึ ปฏิบตั ไิ ปในลักษณะหยุดคิด หยุดนึกไปยึดความวาง แตแท
ท่ีจรงิ แลวความวา งในทนี่ ้ี ไมไดลักษณะดังท่ีเขาใจกัน เพราะเหตุน้ีพุทธทาสภิกขุจึงไดแสดง
ลกั ษณะของสุญญตาไวด งั นี้
พุทธทาสภิกขกุ ลาววา สุญญตา ความวา ง มลี ักษณะ ๒ ประการ๑๘ คอื
๑. ความวางท่ีเปนลักษณะของสิ่งทั้งปวง ดังบาลีวา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา
แปลวา สิ่งทั้งปวงเปนอนัตตา โลกน้ีจึงวางโดยธรรมชาติ แตคําวา วาง ท่ีพุทธทาสภิกขุ
เขาใจในทีน่ ี้ มไิ ดหมายความวา ไมม อี ะไร แตหมายความวา มีทุกสิ่งทุกอยางมีตามท่ีเราเห็น
อยูเพียงแตวามันวางจากความหมายที่ควรจะยึดถือวาเปนตัวตนหรือของตน เพราะฉะนั้น
ในสุญญตาสตู ร จงึ เขียนกลา วไวชัดเจนวา โลกนว้ี า ง เพราะวาไมมีสวนใดท่ีควรจะยึดถือเอา
วาเปน ตัวตนหรอื เปน ของตน แตมิไดหมายความวา ไมม ีโลกน้ี หรือไมไดหมายความวา ไมมี
อะไรอยูในโลกนี้
๒. ความวางเปนลักษณะของจิตที่ไมยึดม่ันถือม่ันสิ่งท้ังปวง ขอนี้สืบตอมา
จากความวางในขอแรกนั่นคือ ส่ิงท้ังปวงรวมเอาท้ังจิตดวย วางจากความหมายท่ีควรจะ
ยดึ ถือวา เปนตวั ตนหรือของตน จติ นน้ั จงึ ไมไปยึดถือถือเอาสวนหนึ่งสวนใดในโลกน้ี วาเปน
ตวั ตนจิตนัน้ จงึ วาง เพราะจิตน้ันเห็นความวางของโลกอยูเสมอ จึงไมเกิดการปรุงแตงยึดถือ
เอาเปนตัวตน เมื่อไมมีการปรุงแตงยึดถือเอาเปนตัวตน ก็ไมอาจจะเกิดโลภะ โทสะ และ

๑๘ พุทธทาสภิกขุ, เอกสารชุดมองดานใน อันดับ ๒๖ จิตประภัสสร-จิตเดิมแท-จิตวาง
เหมือนกันหรืออยางไร, (กรุงเทพมหานคร : คณะเผยแพรวิธีการดําเนินชีวิตอันประเสริฐ, ๒๕๑๗), หนา
๒๐.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั ๘๙
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

โมหะได ดังน้ัน ทานจึงกลาววา จิตวาง เพราะวางจากกิเลส คือ โลภะ โทสะ และโมหะ
นัน่ เอง

สภาวะทีไ่ ดชอ่ื วา สุญญตา ประกอบดว ยเหตผุ ล ๓ ประการ๑๙ คอื
๑. เพราะลุถึงดวยปญญาที่กําหนดพิจารณาความเปน มองเห็นภาวะท่ี
สงั ขารเปนสภาพวางจากความเปนสตั ว บคุ คล ตวั ตน เราเขา
๒. เพราะวา งจากจากกิเลส มีโลภะ โทสะ และโมหะ
๓. วางเพราะมสี ุญญตา คอื นพิ พานเปน อารมณ
สภาวะความวา ง ๓ ประการน้ี เปน ความวางในโลกตุ ตรมรรค
สว นความวางทีเ่ กิดจากการกําหนดหมายในใจ หรอื ทําใจเพ่อื ใหเปนอารมณ
ของจิตในการเจริญสมาบตั ิ เชน ผูเจริญอากิญจัญญายตนสมาบัติ กําหนดใจใหถึงภาวะวาง
เปลา ไมม ีอะไรเลย จดั เปน ความวา งอยางหนง่ึ ในระดบั โลกิยฌานดวยเหมอื นกัน๒๐
อีกประการหน่ึง สุญญตา ความเปนสภาพสญู หรอื ความวางเพราะเหตุคอื ๒๑
๑. ความเปนสภาพท่ีวางจากความเปนสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา เฉพาะ
อยางยิ่ง ภาวะท่ีขันธ ๕ เปนอนัตตา คือ ไรตัวมิใชตน วางจากความเปนตน ตลอดจนวาง
จากสาระตา งๆ เชน สาระคือความเท่ียง สาระคือความสวยงาม สาระคือความสุข เปนตน,
โดยปริยายหมายถึงหลักธรรมฝายปรมัตถ ดังเชนขันธ ธาตุ อายตนะและปจจยาการ (อิ
ทปั ปจจยตาหรือปฏิจจสมุปบาท) ท่ีแสดงแตตัวสภาวะใหเห็นความวางเปลาปราศจากสัตว
บคุ คล เปนเพยี งธรรมหรอื กระบวนธรรมลว นๆ
๒. ความาจากกิเลส มีราคะ โทสะ โมหะ เปนตน ก็ดี สภาวะท่ีวางจาก
สงั ขารทั้งหลายก็ดี หมายถงึ นิพพาน
๓. โลกุตตรมรรค ไดช ื่อวา เปนสุญญตา ดวยเหตผุ ล ๓ ประการ คอื

๓.๑ เพราะลุดวยปญญาท่ีกําหนดพิจารณาความเปนอนัตตา มองเห็น
สภาวะท่สี ังขารเปนสภาพวาง (จากความเปนสตั ว บคุ คล ตวั ตน)

๓.๒ เพราะวางจากกิเลสมรี าคะเปนตน
๓.๓ เพราะมสี ญุ ญตา คอื นพิ พาน เปน อารมณ

๑๙ พุทธทาสภิกขุ, บวชทําไม, พิมพครั้งท่ี ๓, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา
๗๕. ๒๐ พุทธทาสภิกขุ, เอกสารชุดมองดานใน อันดับ ๒๖ จิตประภัสสร –จิตเดิมแท-จิตวาง
เหมอื นกนั หรืออยางไร, หนา ๒๕.

๒๑ พุทธทาสภิกขุ, วิธีปฏิบัติเพ่ือเปนอยูดวยความวาว, (กรุงเทพมหานคร: ไพลิน, ๒๕๔๙),
หนา ๕๑.

๙๐ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

๔. ความวาง ท่ีเกิดจากความกําหนดหมายในใจ หรือทําใจเพื่อใหเปน
อารมณของจิตในการเจริญสมาบตั ิ เชน ผูเจรญิ อากิญจัญญายตนสมาบัติกําหนดใจถึงภาวะ
วางเปลาไมมีอะไรเลย

๓.๔.๑.๕.๒ ลกั ษณะของสญุ ญตาทีป่ ระกอบดวย (พทุ ธทาสภิกขุ)
๑. สุญญตาจากวัตถุ๒๒ กลาวคือ ความวางจากความไมมีอะไรเลย เปน
ความวา งทางวัตถุ ในขอนีส้ าํ หรบั คนท่ีไมเคยไดรับฟง เก่ียวกบั เร่ืองของสุญญตามากอน ก็จะ
มีความเขาใจวา ความวา งจากตวั กู คือวา งอยางไมมีอะไรเหลือ เปนการถึงเรื่องทางรางกาย
หรอื ทางวัตถุ จึงมีความคิดวา เมื่อวาง คนก็จะคิดวา ไมมีอะไรเลย จะทําใหตนเองขาดสิ่งที่
เคยไดอ ยู จึงไมส นใจในเรอื่ งความวา งตามความหมายทส่ี ูงขึ้นไปกวานนั้
๒. สุญญตาทางจิต หมายถึงจิตกําลังวางไมไดคิดอะไร ไมรูสึกอะไร ไมทํา
หนาท่ีอะไรเลย ซ่ึงมีความหมายเทากับคนท่ีตายแลว เปนเหมือนทอนไม เปนความวางอัน
เกดิ จากการอยใู นสมาบตั ทิ กุ ชนิด
๓. สุญญตาทางปญญาหรือทางวิญญาณ เปนความรูความคิดท่ีมีอยางสม
บูรณ รูสึกตัวอยูตลอดเวลา โดยมีความรูวาไมมีอะไรเปนตัวตนท่ีแทจริง ไมมีความยึดมั่น
เปนตัวตนขึ้นมาไดเปนจิตวางจากตัวตนดวยอํานาจแหสติปญญา พุทธทาสภิกขุไดกลาวถึง
ลักษณะของสุญญตาอีกลกั ษณะหนึ่ง คือ๒๓

๑) ความวา งในฐานะท่เี ปนหัวใจของพระพุทธศาสนา
พุทธทาสภกิ ขุยํา้ วา ในพระไตรปฎ กไดกลาวถึงหลักแหงสุญญตาไวหลาย
แหง และถือเปนธรรมะท่ีมีความสําคัญอีกประการหน่ึงดวย และยังไดมีพุทธภาษิตท่ีได
กลาวถึงความสําคัญนี้ คือ ตถาคตพูดแตเรื่องสุญญตาหรือเร่ืองที่เน่ืองดวยสุญญตา เร่ืองวา
เปนธรรมปฏิสังยุตตา (ธรรมะอันเก่ียวเนื่องดวยสุญญตาคือความวาง) นอกนั้นไมกลาวถึง
สุญญตา จะกลาววาสุญญตาเปนตัวแททั้งหมดทั้งส้ินก็ได เปนแคหัวใจนิดเดียวก็ได เปน
ทั้งหมดทั้งตัวของพระพุทธศาสนาก็ได นี้ขอยืนยันในขอนี้ นั่นคือการเปนหัวใจและเปนตัวแท
เพราะสญุ ญตาไมมีเปลอื ก ไมมกี ะพี้ มีแตแ กน เปนสุญญตาที่ถูกตองในพระพุทธศาสนาจึงเปน
ตัวของตัวเทาน้ัน ไมมีมากไปกวาน้ี เปนตัวแทของพระพุทธศาสนาที่ปอกเปลือกเขไปไมไดอีก
แลว อปุ มาเหมอื นเพชรทเ่ี ปน ท ง้ั หมดในตัวของตวั เองและเปนหัวใจของมันเองเปนสิ่งที่บริสุทธ์ิ
ไมม ีอะไรเจือปนและมีคา ทสี ุด

๒๒ อรุณ เวชสุวรรณ, วิวาทะระหวาง ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชกับพุทธทาสภิกขุภิกขุ,
(กรงุ เทพมหานคร: แพรพ ิทยา, ๒๕๒๗), หนา ๑๖๔.

๒๓ พทุ ธทาสภกิ ข,ุ วธิ ปี ฏิบัติเพอ่ื เปนอยูดวยความวาง, (กรุงเทพมหานคร: ไพลิน, ๒๕๔๙),
หนา ๕๕-๕๗.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน ๙๑
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

๒) ความวา งในฐานะทเี่ ปนสภาวะสงู สุด
พุทธทาสภิกขุไดอางหลักฐานในพระบาลีอังคุตรนิกายหมวดท่ีวาดวย
เร่ืองของส่ิง ๕ อยางที่ปรากฏอยูหลายแหง ที่กลาวถึงขอความนี้คือ เย เต สุตฺตนฺตา ตถาค
เตน ภาสิตา คมฺภีรตฺถา โลกุตฺตรา สุญตปฺปฏิสํยุตฺตา ความวา พระสูตรใดๆ ท่ีตถาคตได
กลา วแลว เปนเร่อื งลึกซง้ึ มอี รรถอันลึกซง้ึ เหนือโลกแลวก็เนื่องดว ยสญุ ญตา นัน่ เอง
๓) ความวา งเปน สภาวะอันจําเปนสาํ หรับทกุ คน
พุทธทาสภกิ ขุไดกลาววา โดยความเปน จริงแลว ธรรมขอเดียวใชไดกับ
ทกุ ชนชั้น เพราะหากเปรียบกับพระเจาที่มีสอนอยูในศาสนาตางๆ แลว พระเจาองคเดียวก็
ใชไดกับคนทุกๆ ชั้น โดยไมจําเปนตองมีอยูหลายๆ องค เชนเดียวกันกับสุญญตา น้ีมีความ
จําเปนแกคนทุกๆ คนเชนกัน ท้ังบรรพชิต และคฤหัสถ เพราะท้ังสองตองเดินไปทาง
เดียวกัน อาจจะตามกันไป เพราะคฤหัสถตองหาบตองคอนรุงรังไปอยางชาๆ ลมลุก
คลกุ คลานกนั ไป สวนบรรพชิตมีลักษณะเหมอื นนก มภี าระแตเพยี งปก เทานั้น ก็ไปไดเร็วแต
กไ็ ปในทิศทางเดยี วกัน คอื ไปตามทางแหมรรคมีองค ๘ ประการ โดยมีจุดมุงหมายสูงสุดคือ
พระนิพพาน
ผูท่ีจะเห็นลักษณะของสุญญตาไดนั้น จะตองมีความวางท่ีประกอบดวย
สติปญญา ซึ่งผูที่เห็นโลกตามความเปนจริงวา เปนของวางในท่ีน้ีพุทธทาสภิกขุไดแสดงให
เหน็ วาลกั ษณะของความวาง ๓ ประการคอื ๒๔
๑. ความวางในความหมายของปริยัติ คือ การรูว า ไมมอี ะไรเปน ตัวตน
๒. ความวา งในความหมายของปฏิบัติ คือ จติ ที่กําลงั ปลอ ยไมจับฉวยอะไร
๓. ความวางในความหมายของปฏิเวธ คือ จิตที่บรรลุถึงความสะอาด สวาง
และสงบ
ดงั น้ัน ถา บุคคลใดมคี วามรูทถ่ี กู ตองและรูจริงแลว ยอมปลอยวาง ยอมบรรลุ
ถึงผลทันที นี้คือ ความวางทั้ง ๓ ประการ เปนเหตุเปนปจจัยตอกันที่จะนําไปสูความวาง
หรือหลักแหงการศึกษาทั้ง ๓ ประการน้ี ตองรวมเขาเปนหนึ่ง จึงจะสําเร็จประโยชน จะ
เลือกปฏิบัติเพียงอยางใดอยางหน่ึงไมได ดังน้ันจะตองเร่ิมดวยการมีญาณทัศนะ คือ มอง
เห็นแจมแจงตามความเปน จริงวา โลกเปน ของวา ง แลวการปลอยวางและการบรรลุผลยอม
มาเอง

๒๔ พุทธทาส, สุญญตาธรรม ฉบับยอ ยอโดยภิกขุ ฉ.ช. วิมุตตยานันทะ, พิมพคร้ังท่ี ๒,
(กรุงเทพมหานคร: สํานักพมิ พส ขุ ภาพใจ, ๒๕๕๔), หนา ๑๘๕.

๙๒ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

สรุปแลว ลักษณะของสุญญตาตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุ คือ สรรพสิ่งที่
เกิดขึ้นมาน้ันเปนส่ิงที่วาง ทุกส่ิงอยางท่ีอาศัยกันเกิดข้ึนน้ันลวนเปนของวางหรือเปนสุญญ
ตานอกจากน้ี สุญญตายังเปนความวางเปนลักษณะของสิ่งท้ังปวง เปนจิตที่ไมยึดม่ันถือม่ัน
ส่ิงท้ังปวง ความไมมีอะไรเลย เปนความวางทางวัตถุ และสุญญตาเปนความรูความคิดท่ีมี
อยอู ยางสมบูรณ รสู ึกตวั อยตู ลอดเวลา เปน ท้ังปริยัติ ปฏิบตั ิและปฏเิ วธ

๓.๔.๑.๕.๓ หลกั การปฏบิ ัตเิ พื่อเขาถึงสญุ ญตา (พทุ ธทาสภิกขุ)
สุญญตาเม่ือมองในมุมมองทางดานของปรัชญา จะถูกยกใหเปนแนวคิด
ทางดานของปรชั ญา เพราะเหตทุ ี่ คําวา ปรัชญา มีความหมายวา ความรู ซึ่งหมายถึงความ
รทู ่ีเกี่ยวของกับส่ิงตางๆ ที่เก่ียวกับมนุษยทั้งที่เปนอดีตปจจุบันและอนาคต ท้ังที่อยูในภพนี้
และภพหนา๒๕ ในเรื่องน้ีพุทธทาสภิกขุไดกลาวสนับสนุนเก่ียวกับเร่ืองของปรัชญาวา
ปรัชญา คือ สิ่งที่เห็นแจงดวยการพิสูจนและทดลองไมได ตองอาศัยการคํานึง คํานวณไป
ตามหลักการแหงเหตุผลระบบหนึ่ง๒๖ น้ันยอมหมายความวาแนวปรัชญาน้ันเปนเพียง
ความรูในบางส่ิงบางอยาง แตไมไดคํานึงถึงหลักการปฏิบัติ สวนคําวาศาสนาน้ันหมายถึง
ระเบียบวิธีการปฏิบัติ๒๗ ถึงความหมายดังกลาวนี้ ชี้ใหเห็นวา คําวาปรัชญากับศาสนา มี
หลักการคือ ปรัชญาจักใชในภาคทฤษฎี สวนหลักการทางศาสนาจักใชในภาคปฏิบัติ เมื่อ
กลาวถึงสุญญตาตามมุมมองทางศาสนาแลว สุญญตาจึงเปนแนวทางแหงการประพฤติ
ปฏบิ ตั ิในชวี ติ ประจาํ วนั ตามหลกั ของศาสนา
หลักการที่จะตองปฏิบัติเพ่ือเขาถึงหลักสุญญตานั้น พุทธทาสภิกขุกลาววา
ผูปฏิบัติจักตองมีการตั้งจิตไวท้ังภายในและภายนอกเอาใจใสสุญญตาท้ังภายในและ
ภายนอกและฝกฝนจนมีสัมปชัญญะ พุทธทาสภิกขุไดกลาวอธิบายถึงคําวาสุญญตาทั้ง
ภายในและภายนอกไววา คําวาสุญญตาภายใน คืออารมณที่อาศัยเบญจขันธของตนเอง
สวนสญุ ญตาภายนอก คือ อารมณทอ่ี าศัยเบญจขันธข องบคุ คลอืน่ ๒๘ และคําวาฝกจิตใหเกิด
สัมปชัญญะ คือ การฝกจิตในเกิดความรูสึกตัว ไมหลงลืม รูสึกตัวอยูเสมอทุกขณะจิตวา
กําลังทําอะไรอยูท่ีเกี่ยวของกับปจจุบัน ไมสงใจไปในอดีตหรืออนาคตสติสัมปชัญญะ เปน
สตทิ ี่มปี ญ ญาสนับสนุนใหนอมนําเขามาดูจิตใจตัวเองมองตัวเองในการกระทํา การพูด การ

๒๕ สนั่น ไชยานุกลู , ปรชั ญาอนิ เดีย, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๔), หนา ๒.
๒๖ พุทธทาสภิกขุ, คูมือมนุษยฉบับสมบูรณ, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๓๘), หนา
๒๒๔.
๒๗ เรอ่ื งเดียวกัน, หนา ๒.
๒๘ พุทธทาสภิกขุ, การปฏิบัติเพ่ือความมีจิตวาง, (กรุงเทพมหานคร: ไพลิน, ๒๕๔๘), หนา
๑๓.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั ๙๓
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

คิด เปนสภาวะท่ีรูเทาทัน ไมหลงผิดไปตามกิเลส ตัณหาและอารมณท่ีมากระทบ เมื่อมี
สมาธิสมบูรณแลว จึงจะเกิดสัมปชัญญะข้ึนได ดังน้ัน ผูที่จะเขาถึงสุญญตาไดจะตองฝกจิต
ใหเห็นความวางในเบญจขันธท้ังที่อยูในตัวเองและของบุคคลอ่ืน เปนการปฏิบัติเพื่อมุงให
จติ เห็นความวา งหรือใหเ กดิ สัมปชญั ญะหรือฝกอบรมใหจติ เห็นความวา ง

พระพุทธเจาไดตรัสถึงการปฏิบัติเพ่ือเขาถึงสุญญตาและความสําคัญของ
สุญญตาไววาพาหิยะเม่อื เธอเห็นรปู กส็ กั แตวารูป ฟงเสยี งสักแตวาฟง รบั รูอารมณท่ีไดรับรูก็
สักแตวารับรู รูแจงธรรมารมณท่ีรูแจงก็สักแตวารูแจง เม่ือน้ันเธอก็จะไมมี เม่ือใดเธอไมมี
เมื่อนนั้ เธอก็จะไมย ึดตดิ ในส่ิงนั้น เมอ่ื ใดเธอไมยึดติดในส่ิงน้ัน เม่ือนั้นเธอจักไมมีในโลกน้ีไม
มีในโลกอ่ืน ไมมใี นระหวางโลกโลกท้งั สอง นเี้ ปน ท่ีสุดแหงทกุ ข๒๙

จากพุทธภาษิตขางตน พุทธทาสภิกขุไดอธิบายวา พระโยคาวจร ครั้น
กําหนดไดวาสังขารท้ังหลายท้ังปวงเปนของสูญ (วางเปลา) ดวยปฏิสังขานุปสสนาญาณ
(ญาณอันคาํ นึง พจิ ารณาหาทางหลดุ พน คือ เม่ือตอ งการจะพนไปเสียจากสังขารจึงกลับหัน
ไปยกเอาสังขารท้ังหลายขึ้นมาพิจารณากําหนดดวยไตรลักษณเพ่ือมองหาอุบายท่ีจะปลด
เปลอ้ื งหรือหาทางหลุดพน ) อยางน้ีแลว จึงกําหนดสุญญตา เปน ๒ เง่ือนอีกวา สังขารนี้วาง
เปลาจากอัตตะ (ตัวตน) ก็ดี จากอัตตนิยะ (ของๆ ตน) ก็ดี๓๐ จากขอความน้ี เปนการยืนยัน
วา ผูท่ีจักเขาถึงสุญญตาไดน้ัน จักตองปฏิบัติใหถึงข้ันปฏิสังขานุปสสนาญาณ จึงจะเขาถึง
สุญญตาหรือเหน็ สุญญตาได๓๑

๓.๔.๑.๕.๔ สญุ ญตาสําหรับฆราวาส
มีฆราวาส คหบดี พวกหนึ่งเขาไปเฝาพระพุทธเจา และทูลขอรองที่จะไดรับ
ธรรมะท่ีเปนประโยชนเกื้อกูลตลอดกาลนาน แกพวกฆราวาสที่ครองเร่ือง แออัดอยูดวยดวย
บุตร ภรรยา ลูบไลกระแจะจนั ทนของหอม พระพุทธเจา ก็ไดต รัสสูตรนี้ คอื สตู รเรื่องสญู ญตา
เม่ือเขาวามันยากไป ก็ทรงลดลงมาเพียงเรื่องโสตาปตติยังคะ คือขอปฏิบัติ
เพ่ือความเปนพระโสดาบัน กลาวคือใหเขาถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แทจริงแลวก็มี
ศีลชนิดเปน อรยิ กันตศีลคือ เปนที่พอใจของพระอริยเจาไดจริง แตแลวมันก็กลายเปนวาถูก
พระพุทธเจา ลอ เขา บวง เขา กบั ของพระองคไ ดส นทิ

๒๙ ข.ุ ข.ุ (ไทย) ๒๕/๑๐/๑๐๓.
๓๐ พุทธทาสภกิ ขุ, การปฏิบตั เิ พื่อความมีจติ วาง, หนา ๑๕.
๓๑ พระมหาวิเชียร ชุตินฺธโร, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องสุญญตาในคัมภีรมหายาน : ศึกษา
เฉพาะที่ปรากฏในคัมภีรวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต
วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕), หนา ๓๔.

๙๔ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

พูดอยางโวหารหยาบๆ ของพวกเราก็คือวา พระพุทธเจาทานตมคนพวกน้ี
สนิทคอื วา เขาไมเ อาเรื่องสญุ ญตา พระองคก ย็ นื่ เรือ่ งที่หลีกสุญญตาไมพน คือบวงท่ีจะคลอง
เขาไปสูสุญญตาใหคนเหลาน้ีไป ใหเขาไปทําอยางไรที่จะเขาใหถึง พระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ ที่แทจริง และมีศีลท่ีเปนท่ีพอใจของพระอริยเจาได มันก็มีแตเรื่องนี้คือ มองเห็น
ความไมนายึดมนั่ ถือมน่ั ไปเรือ่ ยๆ

ทนี่ ีเ้ รามาคดิ ดวู า พระพทุ ธเจาเปนผูผิดหรือเปลา ในการท่ีพูดวา เรื่องสุญญ
ตานเ้ี ปนเร่อื งสาํ หรับฆราวาส

ถาพระพุทธเจาถูก พวกเราสมัยน้ีก็เปนคนบาๆ บอๆ ไปท้ังหมด คือผิดไป
ทั้งหมด เพราะไปเห็นวา เรื่องสูญญตาน้ันไมใชเร่ืองสําหรับพวกเราฆราวาสท่ีครองเรือน
เรอ่ื งสุญญตาเปน เร่อื งของผูท่ีจะไปนิพพานท่ีไหนก็ไมรู น่ีแหละเรากําลังพูดกันอยูนี้คือเร่ือง
ที่เปนประโยชนเกื้อกูลแกฆราวาสโดยตรง แลวใครจะเปนฝายผิดฝายถูก ถาพระพุทธเจา
เปนฝายถูก เราก็ตองยอมพิจารณาเร่ืองสุญญตาวาจะเปนประโยชนเกื้อกูลตลอดการนาน
แกฆ ราวาสอยา งไร

ทางท่ีจะพิจารณาเรื่องน้ี ก็จะตองมองกันไปตั้งแตวา ใครมันทุกขมากที่สุด
รอนมากท่ีสุด หรืออยูในใจกลางเตาหลอมยิ่งกวาใคร มันก็ไมมีใครนอกจากพวกฆราวาส
แลวเม่ือเปนดังนี้แลวใครเลาที่จะตองการเครื่องดับไฟ หรือวาส่ิงที่จะมากําจัดความทุกข
ดวยประการท้ังปวง มันก็พวกฆราวาสน้ันแหละ พวกท่ีอยูกลางกอบไฟจึงตองหาเคร่ืองดับ
ไฟใหพบในทามกลางกองไฟ มันด้ินไปท่ีไหนไมได. เพราะไมมีอะไรนอกจากไฟ, ไมมีอะไร
นอกจากธรรมชาติชนิดท่ีไปยึดเขาแลว เปนไฟทั้งน้ันเพราะฉะนั้นจะตองหาจุดที่เย็นท่ีสุดที่
กลางกองไฟน่นั เอง มันกค็ ือความวา งจากตัวตนของตน คอื สุญญตา

ฆราวาสตอ งหาใหพบสญุ ญตา ตองอยใู นขอบวงของสุญญตาถาไมอยูตรงจุด
ศูนยกลางของสุญญตาได อยางนอยอยางเลวท่ีสุด ก็ควรจะอยูในขอบวงของสุญญตาคือรู
เรื่องความวางตามสมควรที่จะรู น่ีแหละจึงจะนับวาเปนประโยชนสุขตลอดกาลนานของ
พวกฆราวาส

พวกน้ีเจาไปถามวา อะไรจะเปนประโยชนสุขเกื้อกูลสิ้นกาลนานแกพวกขา
พระองค? พระพุทธเจาตรัสตอบวา “สุญญตปฺปฏิสํยุตฺตา โลกุตฺตรา ธทฺมา” แปลวา ธรรม
ทั้งหลายท่ีอยูเหนือวิสัยโลก ที่เน่ืองเฉพาะอยูดวยสุญญตา. โลกุตฺตรา-อยูเหนือวิสัยโลก ก็
คือวามันอยูเหนือไฟ. เพราะเราหมายความในที่น้ีวา โลกน้ีมันคือไฟ ฉะน้ัน โลกุตฺตรา ตอง
อยูเหนอื ไฟ. และท่ีวาเนื่องเฉพาะอยูดวยสุญญตาน้ันมันยอมตองถึงตัวความวาง, ความวาง
จากความยึดม่ันถอื ม่นั วาตัวเราหรือวา ของเรา

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั ๙๕
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

ดังนั้น “สุญญตาตปฺปฎิสํยุตฺตา โลกุตฺตรา ธมฺมา” นั้น จึงคือของขวัญ
สาํ หรับฆราวาสโดยตรง ทีพ่ ระพทุ ธเจา ทา นทรงมอบใหโ ดยตรง เปนพระพุทธภาษิตท่ียืนยัน
อยูอยางนี้. ขอใหลองคิดดูใหมวามันจําเปนเทาไรท่ีจะตองสนใจ และมีเพียงเร่ืองเดียวจริง
หรอื ไม ไมตองพดู ถึงเร่ืองอนื่ กนั เลย.

ในบาลีสังยุตตนิกายนั้น ไดตรัสยืนยัน ไดตรัสยืนยันไวชัดวา สุญญตา คือ
นิพพาน นิพพานคือสุญญตา; ในที่แหงนั้นมันมีเรื่องท่ีจะตองใหตรัสอยางน้ัน ซึ่งเปนความ
จริงงายๆ วา นพิ พานคือสญุ ญตา สญุ ญตาคอื นิพพาน ก็หมายถึงวางจากกิเลส และวางจาก
ความทุกข ฉะน้ัน นิพพานนั่นแหละคือเรื่องสําหรับฆราวาส ถาฆราวาสยังไมรูความหมาย
นิพพาน ยังไมไดอยูในขอบวงของนิพพานก็แปลวาอยูกลางกองไฟมากกวาคนพวกไหน
หมด๓๒

๓.๔.๑.๖ ธมั มฏั ฐติ ตา
ธัมมัฏฐิตตา ธัมมนิยามตาคือ การที่สิ่งท้ังหลายเกิดข้ึน ตั้งอยูและดับสลาย
ไปเปน กฎธรรมชาตหิ รือภาวะที่ยืนตัวเปนหลักแนนอนอยูโดยธรรมดา เปนกฎธรรมดาหรือ
กําหนดแหงธรรมดา ไมข้ึนอยูกับผูสรางผูบันดาล ไมข้ึนอยูกับการเกิดขึ้นของศาสดาหรือ
ศาสนาใดๆ ดงั พทุ ธวจนะวา "ไมวาตถคตท้ังหลาย (พระพุทธเจาทั้งหลาย) จะเกิดข้ึนหรือไม
ก็ตาม กฎธรรมชาติ กฎธรรมดาน้นั กย็ งั อยู
๓.๔.๑.๖.๑ ประโยชนข องการเรยี นรูเ รอื่ งธัมมฏั ฐิตตา
การเรยี นรเู ร่อื งธัมมฏั ฐิตตาทาํ ใหร แู ละเขา ใจในสรรพสิ่งวามีการต้ังอยู ดํารง
อยูตามธรรมดาของมันเอง ไมมีผูสรางผูบันดาล อะไรทั้งส้ิน ทําใหเขาใจถึงสภาวะท่ีเปน
หลักแนนอนอยูโดยธรรมดา เปนกฎธรรมดาหรือกําหนดแหงธรรมดา ไมมีใครสมารถสราง
และบนั ดาลไดดังพุทธวจนะท่ีไดกลา วแลวในขา งตน
๓.๔.๑.๗ ธมั มนิยามตา
การทสี่ ิ่งท้งั หลายเกดิ ขึ้น ตั้งอยูและดับสลายไปเปนกฎธรรมชาติ หรือภาวะ
ทีย่ ืนตวั เปนหลกั แนนอนอยูโดยธรรมดา เปนกฎธรรมดาหรือกําหนดแหงธรรมดา ไมขึ้นอยู
กบั ผสู รา งผบู นั ดาล ไมข ้นึ อยกู บั การเกิดขึน้ ของศาสดาหรือศาสนาใดๆ ดังพุทธวจนะวา “ไม
วาตถคตทัง้ หลาย (พระพุทธเจา ทัง้ หลาย) จะเกิดขึ้นหรือไมก็ตาม กฎธรรมชาติ กฎธรรมดา
นน้ั กย็ งั อย”ู

๓๒ พทุ ธทาสภิกขุ, แกนพุทธศาสน, (กรงุ เทพมหานคร: สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๘), หนา ๑๐๐-๑๐๓.

๙๖ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

ธัมมนิยามตา คือ การที่สิ่งท้ังหลายเกิดขึ้น ตั้งอยูและดับสลายไปเปนกฎ
ธรรมชาติหรือภาวะที่ยืนตัวเปนหลักแนนอนอยูโดยธรรมดา เปนกฎธรรมดาหรือกําหนด
แหงธรรมดา ไมขึ้นอยูกับผสู รา งผบู ันดาล

๓.๔.๑.๗.๑ ประโยชนของการเรียนรเู ร่ืองธมั มนิยามตา
การเรียนรูเรื่องธัมมนิยามตา ทําใหเขาใจวา การท่ีสรรพส่ิงยอมเปนไปตาม
ธรรมชาติที่ทําใหเปนไปซึ่งกฎตายตัวแหงธรรมชาติ แหงธรรม กฏเกณฑอันเด็ดขาดของ
ธรรมชาติบังคับท้ัง ๕ ประการ จึงทําใหสรรพสิ่งแตกตางกัน นิยามทั้ง ๕ น้ันคือ อุตุ พีช
กรรม จติ ธรรม อันเปน ตัวกําหนดใหส รรพส่งิ เกิดความแตกตางกันนัน่ เอง
๓.๔.๑.๘ อตมั มยตา
สวนหนึ่งจากหนังสือ “อตัมยตาที่ควรรูจักกันไวบาง” ของทานพุทธทาส
ภิกขุ (อตัมยตา เปนคําท่ีทานพุทธทาสคนพบในพระไตรปฎกและนํามาเผยแพร เปนคํา
บอกตัดขาดไมเอาอกี แลวกับกเิ ลสทํานองวา “กูไมเ อากะมึงอกี แลวโวย”)
ทําไมตองรูเรื่องนี้ตองทําความเขาใจกันเล็กนอย เกี่ยวกับเรื่องธรรมะท่ีสูง
ซ่ึงมักจะถูกถือกันวา ไมควรเอามาพูดกับคนทั่วไป หรือวาคนแรกศึกษา ก็มีคนเขาคัดคาน
แมท่ีสุดแตเร่ือง อนัตตา สุญญตา เขาก็ยังวาไมควรจะเอามาพูดกับคนแรกศึกษา เคยถูก
คัดคานมาแลว แตเราก็ไมถือเอาเปนเรื่องสําคัญ เพราะวามันเปนเร่ืองชั้นหัวใจ ก็ควรจะ
ทราบไวบาง แลวมันก็เปนเรื่องสูงสุด ถึงขนาดที่วา ถาไมมีเร่ืองนี้ก็ไมมีพุทธศานา ไมมี
ศาสนาอ่นื ทสี่ อนสงู ขึน้ มาจนถงึ นี้ นมี้ นั มาสอนสงู สุดแลว ไมมีใครจะสอนใหสูงไปกวาน้ีไดอีก
ตอไป พระพุทธเจาเม่ือกอนจะตรัสรูเปนพระพุทธเจา เท่ียวศึกษาในสํานักครูบาอาจารย
ตางๆ คนสุดทายก็สอนเรื่อง เนวสัญญานาสัญญายตนะ พระพุทธเจา (พระสิทธัตถะ ยังไม
พอใจ ก็จงึ บอกลา แลวก็ไปหาเอง ก็พบสูงถึงเร่ือง “อตัมมยตา” คือระงับเสียซึ่งภพทั้งปวง
มนั สูงกวาเนวสญั ญานาสญั ญายตนะ และกไ็ มป รากฏวา ใครจะสอนไปไดมากกวา น้อี ีก
เราก็ควรจะทราบไวในฐานะเปนหลักหัวใจ เปนเน้ือเปนตัวดวย เปนหัวใจ
ดว ย ของพระพทุ ธศาสนา ยง่ิ กวา นั้นมันก็มีทางทจ่ี ะนํามาใชได แมแตคนธรรมดาสามัญ คน
ทําไร ทํานา ทําสวน ใชอตัมมยตา ไดตามสมควรแกอัตตภาพความหมายของอตัมมยตา
ตามตัวหนังสือก็แปลวา “ไมสําเร็จมาแตปจจัยเคร่ืองปรุงแตงนั้นๆ” มันยังฟงไมคอยจะรู
เรื่องก็คือ ไมสําเร็จมาแตปจจัยท่ีเขามาปรุงแตงใหเปนอยางน้ันอยางนี้ หมายความวา
ปจจัยปรุงแตงไมได ถาปจจัยปรุงแตงได จิตมันก็เปนไปตามที่ปจจัยปรุงแตง มันผิดจากจิต
เดิม มันก็ตองเปนทุกข จิตเดิมแทไมมีกิเลส ตามปกติไมมีกิเลส แตถามีอะไรมาเปนปจจัย
ปรุงแตง มันก็กลายผิดจากจิตเดิม ก็คือใจท่ีใหมขึ้นมา มันเปนไปตามปจจัยท่ีปรุงแตง คือ
เปน ทุกขนัน่ เอง

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน ๙๗
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

ภาวะทเี่ รียกวา “อตัมมยตา” คือภาวะท่ีอะไรเขามาปรุงแตงไมได เปนจิตท่ี
ไมถ กู ปรุงแตง๓๓ คือจติ เดิมแทจ ิตเดมิ แทน ้นั ประภัสสรหลักสําคัญท่ีสุดมันมีวา จิตแทๆ หรือ
จิตท่ีไมมีอะไรเขาไปปรุงดวยนั้น มันไมมีความทุกข เรียกวา จิตประภัสสร มันไมมีความ
ทุกข แตถ า วา ไปเกิดอะไรขึน้ มันก็ไมประภัสสร มันเปนไปตามสิ่งที่เขามาเกี่ยวของปรุงแตง
มันก็เปน ทกุ ข ถาไมมีอะไรมาปรุงแตง มันคงเปนประภัสสร ไมมีทุกข ถาไมใหมีอะไรเขามา
ปรุงแตงได ก็ตองมีอตมั มยตาที่วา น้ี

สง่ิ ทเี่ ขามาปรงุ แตง จิตปจจยั ปรุงแตงจากภายใน ไดแกสิ่งท่เี รยี กวา
“ตณั หา” คือความอยาก
“มานะ” สําคญั หมายมน่ั วาอยางน้นั อยางนค้ี ือ ดีกวา เลวกวา เสมอกนั
“ทฏิ ฐ”ิ คือความคิดเหน็ วา เปนอยางนั้นอยางนี้
ถา “ตัณหา” มาปรุงแตง มันก็คือ “อปุ าทาน” แลว กเ็ ปน “ทกุ ข”
ถา “มานะ” มาปรุงแตง มันกเ็ กิด “ตัวตน” ยกหชู ูหาง
ถา “ทฏิ ฐ”ิ มาปรงุ แตง มนั กเ็ ปน “มิจฉาทฏิ ฐิ”

คําวาทิฏฐินี่หมายถึงมิจฉาทิฏฐิทิฏฐิ นี่มี ๒ ชนิด ถาเปน “สัมมาทิฏฐิ” มัน
ปรุงแตงท่ีจะไปสูนิพพาน ก็แปลวามันก็ตองละสภาพเดิมดวยเหมือนกันแตวามันเปนไป
ในทางที่ดีปจจัยปรุงแตงจากภายนอก ที่เปนรูปธรรม คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
ตลอดเวลา คนธรรมดาถกู ปจจัย ๕ อยางนี้ ปรุงอยูเสมอ

บางเวลาก็เปน ปจ จัยภายในปรุงแตง ทั้งนี้เพราะเรามีตา มีหู มีจมูก มีล้ิน มี
กาย ถาไมมีอายตนะเหลาน้ี มันก็ไมรูสึกอะไรไดไมถูกปรุงแตงเพราะเห็นเปน ตถตา “เชน
น้ันเอง” สิ่งที่เปนไปตามธรรมชาติท่ีเกิดเปนอุบัติเหตุขึ้น นํ้าทวม ไฟไหม พายุราย ที่ทําให
ตายกันมากๆ ส่ิงเหลาน้ีก็มีอํานาจปรุงแตงจิตเหมือนกัน ใหโกรธ ใหกลัว ใหสะดุง
หวาดเสยี ว ถามี “อตัมมยตา” ก็ไมหว่ันไหว “มันเปนเชนน้ันเอง”“มันเปนเชนนั้นเอง” จะ
มีอยางแปลกประหลาด อยางไรก็ไมหวั่น เวทนาเปนจุดเริ่มการปรุงแตง สิ่งปรุงแตงมันมา
สรุปอยูที่เวทนา มันจะมีอะไรก็ตาม รูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส อะไรก็ตาม มันจะเกิดเปน
เวทนา แลว เวทนานน้ั มนั ปรุงแตง ตวั กู ของกู กเ็ ปนทกุ ข ถา เวทนาปรงุ แตง ไมได ก็เทานั้นละ
จบหมด

๓๓ เสถียรพงษ วรรณปก, สองอาจารยผ ูย ่ิงใหญ, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร, ๒๕๔๙), หนา
๘๔.

๙๘ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

เวทนาคํานี้มันมีความหมายเหลือประมาณ เวทนานี่มันเปนนายเหนือสัตว
ทุกตัว และคนทุกคนในโลก รวมท้ังเราดวย เราทําอะไรๆ ตางๆ มันก็ทําไปเพื่อสุขเวทนา
จะหาเงิน หาทรัพยสมบัติ เกียรติยศช่ือเสียง บุตรภรรยาสามีอะไร มันก็เวทนาทั้งน้ัน
ตองการเวทนานี่แหละ อุตสาหเลาเรียน ทําการงาน อุตสาหสะสมเงิน ทําอะไรตางๆ สิ่งที่
มุงหมายแทจริงคือสุขเวทนา เวทนาเปนตัวรายที่จะปรุงใหเปนอะไรก็ได เวทนาท่ีพอใจก็
ปรุงไปอยางหน่ึง เวทนาที่ไมพอใจก็ปรุงไปอยางหน่ึง ที่ยังไมรูวาพอใจหรือไมพอใจ ก็ให
สงสยั ใหโ ง ใหหลงอยูน นั่ แหละ ติดอยนู ่นั เอง
ถา มีเวทนาแลว มันกเ็ กดิ ตัณหา มันก็เกิดกิเลสนานาชนิด กามตัณหาก็เกิดราคะ ภวตัณหา
ก็เหมือนกัน ใหเกิดโลภะ วิภวตัณหาก็ใหโทสะ หรือโกธะ มันปนๆ กันมันก็เกิดโมหะ มี
เวทนาเกิดก็มตี ณั หาครบถว น เกิดตัณหาแลว ก็เกิดอุปาทานครบถวน มีอุปาทานก็เกิดภพ มี
ความท่จี ะตองปรุงแตงเปนตวั กูครบถว น กเ็ กิดชาติออกมาเปน ตัวกู

วันหน่ึงเกิดกันกี่หนกี่ครั้งลองสังเกตดู ท่ีจริงพูดไดเลยวา มันเกิดใหมทุก
คราวที่ไดร ับอารมณถามีสติปญญาพอ ก็มีอตัมมยตาไดจิตของเราจะอยูในโลกท่ีเต็มไปดวย
สิ่งที่มันจะปรุง ส่งิ ท่มี นั มอี ํานาจในการปรุงเต็มไปหมด ไมวาที่ไหน มีอตัมมยตาคอยปองกัน
ได รกั ษาอตัมมยตาไวได ปองกันไมใหเกิดการปรุงข้ึนมา สติน่นั แหละเปนเคร่ืองปองกัน เอา
สติปญญามาเปนอาวุธ ตัดมันออกไปเสียอารมณน้ัน อารมณนั้นก็ไมปรุง ไมมีโอกาสที่จะ
ปรุง จิตนั้นกส็ บาย กไ็ มมีความทุกข ใชอตัมมยตาเปนเหมือนกับมนตคาถาอันศักด์ิสิทธ์ิ ขับ
ไลผีคือกิเลสนั้นออกไป ส่ิงท่ีเปนเสนห ท่ีจะเขามาครอบงําจิตใจใหหลงไปน้ัน มันก็เปนผี
ชนดิ หน่ึงเหมอื นกนั

อตัมมยตาสามารถขับไลผ ไี ดท ุกชนดิ เราตอ งสนใจมันไวบาง เกิดมานานแลว
หลายปแลว ก็ควรเห็นอะไรเปนอะไร มันหลอกอยางไร มันหลงไดโดยวิธีใด ก็รูเทารูทันมัน
ไว ศกึ ษาเรอ่ื ง อนิจจัง ทุกขงั อนัตตา อยูเสมอ มันก็หลงไมได เห็นวา โอธรรมดาน้ี ไมเท่ียง
เปนทุกข แลวมันก็เปนอยางน้ันเอง เห็นสุญญตา วางจากตัวตน เปน ตถาตา เปนเชน
น้ันเอง เชน นนั้ เอง สนใจศึกษาไวเถิด เรื่องอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั้นจะชวยใหเกิดอตัมมย
ตาไดโดยงายอยูในโลก แตเหนือโลกไมมีอะไรมาปรุงแตงได น้ันแหละโลกุตตระ เหนือโลก
เปนโลกุตตระ ถายังปรุงแตงไดก็อยูในโลก หรือเปนโลกียะ คืออยูใตวิสัยโลก อยูกับโลกก็
อยา อยใู ตโ ลก อยูเหนอื โลกดกี วา ไหนๆ ก็ตองอยูใ นโลกแลว มอี ตัมมยตาสําหรับจะไมใหจม
ไปในโลก แตจ ะอยเู หนือโลกกันเถิด

อตัมมยตา คือ ภาวะของจิต ท่ไี มมอี ะไรมาทําใหเ ปน บวกหรอื เปนลบ คงอยู
ในความถูกตองตามปกติ. ไมบวกไมลบ คือไมพายแพแกฝายใดฝายหนึ่ง ถาบวกไปหลงรัก
ก็แพดวยความรัก, ถาลบไปโกรธไปเกลียดดวยความโกรธ ก็แพดวยความโกรธและความ

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบนั ๙๙
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

เกลียด ท้ังบวกท้ังลบมันเปนความพายแพในทางจิตใจ; ถามันเปนอิสระไมพายแพ มันคงที่
เปน อตมั มยตา คงที่ไมเ ปล่ยี นแปลงไปตามสง่ิ ท่ีเขามายว่ั ยุ หรือปรุงแตง

ถามนุษยในโลกรูจักทําจิตใจอยางนี้ จะไมเห็นแกตัวจะไมเกิดวิกฤตการณ
อันเกิดมาจากความเห็นแกตัว ดังนั้น จึงถือวา เปนถอยคําที่ควรมีอยูในปทานุกรมธรรมดา
แมของเด็ก ๆ ใหเด็ก ๆ เร่ิมรูจัก เร่ิมสนใจ เริ่มเห็นประโยชนของความมีจิตใจคงท่ี ไม
เปล่ียนแปลงไปตามส่ิงท่ีเขามาย่ัวใหรัก ใหโกรธ ใหเกลียด ใหกลัว ใหต่ืนเตน ใหวิตกกังวล
ใหอาลัยอาวรณ ใหอิจฉาริษยา ใหหวง ใหหึง น่ีอตัมมยตา ภาวะของจิตท่ีไมมีอะไรมาปรุง
แตง ใหเปล่ียนแปลงเปนบวก หรือเปน ลบ หมายความวา ไมยนิ ดยี ินราย, ไมดีใจไมเสียใจ ก็
ไมเกดิ ความเหน็ แกต วั ไมเ กิดตวั กบู วก แลว เห็นแกได, ไมเกิดตัวกลู บ แลวเห็นแกทําลาย จึง
เปน ทางแหงสนั ติสขุ

อตัมมยตา แกปญ หา ไดทุกเร่อื ง
ไมข นุ เคอื ง ของขดั หัดทาํ ไว
เปนสภาพ สภาวะ ท่ีอะไรๆ
ไมส ามารถ ปรุงแตงจติ ใจไดเ ลย

ไมเปน บวก ไมเปนลบ ภพจบสิน้
ไมม หี ยิน ไมมหี ยาง อยวู างเฉย
ไมม ดี ี ไมม ีชวั่ เหลืออยเู ลย
จิตเปดเผย ไมม ีคู อยูเ ดยี วดาย

เปน สภาพ สภาวะ ละของคู
มแี ตรู เหน็ รู ดไู สว
ไมมีใช หรอื ไมใช ใหร่าํ ไร
เพราะวาใจ เหน็ อตมั มยตา

เปน ชวี ิต ท่ีไมคดิ กัดเจาของ
ไมส นอง ตอบรบั กลับไปมา
สงบเยน็ ไมเ ตนแรง ไมเตนกา
ไมหลงบา ไมหลงดี ไมมตี น

ไมม ตี วั ใหเหน็ ก็จะไม เหน็ แกตัว
ไมเ มามัว ไมหลงใหล ไมสบั สน

๑๐๐ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

ไมม โี ลก ไมม สี ัตว ไมม ีคน
มีแตธรรม เออลน พน พรมโปรย
๓.๔.๑.๘.๑ ประโยชนข องการเรยี นรูเร่ืองอตมั มยตา
การเรียนรูเรื่อง อตัมมยตา ทําใหเขาใจสภาวะของระดับจิตสูงสุด กลาวคือ
เปนระดบั ท่ีไมย ดึ ถือหรือยึดติดตอ สิง่ ทง้ั ปวง เปนสภาพจิตท่ีอะไรๆปรุงแตงใหเปนทุกขไมได
อีกตอไป เปนจิตแหงพระอรหันต นั่นเอง ซึ่งคํานี้ทานพุทธทาสภิกขุ แปลเสียอยางถึงใจวา
“กูไมเอากับมึงแลวโวย” หมายความวา เราไมทุกขกับมันอีกแลวจิตสามารถหลุดพนจาก
ทกุ ขไ ดอ ยางสิ้นเชงิ
๓.๔.๑.๙ ตถตา
ทานพุทธทาสภิกขุถือวาธรรมที่เปนหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ “สพฺเพ
ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย สรรพสิ่งไมควรยึดม่ันถือม่ัน” เพราะสอดคลองกับไตรลักษณะ
สํานักสวนโมกขพลาราม ความเปนเชนนั้นเอง ความท่ีส่ิงทั้งหลายเปนเหตุปจจัยแหงกัน
และกัน เมือ่ มเี หตปุ จ จัยมันก็เกิดขึ้นดํารงอยูและเปนไปตามกฎธรรมดา เมื่อหมดเหตุปจจัย
มันก็ดับ ไมไดขึ้นอยูกับการดลบันดาลของใครดังพุทธวจนะวา “ไมวาตถาคตทั้งหลาย
(พระพุทธเจาท้ังหลาย) จะเกิดขนึ้ หรือไมกต็ าม กฎธรรมชาติ กฎธรรมดานั้นก็ยังอย”ู
“สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภนิ เิ วสาย” นแ้ี ลวก็เปนอนั วา ไดยินไดฟ งทง้ั หมด ถาได
ปฏิบัติในขอนี้ก็เปนอันวาไดปฏิบัติท้ังหมด ถาไดผลมาจากขอน้ีก็คือ ไดผลท้ังหมด เพราะ
นน้ั เราไมตองกลัววามันจะมากมายเกินไปจนเราเขาใจไมได เหมือนกับที่พระพุทธเจาทาน
เปรียบเทียบวา ส่ิงท่ีตรัสรูน้ันเทากับใบไมท้ังปาทั้งดง แตสิ่งท่ีนํามาสอนใหพวกเธอปฏิบัติ
นนั้ กํามอื เดยี ว ก็หมายถึงหลักที่ไมใหยืดมั่นถือม่ันในส่ิงใด โดยความเปนตัวตน หรือของตน
น่ันเอง๓๔
ตถตา ความเปนเชนนั้นเอง เม่ือผูส่ือขาวถามวา ทานคิดอยางไรกับการท่ี
พลตรีจําลอง ศรีเมือง,ออกมาขับไลทาน ทานนายกเหล่ียม เอยนายกแหงประเทศไทย
กลาวสน้ั ๆ วา ตถตา มนั เปน เชนนัน้ เอง ทาํ เอาผูส่ือขา วงงไมรูวาเปนเชนไร ๓๕
ตถตา เปนการอธิบายความท่ีสิ่งท้งั หลายเปนเหตุปจจัยแหงกันและกัน เมื่อ
มีเหตปุ จ จยั มนั ก็เกิดขึน้ ดาํ รงอยูและเปนไปตามกฎธรรมดา เม่ือหมดเหตุปจจัยมันก็ดับ การ
ท่ีมันจะเกิด จะคงอยูหรือจะดับไมไดข้ึนอยูกับการดลบันดาลของใคร ไมขึ้นอยูกับการ
ขอรองออนวอน หรือความตองการของใคร เม่ือเหตุปจจัยมันสุกงอมแลว ไมอยากไปก็
จาํ ตองไป เพราะทกุ อยางเปนตถตา = มันเปนเชน นัน้ เอง

๓๔ พุทธทาสภิกข,ุ แกน พทุ ธศาสน, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๘), หนา ๗๓.
๓๕ พทุ ธทาสภกิ ขุ, อิทัปปจจยตา, (กรุงเทพมหานคร: สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา ๑๐๔.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบนั ๑๐๑
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

จะยนื ยันอยางไรวาไมไ ม
ชอ กุหลาบกําลงั ใจหลายหลากสี
กลางเสยี งรอ ง...สู ส.ู ..อยมู ากมี
ตถตาช้.ี ..มันเปนเชนน้นั เอง
๓.๔.๑.๙.๑ ประโยชนข องการเรยี นรูเร่อื งตถตา
การเรียนรูเรื่อง ตถตา ทําใหเขาใจวาทุกส่ิงทุกอยางก็เปนเชนนั้นเอง ตถตา
เปนการอธิบายความที่สิ่งทั้งหลายเปนเหตุปจจัยแหงกันและกัน เมื่อมีเหตุปจจัยมันก็
เกิดข้ึนดํารงอยูและเปนไปตามกฎธรรมดา เมื่อหมดเหตุปจจัยมันก็ดับ การที่มันจะเกิด จะ
คงอยูหรือจะดับไมไดข้ึนอยูกับการดลบันดาลของใคร เพราะทุกอยางเปนตถตา คือ มัน
เปน เชน นน้ั เอง

๓.๕ หลกั การดาํ เนนิ ชีวติ ท่ัวไป

๓.๕.๑ หนาทีข่ องชีวติ
พุทธทาสภิกขุกลาววา ชีวิตท่ีกําลังทองเที่ยวไปในวัฏสงสารสาครแหงความทุกข
นัน้ มคี วามจรงิ ทค่ี วรเขา ใหถ ึง คือ การพยายามหาทางใหเกิดความรูเอาชนะความทุกขใจได
น่ัน คอื หนา ท่ขี องมนษุ ยท ้งั มวล
สวนการประกอบการงานภายนอก เชน งานอาชีพหาเลี้ยงกันในครอบครัวเปน
ตน นนั้ เปนเพยี งงานอดเิ รกของชีวติ ที่กําลังผานวัฏสงสารแผล็บๆ ไป ทั้งน้ีเพราะผลจากงาน
เหลา น้ันแมสมบูรณแลวก็ยังบําบัด “ความหนัก” ของจิตไดนอยเหลือเกิน สวนผลท่ีไดจาก
การศกึ ษาและรูสัจจะสภาวะของชีวิตนั้นยอ มใหส่ิงท่ีชวี ติ ตอ งเผชญิ
ศานติสุขที่แทจริง คือ การที่ใจเปนอิสระเหนือ “เหย่ือ” ของโลกทุกชนิดเมื่อรับ
ใชพระศาสนากเ็ ทา กับรับใชพ ระพุทธเจา ในเบื้องสูงรับใชพระพุทธเจา แตในเบื้องตําเรารับ
ใชโลก อุตสาหกระทําเหน็ดเหน่ือยลําบากยากเข็ญนี่ก็เพ่ือจะใหเปนประโยชนแกโลก
เสียสละทกุ อยางเพื่อใหเปนประโยชนแกโลกอยา งนี้เรยี กวา รับใชโลก
ทํางานดวยจิตวาง ทํางานดวยจิตที่ไมมีตัวเอง ไมมีตัวกู-ของกู ทําไปดวย
สติปญญาที่เหลืออยูในจิตใจหลังจากการตรัสรูแลวก็เรียกวาทํางานเพ่ืองาน ทําหนาที่เพ่ือ
หนา ที่ เรียกภาษาธรรมะวาทํางานดวยจิตวา ง ไมเ ก่ยี วกับตวั กู-ของกู งานนั้นมันกส็ นุกแลวก็
ไมโกงใครดวย๓๖

๓๖ พุทธทาสภิกขุ, สวนโมกข อุดมรคติ ชีวิตและความทรงจํา, พิมพครั้งที่ ๒,
(กรุงเทพมหานคร: สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา ๖.

๑๐๒ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบนั
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

๓.๕.๒ ปฏบิ ัติบชู า
พระพทุ ธองคต องการใหเ ราบชู าดว ยการปฏบิ ตั ิ การปฏิบัตินั้นก็เพ่ือชวยใหทุกคน
รอดใหโ ลกมนั รอด๓๗
การวาดวัด ถาวา มจี ิตใจกวาดเพ่อื ใหว ดั เหมาะสม เปน อยสู ะดวกสบายในการเผย
แผนก้ี ร็ บั ใชพระพทุ ธเจา พวกที่กวาดวัด แกกๆๆ อยู ถาเพ่ือใหกวาดน้ันมันมีความคิดสูงขึ้น
ไปอีกนะ “กวาดกิเลส กวาดความเห็นแกตัว” แมครัวน่ังขอดเกล็ดปลาก็ต้ังจิตวา “ขอด
เกลด็ ความเหน็ แกตวั ” นั่นจะเปน แมครัวทท่ี าํ หนาท่ีถูกตอ ง
ก็มีหลายคนบาหรือดีก็ไมรู ชวยกวาดอยูบอยๆ แตถาเขามีเจตนาวาจะรับใช
พระพุทธเจาละก็ใชได น่ันเขาจะกวาดความเห็นแกตัว กวาดความเห็นแตตัว กวาดกิเลส
ออกไปจากใจ๓๘ ถา ไมมีธรรมะแลว ไปทาํ อะไรเขากม็ ีความทุกขท้ังนั้น หรือแมแตจะมีเงินมา
ก็จะมีเงินเพื่อความทุกข หรือแมแตจะไดดิบไดดีมีเกียรติก็จะเปนการไดดิบไดดี หรือมี
เกียรติท่ีเปนความทุกข ถาหากวาขาดธรรม เพราะวาเขาไมรูจักวางจิตใหไวในลักษณะท่ี
เหมาะสมเพราะฉะนั้นมีเงินมาก็มีมาสําหรับวิตกกังวล เพราะวาเม่ือจะใชก็ใชไปผิดๆ หรือ
เม่ือเอามาเก็บไวก็เปนหว ง๓๙
เราจะตอสูอยูในโลกไดโดยที่ไมตองเปนทุกขเพราะทุกอยางมันถูกตองและแมวา
เราจะจัดโลกใหเปนไปตามความตองการของเราไมได คือโลกมันจะเลวรายสุดเหวี่ยง
อยางไร เราก็ยังไมเ ปนทุกข ถาเรารูจักทําจิตใจตามหลักท่ีพระพุทธเจาสอนไว คือ วาจะยิ้ม
อยูได แมในกลางกองเพลิง กลางกองไฟ จนกระท่ังด้ังจิตดวงสุดทาย มันก็ยังยิ้มอยูได
นนั่ เอง
๓.๕.๓ งานเรงดว น
พุทธทาสภิกขุเนนย้ําเสมอวาควบคุมอายตนะ ๖ ได สวรรคก็เกิดข้ึน น่ีคือขอ
ปฏิบัติควบคุมอายตนะท้ัง ๖ ไดก็ไมมีนรกขึ้นมา ทําใหถูกตองตามเร่ืองของอายตนะ ก็จะ
ไดร ับผลสมตามประสงคกม็ ีสง่ิ ท่ีเรียกวา สวรรค

๓๗ เร่อื งเดียวกนั , ๒๑.
๓๘ เรื่องเดียวกัน, ๒๒..
๓๙ พุทธทาสภิกขุ, พทุ ธทาสภิกขุหลกั พทุ ธธรรม, (กรงุ เทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๓๔), หนา
๑๒.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน ๑๐๓
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

ชาวพทุ ธมงุ ตรงไปยังหวั ใจของพระพุทธศาสนา ไมตองมีพิธีรีตองทําแตพอดีกับท่ี
มนั จะดบั ทกุ ขไดอ ยางไร๔๐

ทานอุปมาใหเห็นวาไมควรเปนเชนวาท่ีลุกเขย ที่คิดไปแสดงตัวใหเปนที่พอใจแก
พอตาแมยายแลวจะแตงงานน่ันนะ มันทําดีเกินไปมันจะทําไมตับปงปลา น้ีเอามาน่ังเหลา
นนั่ เหลา แลว มาขดั กระดาษทราย แลวมันก็ทาน้ํามัน สําหรับไมตับปงปลา เลยถูกไล ถูกไล
ออกไปจากบาน แลวชายหนุมอีกคนหนึ่งเขามา เขาไมทําอะไร เพียงแตผาแกรกเดียว ผา
อีกแกรก หนง่ึ คาบปลาไดแลวก็ใชได น่ีเจาของบานเขาเลยยินดีใหลูกสาว เพราะวาคนแรก
ทําดีเกนิ ไป มันทาํ ดีเกนิ ไป ทํามากเกนิ ไป ไมตรงกับเรอ่ื ง ไมต รงกบั หัวใจของเรือ่ ง๔๑

๓.๕.๔ ชีวิตทางสงั คม
การดําเนินชีวิตตรงไปสูจิตทุกคนตองพึ่งตนเอง แตในสวนอื่นๆ สังคมพุทธพ่ึงพา
กันและกันเปนสังคมแหง “สงฆ” เร่ืองนี้พุทธทาสภิกขุอธิบายวา ในรายละเอียดท่ีจะ
ชวยเหลือซ่ึงกันและกันผูกพันสังคมนั้น ในพระพุทธศาสนานี้มีหลักธรรมอยูหลายหมวด
ยกตัวอยางมาสักหมวดหน่ึงซ่ึงเรียกวาสังคหวัตถุ๔๒ คือส่ิงที่จะใชสําหรับสงเคราะหคือ
ผูกพันกัน
สังคหวัตถุ ก็วัตถุสําหรับสงเคราะห วัตถุน้ีไมจําเปนจะตองเปนสิ่งของ มี
ความหมายเหมือนกับวาตัวเรื่องตัวราวจะเปนนามธรรมก็ได เปนวัตถุธรรมก็ได วัตถุเปน
ท่ีต้ังแหงการกระทํา อยางนี้ก็เรียกวาหลักเกณฑเปนอุดมคติอยางน้ีก็ไดสังคหวัตถุมีอยู ๔
อยา ง คอื ทาน ปย วาจา สมานตั ตา อตั ถจริยา
ทาน คือ การเอื้อเฟอเผ่ือแผ, ปยวาจา แปลวา พูดจาดวยความรัก, สมานัตตา
ทําตนเปนผูเสมอกัน ไมยกตนขมเขา, ทําตนเปนเพื่อเกิดแกเจ็บตายดวยกันก็เรียกวา
สมานัตตตา แปลวา มีตนอันเสมอกัน, อัตถจริยา คือ ประพฤติประโยชน เมื่อรูสึกอยางนี้
แลวก็ไมอยเู ฉยๆ เปน สังคมธรรม คือธรรมะท่จี ะตองประพฤติตอ สงั คม
ถาเปนพุทธบริษัทจะตองนึกถึงโลกสวนรวม เพราะวาเปนพระพุทธประสงควา
การเกิดข้ึนของพระพุทธองคน้ัน เพื่อประโยชนทั้งแกเทวดาและมนุษย คือมันท้ังโลก ทั้ง

๔๐ พุทธทาสภิกขุ, หัวใจของธรรมะ โดยหลักพ้ืนฐาน, (กรุงเทพมหานคร: การพิมพพระนคร,
๒๕๒๘), หนา ๑๔.

๔๑ เรอื่ งเดียวกนั , ๑๕.
๔๒ พทุ ธทาสภกิ ข,ุ ศีลธรรมกับการแกปญ หาศลี ธรรม, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๘),
หนา ๒๘.

๑๐๔ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

โลกเทวดา ทง้ั มนุษย ทานประสงคอยางนั้น ดังนั้นผูท่ีเสร็จหนาที่ของตนแลวก็ตาม หรือยัง
ไมเ สร็จหนาท่ีของตนกต็ าม จะตองนึกถึงผอู ่ืนดวย จะตองถึงโลกดว ย๔๓

๓.๕.๕ ยอดสิง่ ปรารถนาในชีวติ
ทานอธิบายวายอดสุดของส่ิงปรารถนา เราเล็งเอายอดสุดของสิ่งท่ีจะปรารถนา
ดังท่ีเรียกเมื่อการบรรยายคราวแรกวา “ดีท่ีสุดของมนุษย” อันนี้บางพวกหรือบางฝายเขา
ถอื เอาความสขุ ทม่ี เี หย่ือเปน ความสขุ โดยเฉพาะก็คอื กามารมณอีกนั่นเอง เขาเรียกวา “สา
มิสสุข” คือ สุขที่ประกอบอยูดวยอามิสหรือเหย่ือ สุขที่มีเหย่ือเรียกวา “สามิสสุข” สวน
พทุ ธศาสนาเลง็ ถงึ สุขท่ไี มม ีเหยอ่ื เรียกวา “นริ ามิสสุข” สุขทไี่ มมีเหยอื่ คอื นพิ พาน
สุดโตง นนั้ คือผดิ อยูอยางสุดโตง ไมมีอะไรจะผิดย่ิงไปกวานั้นอีกแลว ตอเม่ือเดิน
ไปดว ยสตปิ ญญา สมั มาทิฏฐิ ตรงกลางเทา นั้น จงึ จะเปนเรื่องที่ไมผ ิด
ชีวิตอัตภาพ จะตองไดรับการบริหารใหถูกตอง ใหมันอยูที่พอเหมาะพอสมอยา
ไปตามใจมัน แตก็อยาไปกดขข่ี ม แหงมัน ฟงดูใหดีเถิดวา หมายความวา อยางไร๔๔
ท่ีวา ไมไปไหน ไมอยูท่ีไหน นั่นหมายความวา มันไมมีความรูสึกวาฉันไปไหน
เพราะความอยากอะไร ฉันอยทู ่ไี หนเพราะความอยากอะไร ความหวงั อะไร ท้ังท่ีรางกายมัน
ก็อยูในเมืองนั้น อยูเมืองนี้ อยูวัดนั้น อยูวัดน้ี เดินไปหาคนนั้น พูดจากับคนน้ี เพราะฉะน้ัน
เขาจึงมีโวหารพูดขึ้นมาสําหรับช้ันน้ีวาไมไดอยูที่ไหน ไมไดไปท่ีไหน ไมตองการอะไรเลยไม
หวังอะไรเลย จึงเปนจิตท่ีอิสระหลุดพัน หรือฟรีถึงท่ีสุดแลวก็สงบอยางย่ิง เปนทุกขศูนย
เปน สุขโดยสมมุติวาเปนสุขอยางยิ่งอยูในตัวส่ิงน้ัน น้ีท่ีสุดปลายทางคือ summon Bonum
อยางแทจ รงิ นนั่ เอง
๓.๕.๖ กระแสชีวติ คนตาดขี ีค่ อคนตาบอด
ชีวิตคือ เร่ืองของส่ิงเหลานี้ กิริยาอาการปรุงแตงอันมากมายของเหลาน้ี วาส่ิงน้ี
คอื ชีวิต..ชีวติ ธาตุทาํ ใหเ กิดอายตนะ อายตนะทําใหเ กดิ ขันธ ขันธทําใหเกิดปฏิจจสมุปบาท
หรือ มีอาการแหงปฏิจจสมุปบาท มีปฏิจจสมุปบาทก็คือมีทุกขเรารู ๕ เรื่องนี้แหละ เรื่อง
ชีวติ โดยสมบรู ณ ทา นพุทธทาสภกิ ขอุ ปุ มาเหมอื นตนตาบอด๔๕

๔๓ เรื่องเดยี วกนั , หนา ๒๙.
๔๔ พุทธทาสภิกขุ, ทางประเสริฐสําหรับดําเนินชีวิต, พิมพครั้งท่ี ๑, (กรุงเทพมหานคร:
สุขภาพใจ, ๒๕๕๓), หนา ๒๐-๒๑.
๔๕ พทุ ธทาสภิกขุ, การควบคุมกระแสแหงชีวิต, พิมพคร้ังที่ ๑, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ,
๒๕๕๐), หนา ๑๖.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๑๐๕
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

รูปแบบชีวิตมีแตกตางก้ันไป สมณะ คือ ผูท่ีหลักจากความไมสงบ ไปมีชีวิตอยู
อยางมีความสงบ เพราะฉะน้ันจึงเปนนักบวชและเรียกวาสมณะตามความหมายของคําวา
“สมณะ” แปลวา สงบ พวกพราหมณเ ขาก็อยูบานเรอื นมีบตุ รภรรยาเหมือนคนธรรมดา แต
ต้ังอยูในฐานะเปนปูชนียบุคคล คงท้ังหลายนับถือบูชา เขาก็เอาอะไรไปให เอาขาวไปให
เอาเงิน เอาอะไรไปให จนพวกพราหณเปนอยูไดโดยไมตองทําอาชีพ สวนพวกสมณะนี้
โดยท่ัวไปเขาก็ใหทาน คือวา เขาถือวาเปนผูทําประโยชนแลวเขาก็อยากจะเอาบุญเขาก็ให
ทาน๔๖

คนตาดี คอื จิตทม่ี ปี ญ ญาเหน็ ความเปนจรงิ ความธรรมดาของชีวติ
ส่ิงไมพ งึ ปรารถนาในชวี ิตชาวพุทธ
การเวียนวาย ไมเปนส่ิงพึงปรารถนาในชีวิตชาวพุทธ พุทธทาสภิกขุไดจําแนก
ลกั ษณะการเวียนวายในชีวติ ดงั นี้

(๑) ถาวาดวยอารมณ การเวียนวายก็เวียนวายไปในรูป เสียง กล่ิน รส
โผฏฐัพพะธัมมารมณ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางล้ิน ทางกาย ทางใจคือสิ่งท่ีเปนเหย่ือที่
เขามาลอใหรักหรอื ใหเกลยี ด ใหรกั หรอื ใหชัง

(๒) วาโดยสถานที่หรือแดน ก็เวียนวายในสุคติ ทุคติ คิดอยารงไรไดอยาง
นน้ั คดิ อยา งสัตวเ ดรจั ฉานก็เกิดเปน สัตวเดรัจฉานขึ้นมาทันที คิดอยางเปนคน รอนใจก็เปน
สัตวน รกขึ้นมาทนั ที กลัวก็เปน อสรุ กายทนั ที หิวกเ็ ปนเปรตทันที

(๓) การเวียนวายนี้ ถาวาโดยกิริยาอาการ มันก็แบงเปน กิเลส กรรม และ
วบิ าก กิเลส คอื ความอยาก กรรมคอื การกระทําลงไปตามอํานาจของความอยาก วิบากคือ
ผลทเ่ี ดข้ึนจากกรรมนั้น วิบากก็ทําใหเกิดกิเลสรายใหมอีก คือมีกิเลสอีก ทํากรรมอีก ไดผล
กรรมอีก แลวก็เกิดกิเลสอีก ทํากรรมอีก ไดผลอีก เปนวงกลมอยางน้ี เปนวงกลมอยางน้ี
เรียกวา “ไตรวัฏฏ” ในวันหน่ึงๆ เรามีกี่วัฏฏะ ในวันหนึ่งเราอยาก แลวเราทํา แลวไดผล
แลว อยากอกี แลวทาํ อกี แลวไดผ ลอกี

(๔) ถาวาโดยผลท่ีไดมาเปนปฏิกิริยาออกมา ก็คือ เกิด แก เจ็บ ตาย มันจะ
เวยี นอยใู นเรือ่ งเกิดแกเ จบ็ ตาย ในฐานะเปน ผลของวัฏฏะ ไมไดหมายแตทางรางกายนี้อยาง
เดียว ใหหมายถึงทางจิตใจดวย ตัวกูมันเปนอุปาทานเกิดขึ้นมา แลวเด๋ียวตัวกูมันก็คอยๆ
เสื่อม ก็คอยๆ เปล่ียน แลวตัวกูมันก็ดับลงไป เดี๋ยวตัวกูมันก็เกิดขึ้นมาอีก มันก็เปลี่ยนไป
เดยี วมันกด็ ับลง

๔๖ พทุ ธทาสภิกขุ, หลักพุทธธรรม, (กรงุ เทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๓๔), หนา ๑๖๒-๑๖๓.

๑๐๖ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

(๕) นัยสุดทายก็คือ วาเม่ือดูโดยสภาวธรรม การเวียนวายนี้ก็ไมมีอะไร
นอกจากการเกดิ ข้ึน เปลี่ยนไป และดับลง

๓.๕.๗ คาํ เปรียบชวี ิต
การดําเนินชีวิตของพุทธบริษัททุกรูปแบบเปนไปเพ่ือความดับทุกขประการเดียว
เทาน้ัน แตพุทธทาสภิกขุเปรียบเทียบการดําเนินชีวิตไปสูเปาหมาย คือ ความดับทุกข
ดงั ตอไปนี้๔๗
สําคัญท่ีสุด คือ มีมากสุดท่ีใชพูดกัน ก็คือวา ชีวิตน้ีเหมือนกับการเที่ยวเรือไปใน
ทะเล ลงเรอื ไปในทะเลก็เพอ่ื ไปหาอะไรอยางใดอยา งหนึง่ ทมี่ คี ามากที่สุดสําหรับเขา จนกวา
จะได
ชีวิตน้เี หมอื นกบั เดนิ ทางไกล เดินทางวิญญาณ เดินทางนามธรรม เดินอยูภายใน
จนกวาจะถึงจุดหมายปลายทาง การปฏิบตั อิ รยิ มรรคเปน การเดนิ ทางอยูข างใน
ชีวิตเปรียบเหมือนกับวาออกไปสูฝงโนน นิพพานเปนชื่อของปาระ คือฝงโนน
โลกิยะเปนชอ่ื ของตรี ะ คือฝง นี้
ชีวิตเปรียบเหมือนออกจากโลกไปสูโลกอุดร โลกหรือโลกิยะนี้มันเหลือทน ทีนี้
ตองการจะออกไปเสียจากโลก ไปสนู อกโลก คือ โลกตุ ตระ
ชีวิตหรอื การปฏิบตั ธิ รรมเหมอื นกับการทาํ นา แตทาํ นาตามแบบของพระพุทธเจา
ยังไมรูจัก เปนการทํานาท่ีมีอมตะเปนขาวเปลือก ทํานาที่มี อมตะ เปนผล มีศรัทธา เปน
ขาวพืชเปนขาวกลา เปนเม็ดขาวพืช มีตบะเปนนํ้าฝน มีปญญา เปนตัวไถสําหรับไถนา
เพราะมันคม มีหิริ ความละอายบาปท่ีทําใหงามเปนงอนไถ มี ใจ เปนเชือกชักไถ มีครบทุก
อยางเหมือนกันแลวมีการบรรลุมรรคผลน้ีเปนการส้ินฤดูทํานา หยุดการทํานา ไดผลเปน
ขาวเปลือก เปนอมตะวาชีวิตน้ีเหมือนกับการรักษาตนใหหายจากโรค เพราะเราเกิดมาก็
มีโลภะ โทสะ โมหะ เกดิ ข้ึนงอกงามข้ึนมาเร่ือยก็เปนโรคท่ีเจริญขน้ึ เรื่อย
ชีวิตนี้เหมือนกับการถอนลูกศรท่ีกําลังเสียบอยู มันมีความทุกข มันจะตองดับ
ทกุ ข ทุกขมันเกิดจากอะไร ก็ตองแกท่ีน่ัน ไมตองมัวถามวาตายแลวเกิด หรือไมเกิดเปนตน
มันควรจะถามวา ท่ีเกิดอยูน่ีทําอยา งไร ถาทําใหเสรจ็ เรื่องมนั กจ็ บ
ชีวิตเหมือนกับการดับไฟที่ไหมอยูที่ศรีษะราคัคคินา รอนดวยไฟ คือ ราคะ โท
สคั คินารอ นดว ยไฟ คอื โทสะ โมหคั คินา รอ ยดว ยไฟ คอื โมหะ หมายถึงมนั รอนมนั เผา

๔๗ พุทธทาสภิกขุ, สนั ทัสเสตพั พธรรม, (สุราษฏรธ านี: ธรรมทานมูลนธิ ิ, ๒๕๓๘), หนา ๑๗๘.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน ๑๐๗
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

ชีวิตนี้เปรียบเหมือนการพยายามติดตามฆายักษมาร กิเลสมาร ขันธมาร สังขาร
มาร มัจจุราชมาร เทวปุตตมาร ลวนแตเปนมารทั้งน้ัน กิเลสก็เปนมาร รางกายตาม
ธรรมชาตกิ ็เปน มาร ผลกรรมกเ็ ปนมาร ความตายก็เปน มาร

ชีวิตน้ีเปรียบเหมือนการทําลายเปลือกหุมฟองไข ออกจากท่ีมืดมาสูที่สวาง
พระพุทธเจา ทานเปน บคุ คลแรก เปนลูกไกตวั แรกทท่ี ําลายเปลอื กฟอง คืออวชิ ชาออกมาได

ชีวิตนี้มันเหมือนกับการหาจุดเย็นที่สุดในกลางเตาหลอม เต็มอยูดวยไฟ คือ
โลภะ โทสะ โมหะ ยิง่ สมยั น้ีแลว ไฟรอนจัดขึน้ ทุกที

หาหีพบเพชรท่ีมีอยูแลวท่ีหนาผาก ความหมายในทางภาษาธรรมมันมีอยูวา ใน
รางกายนี้ มันมีความดับทุกข หรือนิพพานอยูแลว คูกันกับความทุกข ชีวิตท่ีแทจริงนั้น ถา
ทําใหดีแลว มันเหมือนกับหาใหพบเพชรท่ีมีอยูหนาผาก มันไมยากเย็นลําบาก มันไม
เหลอื วิสยั มันไมอ ะไรเลย

๓.๖ ดานการศาสนา

พุทธทาสภิกขุไดแสดงทัศนะวา ศาสนา คือ ส่ิงท่ีทําใหมนุษยไดรับส่ิงที่ดีท่ีสุด
สําหรบั มนษุ ยต ามที่เขาควรจะได คาํ วา ส่ิงท่ีดที ส่ี ุดสําหรับมนุษยควรจะไดน้ีดูพวกเราไมคอย
จะสนใจนัก ฉะน้ัน ขอใหสนใจกันใหพอสมควรก็จะเกิดความกระตือรือรนในการที่จะไดสิ่ง
ท่ีดีที่สุดมนุษยควรจะไดรับจากพระศาสนา วิชาความรูทางจิต ถามีส่ิงท่ีเรียกวาศาสนา
มนุษยเ ราในโลกนีก้ ็จะไมเ กดิ โรค ชนดิ ทมี่ มี ูลมาจากจติ ใจ เชน วิตกกงั วลมากเกิดไปโลภมาก
เกินไป ตะกละในเหย่ือในอารมณมากเกินไป หรือไปกระทําอบายมุขอยางอื่นๆ อีกหลายๆ
อยางจนกระทั่งเกิดความเจ็บปวยในทางกาย เชน ชอบเท่ียวกลางคืน ก็จะมีการเจ็บปวย
หรือไดรับอันตรายอีกหลายอยางหลายประการอยางนี้ ถามีพระศาสนาคุมครองแลวก็ไม
ตองเปนโรคเจ็บปวยในทางรา งกายชนดิ นนั้ ฉะนั้น ขอใหถือวา พระศาสนาน้ันเปนสิ่งบําบัด
โรค หรือปองกันโรคในความหมายหนง่ึ ดว ย๔๘

ศาสนานี้คือคําสั่งสอนน้ี มันก็ถูกอยางย่ิงดวยเหมือนกัน คือสอนใหรูท่ีควรจะรู
สอนใหปฏิบัติ สอนใหเปน สขุ ชนิดที่ไมม คี วามสุขอยา งอื่นเสมอเหมือน

สอนใหร ูเรอ่ื งทีส่ ําคัญ ก็คอื เรอื่ งความทกุ ข เร่อื งเหตุใหเกิดความทุกข เร่ืองความ
ดับสนทิ แหงความทุกขแ ละเรอื่ งหนทางใหถ ึงความดับสนิทแหงความทุกข

๔๘ พุทธทาสภิกขุ, บางแงมุมของศาสนาในทัศนะพุทธทาส, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ,
๒๕๔๓), หนา ๔๔.

๑๐๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

ท่ีวาสอนใหรับประโยชนสุข ชนิดที่ไมเหมือนใครนั้น ก็คือ ใหไดรับประโยชนสุข
จากพระนพิ พาน

สิ่งที่เรยี กวา ศาสนาน้นั คือคําส่ังสอน ในลกั ษณะ ๓ ประการ ดังที่กลาวมาแลวที่
เรียกเปนภาษาบาลีวา ปริยัติศาสนา-ศาสนาสอนใหรู ปฏิบัติศาสนา-ศาสนาสอนใหปฏิบัติ
ปฏเิ วธศาสนา-ศาสนาสอนใหร แู จง ตลอด ซง่ึ ผลแหงการปฏบิ ัติ

๓.๖.๑ ศลี ธรรม กฎหมาย และศาสนา
ส่ิงท่ีเรียกวาศีลธรรมหรือกฎหมายสอบประเภทแรกน้ียังคงผูกพันอยูกับสังคม
เสมอมีหลักเกณฑใ นทางท่จี ะผูกพนั คนอยูกับสงั คมมนษุ ยเ สมอ แตท ่ี เรียกวาศาสนา
อนั ที่สามนี้ มันสง คนออกไปนอกสังคมได คือมีจิตใจท่ีอยูนอกการผูกพันของสังคมได คือ มี
จิตใจท่ีอยูนอกการผูกพันของสังคม จนไปอยูกับพระเปนเจาในโลกพระเปนเจา หรือวา
บรรลุมรรคผล นิพพานไปเลยซึ่งเปนการพนจากความผูกพันของสังคม เพราะน้ันจึงเกิด
เครอ่ื งที่เรียกวา เหนือโลกนอกโลกขึน้ มา
ขอใหทา นทงั้ หลายคิดดใู หดวี า หลักของศาสนาน้นั ไมไดถ ือวา เรามีชีวิตอยู เพราะ
อาหารท่ีเรากินเขาไปเลี้ยงรางกายอยางเดียว น่ันมันเปนเพียงใหชีวิตทางรางกาย ยังไมมี
ความหมายแหงความเปนมนุษยที่ถูกตอง ถาจะมีชีวิตเปนมนุษยใหถูกตอง มันตองมีอีก
อยา งหน่งึ ซ่งึ ทําใหเปน มนษุ ยน ั้นคอื ธรรมะ นั้นคือศาสนา นั้นคือคําสั่งสอนของพระเปนเจา
ทกุ ๆ คํา พอเราปฏบิ ตั ติ ามท้ังหมดน้ี มันกลายเปน ชีวติ ที่แทจรงิ ข้นึ มา เมอ่ื ตะกไ้ี มใชชีวิตจริง
ชีวิตเนื้อหนังรางกายท่ีมีมูลมาจากอาหารน้ี มันเปนชีวิตชนิดที่เปนเพียงเปลือกหรือวัตถุ
กอนวัตถุเทาน้ันแตความหมายท่ีแทจริงของชีวิต คือ ความเปนอยูที่ความดี ความงาม คือ
สิ่งดีที่สุดที่มนุษยค วรจะได นน้ั เรยี กวา ชวี ิต
การหาอาหารกนิ การแสวงหาความสุขจากการนอน การรูจักข้ีขลาดหนีอันตราย
การประกอบเมถนุ ธรรม เหลา น้ีมไี ดเสมอกนั ระหวา งคนกับสัตว แลวประโยคท่ีสําคัญท่ีสุดก็
วา “ธมฺโม หิเตสํ อธิโก วิเสโส” วาธรรมะเหลาน้ันที่ทําคนใหผิดแปลกแตกตางจากสัตว
“ธมฺเมน หนี า ปสภุ ีสมานา” เมือ่ เอาธรรมออกไปเสยี แลว คนทีเ่ สมอกนั กับสตั ว”

๓.๗ ดานการเมือง

การเมืองที่แทจริงสําหรับมนุษยตองตั้งฐานอยูบนรากฐานทางศาสนาของทุก
ศาสนาท่ีมีอยูวา “สัตวท้ังหลายเปนเพื่อนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันท้ังหมดท้ังส้ิน”
นักการเมืองท่ีมีธรรมสัจจะขอน้ีอยูในใจยอมเปนนักการเมืองของพระเจา การเคล่ือนไหว
ของเขาทุกกระเบียดนิ้วมีแตบุญกุศล จนกระทั่งกลายเปนปูชนียบุคคลไป ระบบ

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน ๑๐๙
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

ประชาธปิ ไตยนี้จะเลวรา ยทีส่ ดุ กวาระบบไหนมด ถาไมประกอบไปดวยธรรม คือตางคนตาง
ใชกิเลสยื้อแยงกันเทาน้ันเอง ขอใหนักการเมืองท่ีถือลัทธิการเมืองระบบไหนก็ตามจัดแจง
ปรับปรุงกระทําใหระบบการเมืองนั้นๆ ประกอบอยูดวยธรรม น้ีคือธรรมะสําหรับ
นักการเมือง เร่ืองประชาธิปไตยน้ีดูเจตนารมณก็ดีอยู แตพอเขาใจผิดก็กลายเปนอันตราย
ทําใหคนเปนบาเสรีภาพ ระบบการเมืองที่มีอยูในโลกเวลาน้ีจะเปนประชาธิปไตยก็ดี เปน
คอมมิวนิสตก็ดี เปนนายทุนก็ดี เปนกรรมกรก็ดี ทุกๆ คูมันไมเปนไปในลักษณะที่วา “เรา
เปนเพ่ือนเกิด แก เจ็บ ตายดวยกัน” จึงมีแตการเอาเปรียบแลวก็มีการตอสูเปนคูกัน ฟด
เหวีย่ งกันไปไมมที ี่สิ้นสดุ

๓.๗.๑ บทนิยาม “การเมือง” ตามแนวทางศาสนา
“สงิ่ ทีเ่ รยี กวาการเมือง เรามีความหมายหรือบทนิยมโดยเฉพาะตามแนวทางของ
ศาสนา แตก็คงจะมีใจความท่ีตรงกันโดยหลักทั่วๆ ไปวา การเมือง น่ันคือ การจัดถูกตอง
ตามกฎของธรรมชาติ เพอื่ คนมากจะอยรู ว มกันอยา งผาสกุ
คําวา สังฆะ พระสงฆ ตัวหนังสือแปลวา หมู หรือ พวก มันไมไดแปลวา เด่ียว
คนเดยี ว เมอ่ื อยเู ปน หมู เปนพวก มนั กต็ องมีอะไรทีจ่ ะเปน เคร่อื งยดึ เหน่ยี ว หรือมีหลักธรรม
สัจจะอันใดอันหนึ่งจะทําใหคณะสงฆตั้งอยูไดเปนหนวยเดียว จากสวนประกอบของหนวย
หลายรอยหลายพนั หลายหมนื หนวย ดึงเขาเปนสงั คมทถ่ี กู ตอ ง ท่ีอยรู วมกันอยา งผาสกุ
ถาจะดูใหดีก็จะย่ิงเห็นมากขึ้นไปอีกวา น่ีมันเปนการสอดคลองกับธรรมชาติมาก
ทสี่ ดุ และยังจะปอ งกันเหตุการณเลวรายทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตขางหนา
จะแกปญหาไดตองไมเปนทาสของวัตถุกันท้ังนายทุกและชนกรรมาชีพ เด๋ียวน้ี
พดู ผา ซากลงไปไดเลย แลวก็มองเห็นดวย มองเห็นไดจริงดวยวา นายทุนก็เปนทาสวัตถุชน
กรรมาชีพก็เปนทาสฝายวัตถุกันเสียเทาน้ัน ก็หมดความเปนนายทุน หรือความเปนชน
กรรมาชีพท้ังนายทุนและชนกรรมาชีพ กลายเปนผูท่ีตองการท่ีจะรํ่ารวยดวยบุญ เสียอยาง
เดียวเทา นน้ั หมดปญหา
เจตนารมณข องการเมอื งตองเปนศลี ธรรม อยา ลืมวาการเมอื งน้ีเราใหความหมาย
วามันเปนเรื่องถูกตองของการปฏิบัติของมนุษยในการเปนอยูรวมกนอยางมากๆ อยาง
ผาสกุ เพราะวาทําถูกตองตามกฎของธรรมชาติ เจตนารมณของการเมืองเปนอยางนั้น ตอง
เปนตามความประสงคของทกุ คนท่ีอยรู วมกัน
แมแตธ รรมชาติ ถา วาเราจะมองดูธรรมชาติในฐานะท่ีใหมันมีเจตนาก็จะตองรูสึก
วาจะตองมองเห็นวามันมีเจตนาเพ่ือสันติภาพ สีลภาวะ หรือภาวะแหงความปกติน้ีเปน

๑๑๐ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

วัตถุประสงคของธรรมชาติ ถาผิดปกติวุนวายแลวไมใชวัตถุประสงคของธรรมชาติและไม
ตรงกับความหมายของคําวา “ศลี ”

ฉะนั้นการเมืองนี้ถามันบริสุทธ์ิมันก็เพื่อความสงบ หรือสันติภาพของมนุษย
น่นั เอง ถาการเมืองไมประกอบอยดู วยธรรมะ หรือพระธรรมแลว มันก็เปนระบบโจรท่ีปลน
ธรรมชาติ โจรทที่ ําลายธรรมชาติ โจรทําลายทรัพยสมบัตขิ องพระเจา นั่นเอง

อุดมคตติ อ งเปนไปตามธรรมสจั จะของธรรมชาติในท่ีสุดนี้ใหมองเห็นส่ิงท่ีเรียกวา
อุดมคติเสียใหมอยางถูกตอง วาอุดมคตินั้นเราชอบกันนักหนา เราบูชากันนักหนา แตแลว
มันก็ผิดได ถาอุดมคตินั้นมันเปนเพียงสัจจาภินิเวส เปนความจริงเฉพาะ คนท่ียึดถือ ดื้อรั้น
ไปคนเดียว เชน อดุ มคตทิ างการเมือง พวกหน่ึงสายหนึ่งนี้ มันเปนสัจจาภินิเวสทั้งนั้น ไมใช
ของจรงิ ของพระเจา อยางนี้เปน อุดมคติท่ใี ชไมได

ฉะนนั้ อุดมคติทางการเมืองมันจึงเปนปญหาอยูมันถูกหรือผิด น้ีมันมีปญหายู แต
เราจะทําใหหมดปญหาไดไมยาก โดยทําใหมันประกอบไดดวยธรรมซ่ึงมีรากฐานอยูท่ีความ
ไมเห็นแกตัว ทุกอยางมอบใหพระเจามอบใหธรรมะ มอบใหความถูกตอง หรือความ
ยุติธรรมอยาเอาตวั กเู ปนใหญ เปนตัวกนู ิยม

๓.๗.๒ วิพากษก ารเมอื ง
พทุ ธทาสภิกขุ ไดวิพากษการเมืองในปจจุบันไววา เราจะมองดูระบบการเมืองใน
โลกปจจุบันกันสักสามแงคือ ดูท่ีตนเหตุของมัน ดูที่ความเจริญของมัน แลวก็ดูที่มันพัวกัน
อยางสับสน แงอยางแรกที่วาตนเหตุของปญหาการเมืองทั้งโลกนี้มันมีอยูที่ไหน อาตมา
อยากระบลุ งไปวา โดยเฉพาะปจ จุบนั นีไ้ ปหลับหหู ลบั ตาหลงใหลในเรอ่ื งความเจริญทางวัตถุ
มากเกินไป ไมมีใครรูสึกตัว ไมมีใครละอายในการท่ีจะกอบโกยวัตถุ เมื่อตกเปนทาสของ
กิเลส หรือตกเปนทางของวัตถุเสียแลว จิตใจก็ไมอาจจะรูสึกละอายไดก็ไมรูสึกกลัวดวย
เปนทาสของเนื้อหนังมันก็ละทิ้งพระเจา พวกฝร่ังเขาเคยมีพระเจา เขาก็ละทิ้งพระเจาเขา
จดั ใหพระเจา ตายแลว ไมมีอยแู ลว ฝายตะวนั ออกนกี้ ็ละทงิ้ พระธรรมซงึ่ มีฐานะอยางเดียวกัน
พระเจาละทิ้งศาสนา ละท้ิงพระธรรม แมแตวัฒนธรรมของบรรพบุรุษฝายตะวันออก อยาง
จนี อยางไทยแทน ี้ มันถูกละท้ิงไป ไปเปน ทาสของเนอ้ื หนัง
ที่น้ีแงท่ี ๒ มองดูถึงความเจริญ ตนเหตุอันน้ันไดทําใหเกิดความเจริญย่ิงๆ ขึ้น
เจริญไปแตในทางเกลียดศลี ธรรม เจรญิ ไปแตในทางเกลียดศาสนา เห็นแตความสุขทางเนื้อ
หนงั เห็นแตสว นเกนิ ย่งิ ๆ ขึน้ ไป ในความสนุกสนานทางเนอ้ื หนัง
ที่น้ีในแงท่ี ๓ ดูอาการท่ีมัน ผูกพันกันในระหวางมนุษย หรือระหวางระบบ
การเมืองท้ังหลาย ความพัวพันน้ีมันเปนความพัวพันหลายอยางหลายทาง เชน ประโยชน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบนั ๑๑๑
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

มันเก่ียวเน่ืองกัน หรือมันเปนปจจัยใหแกกันและกัน ตางฝายตางตองอาศัยกัน มันก็เปน
เหตุใหระบบการเมืองในโลกมันเก่ียวของกัน ตางฝายตางตองอาศัยกัน มันก็เปนเหตุให
ระบบการเมืองในโลกมันเกี่ยวของกัน จนกระทั้งวา แมเปนขาศึกแกกันมันก็ยังตองพัวพัน
เกย่ี วของกนั

๓.๗.๓ ความหมาย ธัมมิกสงั คมนิยม
ทานพุทธทาสภิกขุเรียกวิสัยทัศนแหงสังคมอันสงบเย็นของทานวา “ธัมมิกสัง
นิยม” สําหรับทานไดแสดงทัศนะตอวา ธัมมิกสังคมนิยมแสดงออกถึงขอเท็จจริงพื้นฐาน
สองประการ คือ หนึง่ เราไมส ามารถหลีเล่ยี ง หรอื หลบหนีสรรพชีวิตตางๆ ท่ีดํารงชีวิตอยูใน
สังคมและตองอยูดวยกันในรูปแบบแหงสังคม โดยใหนํ้าหนักไปท่ีวิถีทางแหงการมี
ปฏิสัมพันธ การทํางานรวมกัน การาชวยเหลือแกไขปญหาและความทุกขไหกันและกัน
เพราะฉะนั้นหลักแหงความสัมพันธหรือความมีปฏิสัมพันธที่ถูกตองจึงเปนหัวใจของสังคม
ของสังคมดังกลาว ลักษณะแหงสังคมเชนที่กลาวมานี้ ในความหมายแหงคําวา “สังคม
นยิ ม”๔๙
สังคมนิยม ก็แปลวา เห็นแกเพ่ือนมนุษยไมเห็นแกตัวเอง ไมเห็นแกตัวกูคนเดียว
เหน็ แกเ พ่อื นมนษุ ย จงึ จะเรียกวา สงั คมนิยม แลว การเหน็ แกสังคมนั้นตองถูกตองดวยเพราะ
ผดิ กไ็ ดเ หมือนกนั การเห็นแกสังคมผิดๆ ก็คุมพวกไปปลนคนอ่ืน หาประโยชนมาใหแกพวก
ตนน้ี มันกผ็ ิดก็เลยตองใชคาํ วา “ธัมมิก” ประกอบอยูดวยธรรมน้ี เขามานําหนาไววา ธัมมิก
สงั คมนยิ ม-ระบบทถ่ี ือเอาประโยชนส ังคมเปนหลกั และประกอบไปดว ยธรรมะ
ธรรมมิกสังคมนิยมที่ถูกตองจะกลับมาก็เพราะวาเราเขาใจส่ิงทั้งหลายอยาง
ถูกตอ งตรงตามขอ เทจ็ จริงของธรรมชาติหรือกฎของธรรมชาติน้ันเอง ต้ังตนดวยขอเท็จจริง
พ้ืนฐานที่สุดท่ีวา ชีวิตนี้มันคือนามรูป หรือกายใจ เราไดยินอยางนี้กันมากทั้งน้ัน แตเขาใจ
ความหมายผิด ไปแยกกายออกจากใจ แยกใจออกจากกาย หรือไปแยกนามออกจากรูป ไป
แยกรูปออกจากนาม ถาเรามองเห็นอยางน้ีวากายกับใจเปนสิ่งท่ีเปนเดียวกันอยางนี้แลวไม
มีทางที่จะเปนวัตถุนิยมไดเลย หรือวาไมบาคล่ังถึงกับวา เอาแตจิตตนิยม มโนนิยมอยาง
เดียวได มันจะถูกอยูตามธรรมชาติ ถาเราจะพูดวาสังคมนิยม นิยมการสังคม ก็อยาเพอไป
คิดถึงสังคมอื่นเลย คิดถึงสังคมของกายกับใจก็แลวกัน กายกับใจนั่นแหละเปนตัวสังคมท่ีดี
มันตองเขากันไดอยางถูกตองจนเรียกวา ธรรมมิกสังคมนิยม คือ กายกับใจมันเขากันได
อยางถกู ตอ งตามทางธรรมหรอื ตามธรรมชาติ

๔๙ สันติกโรภิกขุ, อริยสัจจสี่ แหงธัมมิกสังคมนิยม, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๒),
หนา ๕๖-๕๗.

๑๑๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบัน
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

หลักธรรมะที่จะใชเปนท่ีพ่ึงแกโลกในทางการเมืองไดน้ัน ขอใหถอดเอามาจาก
หัวใจของทุกๆ ศาสนา ทุกศาสนามีหัวใจเปนสังคมนิยม ทุกศาสนาสอนส่ิงท่ีเปนประโยชน
แกท กุ คนๆ ไมใ ชเพื่อคนเดียว หัวใจศาสนาจงึ เปนลักษณะของสังคมนิยมไมใชป จเจกนยิ ม

ธัมมิกะ แปลวา “ประกอบดวยธรรมะ” ธรรม คือ ความถูกตอง ถูกตองอยางท่ี
ไมม ที างทีจ่ ะผิด สังคมนิยมที่ประกอบอยูดวยธรรมน่ีเปนหัวใจของทุกศาสนาอยูแลวโดยไม
รูสึกตัว ทําไมไมเอาออกมาใช เทออกมาใหหมดทุกๆ ศาสนาเทไหลออกมากองรวมกันเปน
ระบบธัมมิกสังคมนิยมของโลก ใชกับคนทั้งโลก ขอใหหัวใจทุกๆ ศาสนาเทไหลออกมากอง
รวมกนั เปนระบบธมั มกิ สังคมนยิ มสาํ หรบั จะเปนทีพ่ ึ่งในโลกแลวในท่ีสุดจะมองเห็นไดเองวา
เราเปนสหธรรมกิ กนั ได

พุทธทาสภิกขุ ไดสรุปแนวคิดเร่ืองความรวมมือในระบบการเมืองแบบพุทธไววา
ทา ยทสี่ ุดระบบการแขงขันจะตองถูกแทนท่ีดวยระบบแหงการรวมมือ ชุมชนแหงการพึ่งพา
ตนเองในรูปแบบใหมๆ จะตองกลับมา องคกรสรางสรรคแบบใหมจะเปดโอกาสใหเกิดการ
รวมมือซ่ึงกันและกันโดยผานการรับผิดชอบ การเคารพนับถือ การมีสวนรวมและความ
ยนิ ยอมจากสว นรวม “ปญ หาทางสังคม” นน้ั ไมสามารถแยกออกจากสิง่ ที่เราเรียกวา “ทุกข
สว นบคุ คล” อนั เปนปฏิสมั พันพนั ธระหวางความทุกขท่ีแสดงตัวอยูในตัวเราในฐานะปจเจก
ชนซึ่งสงเสริมและรวมกันกอปญหาตอสังคมสวนที่เราสังกัดอยูและในทางกลับกันก็จะเห็น
วาโครงสรางทางสังคมที่แสดงตัวอยูในปญหาของสวนรวมนี้ไดสงผลกระทบตอเราใน
หลายๆ ทางอยางไร ดังนั้นมันจึงสงเสริมใหเกิดความทุกขภายในสวนบุคคล ปฏิบัติตาม
หลักทิศ ๖ โดยถูกตองจักถึงนิพพาน ฉะนั้นเรามองเห็นภาพพจนสักภาพหนึ่งวา พระเจา
พระสงฆอ ยูขา งบน คนมีปญญา ครูบาอาจารย อยูขางบน เขาดึงหัวเราขึ้นมา พวกบาวไพร
กรรมกร คนใชอะไรก็ตาม อยูขางลาง เขาดันชวยดันขึ้นมา และมิตรสหายท้ังหลายอยู
รอบๆ ก็ชวยแวดลอ มสง รอบข้ึนไปโดยรอบ มันกด็ ีเทานั้น มันกเ็ ปน การงาย๕๐

ฉะน้นั ขอใหมีการยดึ ถือหลักของทศิ ทงั้ ๖ ใหถ ูกตอ งเถอะ มนุษยก็จะเปนมนุษยท่ี
กา วหนาไปยงั จุดสูงสดุ ของมนุษยคือ นิพพาน หมายความวาเยือกเย็น เย็นกาย เย็นใจ เย็น
อก เย็นใจ พรอมกนั ไปหมดท้ังโลกนน่ั คือ นพิ พาน

จากทิศท้ัง ๖ นี้อยาใหมีความเลว ความคิดผิด ความรายอะไรเกิดข้ึน ใหข้ึนเกิด
และใหเขา มาแตความถูกตองจากทิศท้ัง ๖ น้ีมนุษยก็รอดตัว มนุษยชาติท้ังหมดก็รอดตัวไม
ตองพูดถึงคนแตละคน เกินจะรอดตัวเสียอีก มันงายกวาน้ีเขาวางไวสําหรับมนุษยชาติ
ทั้งหมดเลยจะรอดตวั เพราะมคี วามถกู ตองเขา มาทุกทิศทกุ ทาง

๕๐ เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา ๗๕.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๑๑๓
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

จากตวั อยางขางบนนี้เราจะเห็นอานุภาพของธรรมะวาสามารถทําใหระบอบการ
ปกครองทุกระบบใชปกครองหมูคณะใหอยูเย็นเปนสุขไดตามความเหมาะสมแหงกาละและ
เทศะน้นั ๆ พุทธศาสนาเปนท้ังเผด็จการและท้ังประชาธปิ ไตยหรือมิฉะนน้ั กไ็ มเปนเสียเลยทั้ง
สองอยาง เพราะเปนระบอบแหงศีลธรรมและเหตุผล ในกรณีท่ีควรเผด็จการก็เผด็จการ ท่ี
ควรประชาธปิ ไตยก็ประชาธปิ ไตยแลวแตห ลักแหงศีลธรรมของหมูคณะจะระบุลงไปและทํา
อยางไรเสียก็ถูกหรือดีไปหมด เพราะยึดหลักศีลธรรมและมีอํานาจของธรรมเปนเคร่ือง
คุมครองน่ันเอง

เพราะฉะนั้นในทามกลางโลกท่ีกําลังปนปวน เพราะความเสื่อมทรามแหง
ศลี ธรรมดว ยอาํ นาจความหลงใหลในความสุขทางเนื้อหนังถึงกับเลนตลกตอพระเปนเจากัน
อยูอยางซ่ึงหนาซ่ึงตานี้ ขอใหเราพากันสลัดละลัทธิวัตถุนิยมหรือการบูชาความสุขทางเน้ือ
หนังทุกๆ ลัทธิแลวหันหนาไปพ่ึงธรรม บูชาธรรม ยึดถือธรรมเปนที่พ่ึง หวังความสงบสุข
ทางจติ หรือทางมโนธรรมกนั โดยเด็ดขาดเถิด จะไดอะไรๆ มากกวาท่ีจะไดจากความสุขทาง
เนื้อหนงั อยางที่จะเทียบกนั ไมไดเลย

ลัทธิจักรวรรดินิยมยอมเกิดข้ันไดแมภายในครองครัวท่ีพอบานหรือบุคคลใด
บุคคลหนึ่งที่มอี ํานาจหรอื กาํ ลงั ใจครอบครัวนนั้ ตกอยใู ตอ ํานาจความสุขทางเนื้อหนังสวนตัว
โดยไมคํานึงถึงสมาชิกคนอื่นในครอบครัวน้ันเองแลว แสวงหาความสุขสวนตัวดวยพลการ
ทั้งโดยตรงและโดยออม เมื่อคนพวกนี้มีพรรคพวก และมีกําลังมากขึ้นก็เกิดลุกลามไป
ภายในประเทศและไดร บั สมญาวาพวกนายทนุ และเลื่อนฐานนั ดรข้ึนเปนพวกจักรวรรดินยม
ในเม่ือสามารถคืบหนาออกไปไดนอกประเทศ ฉะน้ันเราจะเห็นไดวาลัทธิจักรวรรดินิยมนี้
ยอมกอ กําเนดิ ขึ้นมาจากความเสอื่ มเสียศีลธรรมภายในครองครัว เพราะมีผูเห็นแกความสุข
ทางเน้ือหนังอยางมืดหนามัวตาน่ันเอง ถาตนตออันน้ียังไมถูกกําจังลงไปไดอยูเพียงใด ภัย
จากลัทธิจักรวรรดินิยมก็จะยังคงครอบงําโลกอยูเพียงนั้น เพราะมันเกิดมาจากภายในตัว
บคุ คลคนหน่ึงๆ ซ่งึ ปราศจากศีลธรรมอยางลึกซง้ึ และซับซอนทส่ี ดุ นนั่ เอง๕๑

ในทํานองท่ีตรงกันขาม ลัทธิสังคมนิยมก็ยอมเพาะตัวขึ้นในหมูสมาชิกของครอง
ครัวทเี่ หลอื คอื ทถ่ี กู เอาเปรยี บ ไดแกการตอ ตานหรือการสลัดแอกที่หัวหนาครอบครัวซ่ึงไร
ศีลธรรมครอบให ถาทาํ สาํ เรจ็ ก็หมายถึงความเปนอิสระและไดประความสุขทางเนื้อหนังใน
ระดับที่ตนพอใจ เมื่อลัทธิจักรวรรดินิยมแพรออกจากครอบครัวมาแผซานอยูกลางเมืองได
ลัทธิสังคมนยิ มกแ็ พรอ อกมาไดเหมอื นกันและเทากัน กระทั่งแพรออกนอกประเทศและเมื่อ
ถึงโอกาสก็แบงโลกใหเปนคายๆ กอใหเกิดสงครามระหวางลัทธิของชนช้ันกรรมาชีพ และ

๕๑ พุทธทาสภิกขุ, ขอคดิ วันสาํ คญั , (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๕๑), หนา ๑๙๖.

๑๑๔ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

ลัทธิของนายทุนข้ึนในโลกอยางยืดเยื้อและซับซอนเหลือท่ีใครๆ จะสางได ดังที่เห็นกันอยู
อยางตําตา ถาเม่ือใดทําความเขาใจกันไดโดยเอาศีลธรรมเปนหลัก ก็จะเกิดความสงบสุข
ข้ึนมา เชนเดียวกับในครอบครัวที่กลับปรองดองกันได ดวยอํานาจของศีลธรรมที่ควรมี
ประจาํ ครอบครัวน้ันเหมอื นกัน

ท้ังจักรวรรดินิยมและสังคมนิยมแมจะแตกตางกันอยางตรงกันขามโดยประการ
อ่ืน แตก็เหมือนหรือตรงเปนอันเดียวกันในขอที่มีความหวัง หรือตกเปนทางของความสุข
ทางเนื้อหนังในอัตราท่ีเทากัน ถาคนมีศีลธรรมหรือยึดหลักความสุขทางจิตใจเปนหลักทั้ง
ลทั ธิจักรวรรดินิยมและสังคมกเ็ กดิ ขึน้ ในโลกไมไ ด เพราะทกุ คนจะขยะแขยงตอความสุขทาง
เน้อื หนังที่กําลงั เยื้อแยงกันอยางสัตวนั้นเสียย่ิงกวาของสกปรกใดๆ ในโลกศีลธรรมจะทําให
คนในโลกไมจ ําตอ งแบงกันเปน คา ยๆ เพ่ือเยื้อแยงอะไร จะทําใหเกิดคนดีข้ึนในโลก จนลัทธิ
เผด็จการหรือประชาธิปไตยก็ตามยอมเหมาะสมที่จะปกครองประเทศหนึ่งตามความ
เหมาะสมของตนดวยกันทั้งน้ัน การพูดวาโลกเหมาะสมแกการปกครองเพียงระบอบเดียว
น้นั เปนการบาหลงั ที่สุดและเปน ไปไมไ ดเ วนเสียแตระบอบเดียวนน้ั หมายถึงศลี ธรรม๕๒

ทานพุทธทาสภิกขุ กลาววา ระบบการเมืองท่ีมีธรรมะจะชวยใหโลกมีความรอด
ระดับสงู สุด คอื รอดทางวญิ ญาณ (ความวางหรือจิตวาง) คือ วิญญาณอยาตองถูกเหยียบยํ่า
ใหจมอยูในกองทุกข ใหวิญญาณมันเปนอิสระรอดจากกิเลส รอดจากความเหยียบย่ําของ
กิเลส ความรัก ความโกรธ ความเกลียด ความกลัว ความเศรา ความอิจฉาริษยาทั้งหลาย
เหลานี้ มันเปน อันตรายท่รี า ยกาจย่งิ กวา เราจะตองรอดจากส่ิงนซ้ี ึ่งสตั วเดรจั ฉานมันรอดอยู
ไดตามธรรมชาติ มนุษยจะตองมีจิตใจอีกระบบหน่ึง ระบบน้ันก็คือพระธรรม ซึ่งไมจําเปน
สําหรับสัตวเ ดรจั ฉาน แตจ ําเปนอยางยิ่งสําหรับมนุษยเรา พอมีธรรมแลวความเปนมนุษยน้ี
ก็จะเปนบุญเปนกศุ ลคอื ดับความทกุ ขได

ตามทศั นะของพทุ ธทาสภกิ ขุ สังคมนิยมเมื่อนํามาใชในความหมายทางจริยธรรม
จะมีความหมายในแงของจิตสํานึกที่เห็นแกสวนรวมซึ่งตรงกันขามกับความเห็นแกตัว ดัง
ขอ ความทีว่ า “สงั คมนิยมมีความหมายวาตอ งเหน็ แกสงั คม เพราะฉะนั้น เห็นแกตัวคนเดียว
ไมได” โดยทานไดยกตัวอยางอุดมการณของพระโพธิสัตวท่ีมุงทําประโยชนเพื่อผูอื่นวาเปน
ภาพสะทอนการทํางานตามเจตนารมณสังคมนิยม “อุดมคติของโพธิสัตวน้ัน…ตอง
ชวยเหลือผูอื่น เสียสละเพื่อผูอ่ืน แมชีวิตของตัวก็สละไดนี่ก็เพราะวาเห็นแกสังคม ในพุทธ
ศาสนาก็ยอมรับอุดมคติอันนี้ ยอมนับเน่ืองเขาไวในพระพุทธศาสนา น่ันก็เพราะมีเจตนา

๕๒ เรอื่ งเดียวกนั , หนา, ๑๙๖-๑๙๘.

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั ๑๑๕
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

ของสังคมนิยม” แมระบบของ “ศีล” หรือ “วินัย” ก็เชนเดียวกัน พุทธทาสภิกขุมองวา
บัญญัติหรือจัดตามเจตนารมณสังคมนิยมของธรรมหรือธรรมชาติ (ธัมมิกสังคมนิยม)
กลา วคือ เปนระบบทสี่ รางขนึ้ เพือ่ ผกู พันใหส งั คมอยรู ว มกันเปนปกแผนตามเจตนารมณของ
ธรรม ดงั ขอความทีว่ า

พระพทุ ธองคทรงบญั ญัติระบบวนิ ัย ทาํ ใหเราเห็นไดทีเดียววา เปนระบบท่ีผูกพัน
กนั ไวเปน พวกเปนหมูไมแยกออกจากกันไป คําวา “สังฆะ” แปลวา หมู หรือ พวก มันไมได
แปลวา เดี่ยว คนเดียว เม่ือมันอยูเปนพวกมันก็ตองมีอะไรเปนเคร่ืองยึดเหนี่ยว หรือมี
หลักธรรมสัจจะอันใดอันหนึ่ง ที่จะทําใหคณะสงฆตั้งอยูไดเปนหนวยเดียว จาก
สวนประกอบของหนว ยหลายรอ นหลายพนั หลายหม่นื หนว ย ดึงเขา เปนสังคมท่ีถกู ตอ ง”

สรุปความวา แนวคิดเกี่ยวกับมิติทางสังคมของพระพุทธศาสนาท่ีพุทธทาสภิกขุ
นําเสนอขึ้นมา ต้ังอยูบนฐานของแนวคิดเร่ืองธรรมหรือกฎธรรมชาติ (อิทัปปจจยตา) ซ่ึง
ทานมองวา ธรรมหรอื กฎธรรมชาตนิ ้ีมีเจตนารมณเ ชงิ สังคมอยู (ธัมมิกสังคมนิยม) เหตุท่ีทาน
มองอยา งน้ีเพราะสรรพส่งิ ในจกั รวาลลวนดํารงอยูโดยการอิงอาศัยกันตามกฎอิทัปปจจยตา
ไมมีสิ่งใดเลยที่สามารถดํารงอยูอยูไดอยางโดดเดี่ยวเปนอิสระ การท่ีมนุษยอยูรวมกันเปน
สังคมหรือยึดถือประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้งถือวาดําเนินตามเจตนารมณสังคมนิยมของ
ธรรมชาติ (ทานโตงแยงลัทธิปจเจกนิยมและบริโภคนิยมวาไมดําเนินเจตนารมณของ
ธรรมชาติ) ดังนั้น การที่พระพุทธเจาบัญญัติพระวินัยขึ้นมาก็ดี การต้ังคณะสงฆขึ้นมาก็ดี
หรอื สอนใหชว ยเหลือผูอื่นดวยเมตตาธรรมก็ดี ลวนแตทรงดําเนินเจตนารมณเชิงสังคมนิยม
ทงั้ สนิ้

๓.๘ ดานการศกึ ษา

ทานพุทธทาสภิกขุกลาววา การนําเสนอมหาวิทยาลัยตอหางสุนัขเปนการ
ประทว งการศึกษาในโลกทง้ั โลกที่ไมสมบูรณวามันยังเหมือนกับหมาหางดวน เขาไมพูดส่ิงท่ี
มนุษยควรจะรูใหสมบูรณ คือ ไมไดสอนกัน สอนกันแตหนังสือกับอาชีพ สวนท่ีจะเปน
มนษุ ยกันอยา งไร ท่จี ะสรา งสนั ตภิ าพใหโ ลกนีไ้ ดไมไดสอน

การศึกษาเปนหมาหางดวนอยางไร คือ ประเทศใหญๆ ที่มีอํานาจจัดการศึกษา
ครน้ั มาถึงยคุ ท่วี ัตถนุ ยิ มมนั เจรญิ วตั ถนุ ิยมมีอาํ นาจมาก คําวา “วัตถุนิยม” สมัยน้ี หมายถึง
ความกา วหนาทางวตั ถุ ทมี่ าดงึ เอาจติ ใจของคนไปหลงในทางวัตถเุ สียหมด น่ีเหมือนกับดักที่
คมงับเอาหางหมาดวนไป ชาติท่ีจัดการศึกษาท่ีพายแพแกอํานาจของวัตถุเขี่ยธรรมะหรือ

๑๑๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

ศาสนาออกไปจากระบบการศึกษา น่ีเราเรียกวา “กับ” คือ วัตถุนิยมงับเอาหางหมาตัวน้ัน
ขาดไปแลวเปนหมาหางดวน ชาติท่ีจัดการศึกษาอยางหมาหางดวน ก็ชักชวนชาติอ่ืนๆ ให
จัดการศึกษาอยางหมาหางดวน ชาติอื่นๆ ก็พลอยหลงใหลในอํานาจของวัตถุนิยม เข่ีย
ธรรมะหรอื ศาสนาออกไปจากระบบการศกึ ษา เปนการจัดการศึกษาอยางหมาหางดวนมาก
ย่ิงข้ึนทุกที ประเทศเล็กๆ ทนไมไหวก็เอาอยางตามอยางจนถึงกับวาการศึกษาท้ังโลกมัน
กลายเปนระบบการศึกษาหมาหางดวนไปทัง้ น้นั

เมื่อคนสวนมากในโลกมึนเมาในทางในทางวัตถุธรรมเสียแลว การศึกษาซึ่งจัด
โดยคนในโลกน้ันมันก็ตองเปนอุปกรณเพื่อวัตถุประสงคอันน้ันไป การศึกษาจะกาวหนา
อยางไรมันก็เปนไปเพื่อความเจริญทางวัตถุ และเพื่อเปนทาสทางวัตถุกันมากขึ้นเปนสวน
ใหญ ปญหาเกี่ยวกับเด็กท่ีเราสอนเพียงแตวาใหเขารูหนังสือนี้จะไมพอจะตองสอนความ
เปนมนุษยปลูกฝงความเปนมนุษยลงไปดวย ท่ีมันผิดมาก ผิดอยางใหญหลวงก็คือ เราจะ
สอนเขาแตใ หรูห นงั สืออยางเดยี ว ไมมีกาทาํ ใหจิตหรือวญิ ญาณสงู ขน้ึ

สอนกันอยางไรจนในโลกนี้ไมมีบุญไมมีบาป ไมมีบิดามาร ไมมีศาสนา ไมมีพระ
เจา เรากําลังมีวิชาท่ีสอนอยูในสถานท่ีศึกษาเพ่ือสอนกิเลสตัณหาของมนุษย เราไมมีวิชาท่ี
จะเขนฆากิเลสตัณหาของมนุษย นี่เรียกวา โลกกําลังมุดอยูภายใตความมืดสีขาวหรือแสง
สวางสีดํา เราจงชวยกันรีบกระทําใหศีลธรรมกลับมาดวยการปรับปรุงวิชานั้นเสียใหมให
กลายเปน วชิ ชาโดยเร็ว

สมัยกอนโนนการศึกษานี่แฝดอยูกับศาสนา เพราะวาพระเปนผูจัดการศึกษาใน
เอเชียก็ดี ในยุโรปก็ดี ท่ีไหนก็ดี พระเปนผูจัดการศึกษา ในสมัยดึกดําบรรพยังแฝดกันมา
เรื่อยๆ ตอมาการศึกษาตกอยูในมือของชาวบานมากข้ึนๆ ชาวบานก็แยกการศึกษาออกมา
จากการศาสนา ที่สุดก็คือแยกศาสนาออกไปเสียจากการศึกษา โดยเห็นวาเปนคนละเร่ือง
กัน แตทานพทุ ธทาสภกิ ขุกลบั มองวา เรื่องศาสนากับการศึกษาจะตองไปดวยกัน ไมควรจะ
แยกออกจากกนั อยางเดด็ ขาด๕๓

๓.๘.๑ ขอ ผดิ พลาดของวงการศึกษาปจจุบนั
การศึกษาน้ีมันพายแพแกเร่ืองที่มนุษยเขากําลังประสงคจํานงหวัง ตกไปเปน
เครื่องมือของการศึกษา การศึกษามันดีเกินไปอยางไรเสียแลว คือใหอิสรภาพเสรีภาพแก
ความตองการของนักศึกษานั้น ไมมีขอบเขต เรียนกันมากจนไมเขารูปของสันติภาพ มันก็
เลยเปนเรื่องของเกะกะระราน ย่ิงเรียนย่ิงเปนแมงปองท่ียกหูชูทาง มันไมมีการส่ังสอน

๕๓ พุทธทาสภิกขุ, การศึกษากับศีลธรรม, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา ๕๖-
๕๙.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน ๑๑๗
พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

อบรมเรื่องกตัญูตกเวที วาอิสรภาพเพื่อแสวงหาความสุขทางเน้ือหนัง ใครมือยาวก็สาว
เอา ใครกอบโกยไดเทาไรก็กอบโกยไป เปนเร่ืองประชาธิปไตย ใหลุมหลงในความเปน
อนาจาร เร่ืองศาสนาเรอ่ื งจรยิ ธรรมนี้ ออกไปเปนเร่ืองสว นบคุ คลหาเอาเองตามใจชอบ ไมมี
ความสัมพันธกันกับคณะสงฆแหงศาสนาน้ันๆ กลายเปนการคาหรืออาชีพไปแลว ฝาย
ศาสนาก็เลยตามกนั การศกึ ษาของชาวบานไปเสียเลย

การศึกษาเวลามันไปตามกนของวัตถุนิยม คือหลงใหลในความสนุกสนาน
เอร็ดอรอยทางเน้ือทางหนังอยางน้ี การศึกษามันตกเปนทาสของวัตถุนิยม ศาสนาก็ไมมีที่
สําหรับจะเขามาอยูในการศึกษา แมแตวัฒนะธรรมที่เน่ืองดวยศาสนาก็ไมมีที่ เรามี
การศึกษาชนิดท่ีกําลังเปนขาศึกแกธรรมะ ท่ีจะคุมครองโลกใหสงบเย็น แลวการศึกษาของ
เรามนั ยงุ กนั แตเ รอ่ื งเนือ้ หนงั ใหห าความสุข สนุกสนานเอร็ดอรอ ยทางเน้ือหนัง เพราะฉะนั้น
การศึกษาเด๋ียวนี้ก็คือ อาชีพ วิชาชีพ หรือการกระทําท่ีจะใหไดมาซ่ึงอํานาจหรือกําลัง ท่ีจะ
ประกอบอาชีพ คือ หาเงินใหมากที่สุด ไมมีใครจัดการศึกษาเพื่อศีลธรรมเลย เพราะมองไม
เห็น หรือมองขาม วาศีลธรรมน้ันแหละคือรากฐานของสันติภาพในโลก เพราะวาแมจะ
เจริญดว ยเศรษฐกิจ ดวยปจจัยอะไรตางๆ มีการเมือง มีอะไรดีหมด ก็ไมเห็นทําใหโลกนั้นมี
สนั ติภาพได๕ ๔

ขอแกไขการศึกษาขอแรกท่ีสุด ก็คือตองยอมถอยหลังเขาคลองที่น้ีอีกคลองท่ีวา
คลองของธรรมชาติ นี้ไมตองเก่ียวกับธรรมะ หรือศาสนาเกี่ยวกับธรรมชาติแทๆ เราก็กําลัง
ทําเกินขอบเขต ที่ควรจะกระทําตามหลักของธรรมชาติ หรือตามกฎเกณฑของธรรมชาติ
หรอื รกุ ลา้ํ ธรรมชาตมิ ากเกนิ ไปแลว จนกลายเปน ทาํ ลายธรรมชาติอยทู ุกไมเวน ทุกวัน

ขอท่ีสอง การปรับปรุงศีลธรรมน้ันตองปรับปรุงในทางที่ตองไมหลงอารยธรรม
วตั ถุนิยมขอ ท่ีสองน้ีวา ตอ งไมห ลงอารยธรรมของวตั ถุนยิ มจนไปบชู าวตั ถนุ ยิ ม

ทุกศาสนาสอนความเปนคน ศาสนาท่ีมีอยูในโลกนี้ในฐานะเปนศาสนาแลว ไมมี
ศาสนาไหนสอนเพื่อกู เพ่ือของกู การศึกษานั้นลวนเปนไปแตเพ่ือความเปนมนุษยที่เต็ม
เปยมเปนมนุษยที่สมบูรณ เพื่อเขาถึงความเปนอันเดียวกันกับพระเปนเจาบาง หรือวาเพ่ือ
นพิ พานโดยสมบูรณบ าง อยา งพวกพุทธบรษิ ัทเรามีการศึกษาเพื่อพระนพิ พาน

๓.๘.๒ สิง่ ทีพ่ ระพทุ ธเจาสอน
เรียนเฉพาะที่พระพุทธเจาทานขอใหเรียน เรียนเฉพาะเทาท่ีพระพุทธเจาทาน
ของใหเรียนอยางนี้ เรียนกํามือเดียว โดยเปรียบเทียบวา ความรูทั้งหมดที่ตถาคตไดตรัสรู
นั้น มีปริมาณมากเทากับใบไมท้ังปา ท้ังดง ทั้งประเทศ แตวาท่ีเอามาสอนเธอทั้งหลายน้ี

๕๔ พุทธทาสภกิ ข,ุ การศกึ ษากบั ศีลธรรม, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา ๕๖.

๑๑๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

เทากับใบไมกํามือเดียว พระพุทธเจาทานตรัสวา ปุพฺเพ จาหํภิกฺขเวเอตรหิ จ ทุกฺขฺจ
เวปฺญาเปมิ ทุกขสฺส จ นิโรธํ-ดูกอนภิกขุท้ังหลาย ในกาลกอนก็ดี เด๋ียวน้ีก็ดี เราบัญญัติ
สอน เฉพาะเรอื่ งความทุกข กบั เร่อื งความกบั ทุกขเทาน้ัน ก็หมายความวา ถามันไมเก่ียวกับ
ความดับทุกขละก็ไมต องสอน ไมทรงเอามาสอนแลว เรากไ็ มต อ งเรยี น

เราจะตอ สอู ยใู นโลกไดโดยท่ไี มตองเปน ทุกขเพราะทุกอยางมันถูกตอง และแมวา
เราจะจัดโลกใหเปนไปตามความตองการของเราไมได คือโลกมันจะเลวรายสุดเหว่ียง
อยางไร เราก็ยังไมเปนทุกข ถาเรารูจักทําจิตใจตามหลักท่ีพระพุทธเจาสอนไว คือวาจะยิ้ม
อยูได แมในกลางกองเพลิง กลางกองไฟ จนกระท่ังดับจิตดวงสุดทาย มันก็ยังยิ้มอยูได
นัน่ เอง

หลักสําคัญตองจัดการศึกษาใหคนรูจักบังคับตนเองได เอาละทีน้ีก็จะสรุปความ
ตอนทายไววา จะเอาการศึกษาของพระพุทธเจามาประยุกตกับการศึกษาของคนในโลกยุค
ปจ จบุ ันนไี้ ดอยา งไร แตเ พียงสัน้ ๆ อกี ครง้ั หน่ึง ใหม ีการศึกษาทีเ่ ปนไปเพ่ือการบังคับตัวเองมี
ระเบียบที่เครงครัด ในการท่ีบังคับตัวเอง มันมีแตการปลอยไปตามอํานาจของกิเลสและ
การศึกษาก็ใหโอกาสมากเกินไป แตมันก็เพิ่มการไมบังคับตัวเอง คือ การปลอยไปตาม
อาํ นาจของกิเลสมากขน้ึ หลักพระพุทธศาสนาจึงมีหลักท่ีสําคัญขอแรกที่ปกลงไปอยางแนน
แฟนวาตองบังคับตัวเองมีการบังคับตัวเองใหอยูในรองรอยของส่ิงที่เรียกวาพระธรรม พระ
ธรรมน้ีก็ไมใ ชอะไร นอกจากความถูกตองตามกฎเกณฑข องธรรมชาติ

๓.๘.๓ วธิ เี รยี น วธิ สี อน
ดานการศึกษา: เปนพระภิกษทุ ี่เพียบพรอมไปดว ยศีลาจารวัตรและภูมิปญญาอัน
สูงยิ่งในสังคมไทย ทานเปนรูปหน่ึงท่ีรอบรูทางการศึกษาและมองเห็นขอบกพรองของ
การศึกษาของไทย และไดเรียกการศึกษาในโลกปจจุบันวา “การศึกษาหมาหางดวน”
พรอมท้ังเรียกรองใหปญญาชนและผูเกี่ยวของในดานการศึกษาทุกทานมาชวยกันตอหาง
สุนัข ทานพุทธทาสมองวาการศึกษาตามแบบปจจุบันละเลยบทเรียนทางศีลธรรม
การศกึ ษาทีป่ ราศจากการปลูกฝงจริยธรรม จึงเปรียบเหมือนสุนัขหางดวนท่ีพยายามหลอก
ผอู ื่นวา สุนัขหางดวนเปนสุนัขที่สวยงามกวาสุนัขมีหาง ทานจึงพยายามช้ีใหเห็นวาสุนัขที่มี
หางเปนสนุ ัขท่สี วยงาม การศึกษาจงึ ตองเนน บทเรียนทางศีลธรรม การศึกษาที่ไมมีบทเรียน
ทางศีลธรรม ไมเนนภาคจริยศึกษายอมไรประโยชนและอาจจะเปนอันตรายตอสังคมอีก
ดวย ทานพุทธทาสวิเคราะหวา การศึกษาที่เอาแบบตะวันตกและมุงพัฒนาวัตถุน้ัน เปน
การศึกษาท่ีเนนความรูเพื่อความรู ซ่ึงมักใหผลเปนสภาพ “ความรูทวมหัวเอาตัวไมรอด”
เปนเรื่องเก่ียวกับทฤษฎีเปนปรัชญา เปนหลักการใชเหตุผล แตไมมีประโยชนในทางปฏิบัติ

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบนั ๑๑๙
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

ไมสามารถแกปญหาสวนตัว ปญหาสังคม และทําใหผูเรียนพนทุกขได แมแตการเรียนพุทธ
ศาสนาในปจจุบันก็เปนการเรียนแบบปรัชญา ไมใชเรียนแบบศาสนา เปนการฝกการคิด
เหตุผล และการพลิกแพลงทางภูมิปญญาแตไมทําใหเขาใจโลกและชีวิตตามความเปนจริง
แมแตการศึกษาของบรรพชิต ทานพุทธทาสก็เห็นวาเปนการศึกษาที่สูญเปลา เชน
การศึกษาของสามเณรก็มิไดมุงพัฒนาจิตตามคําส่ังสอนของพระพุทธเจา สามเณรเองก็
ตองการศึกษาเชนเดียวกับนักเรียนฆราวาส ใหมีความรูแบบฆราวาส ระบบสามเณรจึงสูญ
เปลาเชนเดียวกับการศึกษาของคนโดยท่ัวไป ซึ่งสรุปไดวาตามทัศนะของทานพุทธทาส
ระบบการศกึ ษาของไทยมุง สงเสรมิ กิเลสตัณหาของมนษุ ย หากจะเปนประโยชนบางก็เพียง
ทาํ ใหป ระกอบอาชีพและมีรายได ซ่ึงก็ไดมาเพื่อจับจายสนองกิเลสตัณหาของมนุษยเทาน้ัน
มไิ ดเปนไปเพอ่ื ความกา วหนาทางสติปญญาและเพ่ือความเจริญของจิตใจ ดังท่ีทานไดกลาว
ปรารภวา

“ดกู ารศกึ ษาชนั้ อนบุ าล ดูการศกึ ษาชน้ั ประถม ดูการศึกษาชน้ั มัธยม ดูการศึกษา
ชน้ั วิทยาลัย มหาวิทยาลยั หรือถามันจะมีอีก เปนบรมมหาวิทยาลัยอะไรก็ตามใจ มันก็เปน
เร่ืองใหลุมหลง ในเรื่องกิน กาม เกียรติ ท้ังนั้น อยางดีก็ใหสามารถในอาชีพ ก็ไดอาชีพแลว
ไดเงินแลว ใหทําอะไร? ใหไปบูชาเรื่องกิน เรื่องกาม เรื่องเกียรติ มันไมมีอะไรมากไปกวา
น”้ี ๕๕

หลังจากท่ีทานไดวิจารณระบบการศึกษาของโลกปจจุบันแลว ทานไดเสนอ
แนวทางการศกึ ษาทถ่ี ูกตอ ง อุดมการณท างการศึกษาดังกลา วอาจจะประมวลมาไดเปนขอๆ
ดงั นี้

๑. การศึกษาท่ีถูกตองจะตองมีการพัฒนาจิตวิญญาณใหมีพลังสามารถควบคุม
พลังทางวัตถุ ทางรางกายได กลาวคือ ชีวิตมนุษยตองมีความสมดุลท้ังทางดาน
ความสามารถทางวัตถุ ทางวิชาชีพ และความมีปญญาและคุณธรรม เปรียบเสมือนชีวิตที่
เจริญกาวหนาและมีความสุขจะตองเทียมดวยควาย ๒ ตัว คือ ตัวรู และตัวแรง โดยมีตัวรู
นาํ ตวั แรงไปในทางท่ีถูกตอง

๒. การศึกษาท่ีถกู ตอ งจะตอ งทําลายสัญชาติญาณอยางสัตวที่แฝงอยูในตัวมนุษย
ใหได ทา นเหน็ วา มนุษยเราเกดิ มาพรอมกับสญั ชาติญาณอยางสัตว เตม็ ไปดวยความเห็นแก
ตวั สติปญ ญาของมนษุ ยก็เปนไปเพื่อความเห็นแกตัว ดังน้ัน ความเห็นแกตัวของมนุษยราย

๕๕ พุทธทาสภิกขุ, ธรรมบรรยายตอหางสุนัข, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมทาน, ๒๕๒๕), หนา
๒๕.

๑๒๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นักสวนโมกขพลาราม

กาจมาก “เพราะฉะน้ัน การศึกษาของเราก็ควรมุงที่จะประหัตประหารสัญชาตญาณอยาง
สัตวน ้นั ใหสิน้ ไป ใหม กี ารประพฤตกิ ระทาํ อยางมนุษยท่ีมใี จสงู เกดิ ข้นึ แทน”

๓. การศึกษาท่ีถูกตองจะตองใหมนุษยไดส่ิงที่ประเสริฐที่สุดที่มนุษยควรไดรับ
นั่นก็คือ การสามารถควบคุมกิเลสตัณหาและพลังทางวัตถุได ทานเห็นวาตามอุดมคติของ
พุทธศาสนานิยมอุดมคติ คือ นิยมสิ่งท่ีดีท่ีสุดที่มนุษยควรจะไดรับ โดยไมคํานึงถึงวาสิ่งน้ัน
มนั จะกินไดหรอื ซ้ืออะไรกินได หรือจะเปนลาภสักการะหรือไม แมเปนนามธรรมแตก็สงผล
ทางจิตใจ “จิตใจสําคัญกวารางกาย คือนํารางกายใหเปนไปตามความมุงหมายของอุดม
คติ”

๔. การศึกษาท่ีถูกตองจะตองทําใหผูศึกษามีจิตใจรักความเปนธรรม มีความ
สาํ นึกท่จี ะประพฤติปฏิบัติในสิ่งท่ีถูกตองและเพ่ือธรรมะ “การศึกษาน้ันเพ่ือธรรม เพื่อบรม
ธรรม เพ่ือธรรมาธิปไตย ใหธรรมะครองโลก ฉะน้ัน การศึกษาน้ีไมใชเพ่ือความรอด หรือ
ความเอาตวั รอดเปนยอดดี”

๕. การศึกษาที่ถูกตองจะตองทําลายความเห็นแกตัวของมนุษย ซึ่งจะเปนไปได
โดยวางแนวจรยิ ศกึ ษา ใหส ามารถนอมนําผูศ ึกษาใหควบคุมตนเองใหได “จริยศึกษาตองรีบ
ทาํ ลายความเห็นแกต วั อนั น้มี นั เปนเมฆหมอกท่ีเขามากลบเกลื่อนหรือปด บังตัวจรยิ ศึกษา”

๖. การศึกษาทีถ่ ูกตอ งจะตองสงเสริมใหผูศกึ ษา มีปญญาหย่ังรูสามารถเขาใจโลก
และตนเองอยางถูกตอง จนสามารถพนทุกขได ทานอธิบายวา ปญญาที่เปนคุณสมบัติของ
จิตเดมิ แท เรียกวาโพธิ (ธาตุร)ู ปญ ญาน้ีทาํ ใหเกดิ ศลี ธรรมของจติ ทําใหจ ติ มีระเบียบและอยู
ในสภาวะปกติ เพื่อใหบุคคลมีชีวิตอยูไดอยางสงบสุข การศึกษาตามแนวน้ีจึงตองเนนพุทธิ
ศึกษาในแงท่ีสงเสริมปญญาอยางแทจริง กลาวคือ ทําใหผูศึกษามีความรูเร่ืองที่สําคัญท่ีสุด
ของชีวติ

๗. การศึกษาท่ีถูกตองจะตองทําใหผูศึกษามีความสํานึกในหนาท่ี ถาทวงสิทธิ์ก็
ทวงเพอื่ จะทําหนา ท่ี ไมใชท วงเพอ่ื ตอ งการเรียกรองจะเอาน้ันเอาน่ี และหนาท่ีก็จะตองเปน
ความถกู ตอ ง บรสิ ทุ ธิ์ ไมใ ชความเห็นแกตัว และการศึกษาท่ีถูกตองจะตองอาศัยครูในอุดม
คติ ผูที่อุทิศตนเพ่ือใหการศึกษาและสรางเสริมคุณธรรมแกผูเรียน ในหัวใจของครูอุดมคติ
นั้น จะตองมีปญญากับเมตตาเต็มแนนอยูในหัวใจ ปญญาคือวิชาความรู ความสามารถใน
หนาท่ีที่จะสองสวางใหกับศิษย นี้เรียกวาปญญาอยางหน่ึง เมตตาคือความรัก ความเอ็นดู
กรุณาตอศิษยของตนเหมือนวาเปนลูกของตน” เม่ือต้ังอุดมการณทางการศึกษาใหถูกตอง
เหมาะสมแลว ลําดับตอไปก็ตองดําเนินการสอนหรือระบบการศึกษาท่ีถูกตอง ตามทัศนะ
ของทานพทุ ธทาส เชน

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน ๑๒๑
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

๑) ลักษณะการศึกษาที่ถูกตอง จะตองจัดใหมีพุทธิศึกษา จริยศึกษา พล
ศึกษา และหัตถศึกษา ในความหมายท่ีแทจริง พุทธิศึกษาจะตองสอนความรูเรื่องของชีวิต
วาเกิดมาทําไมโดยตรง จริยศึกษาจะตองเนนท่ีความมีระเบียบวินัยของนักเรียน ของความ
เปน มนษุ ย บทบาทหนา ทีข่ องชายหญงิ ใหผูศึกษาเพียบพรอมไปดวยคุณธรรม เชน มีความ
มัธยัสถ มีหิริโอตตัปปะ เปนตน พลศึกษาตองพัฒนากําลังทางจิตเพ่ือใหบังคับกําลังกายให
เดินไปถูกทาง กําลังทางจิตในพระพุทธศาสนาคือสมาธิ สมาธิในพระพุทธศาสนาจะตอง
ประกอบไปดวยองคประกอบ ๓ อยาง คอื

(๑) จิตสะอาด (pure หรือ clean) ไดแกจิตที่ไมเจือดวยกิเลสและ
เคร่ืองเศราหมองทัง้ ปวง

(๒) จิตมนั่ คงทส่ี ดุ หรอื ตง้ั ม่ันดี (Steady หรือ firm)
(๓) จิตท่ีวองไวในหนาที่ของมันอยางท่ีสุด (Activeness) สวนหัตถ
ศึกษาตามลักษณะท่ีถูกตอง จะตองอาศัยพุทธิศึกษา จริยศึกษาและพลศึกษา ตามแนว
ดังกลาวมาเปนพืน้ ฐาน เพอื่ ใหเ กิดความเชีย่ วชาญทางฝมือและความสามารถในอาชีพอยาง
แทจ รงิ
๒) ลกั ษณะการศึกษาที่ถูกตองจะตองศึกษาใหเห็นความทุกข เหตุของทุกข
และความดับทุกข ไมใชศึกษาแตภาคทฤษฎี แตตองใหผูศึกษาลงมือปฏิบัติใหเห็นจริงตาม
ประสบการณ จะตองเนนการฝกฝน การปฏิบัติมากกวาภาคทฤษฎี ตองเรียนชีวิต เรียน
ธรรมชาติ เรียนใหรูจักตนเองเพื่อขมกิเลสและสัญชาตญาณอยางสัตวใหได และพัฒนา
คณุ ธรรมประจําใจใหง อกงามยิง่ ข้นึ
๓) ลักษณะการศึกษาท่ีถูกตองจะตองใหผูศึกษารูจักศาสตรของพุทธบริษัท
ใหถูกตอง ศาสตรในที่นี้แปลวาเครื่องตัด หมายถึงตัดส่ิงท่ีเปนอุปสรรคตอความเจริญหรือ
ตัดความโงเขลา ซ่ึงในที่สุดก็จะเหลือความจริง ความดี ความงาม ความถูกตองและความ
ยุติธรรม ศาสตรของพุทธบริษัทมี ๓ ศาสตร คือ พุทธศาสตร ธรรมศาสตร และ
สังคมศาสตร ศาสตรทั้งสามน้ีเปนไปเพื่อความดับทุกขนั่นเอง ทําใหบุคคลสามารถอยูอยาง
สันติสุข และอยูรวมกันกับผูอ่ืนไดอยางสงบสุขทั้งกลุม ลักษณะการศึกษาที่ถูกตองตาม
แนวคิดทานพุทธทาส สรุปไดวา “ขอใหทุกคนถือวา มีมหาวิทยาลัยในรางกาย จงเขา
มหาวิทยาลัยน้ีกันทุกคน ดวยการเปนลูกศิษยพระพุทธเจาผูสั่งสอนเพื่อใหไดมาซึ่งบรม
ธรรม เพื่อใหมนุษยกลาวไดวามนุษยไดรับส่ิงที่ดีท่ีสุดที่มนุษยควรจะไดรับ ไมเสียทีท่ีเกิด
เปน มนษุ ยเ ลย แลวก็พยายามใหเปน เร่อื งของการปฏบิ ัติอยเู รอ่ื ยไป อยา ใหเ ปน เร่ืองเพอทาง
ปริยตั ิ หรือทางหลกั วิชามากไป”การศกึ ษาตามแนวทที่ า นพุทธทาสเสนอไวน้ัน จะกอใหเกิด
ประโยชนแกผ ูศึกษา คือ

๑๒๒ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

(๑) ทําใหมีความสํานึกในบุญคุณของชาติ เพราะมีหลักสังฆศาสตร
อันทําใหประชาชนอยูรวมกันไดอยางมีความสามัคคีกลมเกลียวเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน
และทําใหเห็นความสําคัญของความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เพราะมีการ
ฝกฝนใหสาํ นกึ ในหนาท่ี๕๖

(๒) ทําใหพนทุกขได เพราะมีสัมมาทิฏฐิ เนื่องจากไมยึดมั่นถือม่ันใน
อัตตา ในความเห็นแกตัวแตถายเดียว ทําใหไดประโยชนจากความถูกตองดีงาม เพราะไม
เปนทาสของกิเลสตัณหา และทําใหเห็นคุณคาของศาสนาในการแกปญหาทางใจ และทํา
ใหไดรับประโยชนจากเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหมไดอยางเต็มท่ี เพราะมีปญญาและ
คุณธรรมทางจติ เปนผูค วบคมุ

(๓) ทําใหมองเห็นความไมเทาเทียมกันของมนุษยตามกฎแหงกรรม
จึงไมกอใหเกิดความวุนวายในสังคม ทําใหรูจักแยกความแตกตางระหวางความหมายอัน
แทจริงและความหมายทช่ี าวโลกท่วั ไปใชกัน กลาวคอื ภาษาธรรมกบั ภาษาคน เพื่อใหเขาใจ
โลกตามความเปนจริง

(๔) ทําใหส ังคมมีสันตสิ ุขไมเ บียดเบียนกัน ทําใหนายทุนอาจกลายเปน
เศรษฐใี จบุญ และกรรมกรกลายเปนคนขยนั ขนั แข็ง ประพฤตธิ รรมะ ทาํ ใหค ําวา “นายทุน”
และ “กรรมาชีพ” หายไปจากโลกดวยวิธีของศีลธรรม ประโยชนอันพึงไดจากแนวทาง
การศึกษาของพุทธทาสภิกขุ อาจจะสรุปไดในทัศนะของทานวา สันติสุขหรือสันติภาพอัน
ถาวรของโลกนั้น ยอมข้ึนอยูกับการเขาใจอันถูกตองของคําวา “การศึกษา” ถาหากวา
การศึกษาไดรับการพิจารณาจนเขาใจถูกตอง และไดดําเนินไปอยางถูกตองตรงตามท่ีเปน
จริง โลกก็จะดีกวานี้ คือจะกลายเปนโลกของพระอริยเจา ท่ีปราศจากความทุกขโดย
ประการทั้งปวง โดยไมตองมีทหาร ไมตองมีตํารวจ ไมตองมีเรือนจํา โรงเรียนก็แทบจะไม
จําเปน เพราะวาอาจจะสั่งสอนกันไดทุกหนทุกแหง เพราะคนประพฤติดีอยูท่ีเนื้อท่ีตัวเปน
ตวั อยา ง๕๗

๕๖ พทุ ธทาสภกิ ขุ, การศกึ ษาคอื อะไร, (กรุงเทพมหานคร: สมชายการพิมพ, ๒๕๒๗), หนา ๑๗.
๕๗ พทุ ธทาสภิกขุ, เยาวชนกบั ศีลธรรม, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมทาน, ๒๕๒๒), หนา ๒๔.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั ๑๒๓
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

๓.๙ ปณธิ าน ๓ ประการ

ทานพุทธทาสภิกขุ ไดกลาวถึงปณิธาน ๓ ประการโดยมีสาระสาํ คัญดงั น้ี
ประการท่ี ๑ ความพยายามเขาถึงหัวใจศาสนาของตน
ไดแกเขาถึงหัวใจแหงศาสนาของตน แลวแตวาจะนับถือศาสนาอะไร ศาสนาใน
ทีน่ ี้ หมายถงึ ศาสนาที่ถูกตอง ไมใชศาสนาวัตถุนิยมไมใชศาสนาเงิน ไมใชศาสนากามารมณ
แตเ ปนศาสนาที่ถูกตอง ท่ีมีอยูสําหรับคุมครองโลก แตละศาสนาก็มีหัวใจคือความมุงหมาย
สว นสําคัญ นเี้ รียกวา จะตรงกันทุกศาสนาก็ได คือเพ่ือสันติสุขของโลก ดวยเครื่องมือความ
ไมเ ห็นแกตัว ทุกศาสนามุงหมายจะกําจดั ความเหน็ แกตัว
ประการที่ ๒ คือ การทําความเขาใจระหวา งศาสนา
ไดแกการทําความเขาใจระหวาง ก็เพ่ือแกปญหาคือการกระบทกระท่ังกัน ใน
ระหวางศาสนา ซึ่งมีผลมาถึงบุคคลแตละคน เดี๋ยวนี้ก็มีปญหาเก่ียวเนื่องกับศาสนาตางกัน
ทางการเมืองบาง ทางภายในหรือสวนบุคคลบาง ก็มีอยูแลวก็เปนปญหาใหญเหมือนกัน ที่
เปนปญหาทางการเมืองเกิดจากพลเมืองถือศาสนาตางกัน วิวาทกันอะไรทํานองนี้ เรา
อาจจะขจัดปดเปาปญหา ประเภทน้ีโดยเฉพาะออกไปไดโดยการทําความเขาใจระหวาง
ศาสนา
ประการที่ ๓ คอื การนาํ โลกออกมาเสยี จากวัตถนุ ิยม
ไดแกการนําโลกออกมสาเสียจากวัตถุนิยม เปนเร่ืองที่ตองสนใจที่สุดคือ สิ่งท่ี
เรียกวา วัตถุนิยมน่ันแหละ คือตัวศัตรู อันรายกาจของมนุษยมากกวาส่ิงใด โดยเฉพาะใน
โลกปจจุบันน้ีวัตถุนิยมกําลังครองโลก กําลังจับจิตใจของมนุษยทุกคนในโลก บีบบังคับให
ดิ้นรนไปในทางของความลุมหลงวัตถุ ซึ่งเปนเหตุใหเกิดความเห็นแกตัวและสงเสริม
ความเห็นแกตวั ใหยง่ิ ข้นั ไป โลกจึงเตม็ ไปดวยความเห็นแกต ัว เพราะพอใจในรสของวัตถุ ลุม
หลง ยงิ่ กวาส่ิงใดจงึ มีความเหน็ แกตัวเกดิ ข้ึนเทา กบั ความลมุ หลในวตั ถุ๕๘
สรุป ปณิธาน ๓ ประการของทานพุทธภิกขุ ถือวาเปนงานชิ้นสําคัญที่มีเน้ือหา
นาสนใจวา มหาปราชญเชนทาน มองโลกปจจุบันและโลกอนาคตอยางไร ศาสนาจะชวย
โลกนี้เกิดสันติภาพไดอยาง โดยทานพุทธทาสภิกขุช้ีใหเห็นวา ถาคนไมเขาถึงหัวใจของ
ศาสนาก็จะเขาใจกันไมได ถายงั หลงดว ยวัตถุนยิ ม กจ็ ะไมเ ขาถึงหัวใจของศาสนา ดวยเหตุน้ี

๕๘ พุทธทาสภิกขุ, ปณิธาน ๓ ประการ, (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา
๗๘,๑๑๗-๑๑๘.

๑๒๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

ปณิธาน ๓ ประการของทานพุทธทาสภิกขุจึงเกิดขึ้นเพ่ือเปนที่พึ่งแกโลกท้ังหมดหรือเพื่อ
สรา งสนั ตใิ หแ กมวลมนุษยชาตอิ ยา งแทจรงิ

๓.๑๐ ขบวนการเผยแผพระพุทธศาสนาของสํานักสวนโมกขพลาราม

การเผยแผพระพุทธศาสนาของนํานักสวนโมกขพลารามมีรูปแบบมากมาย เชน
คณะธรรมทานมีกิจการ ๙ ประการ คือ ธรรมทานมูลนิธิสวนโมกพลาราม ธรรมาศรม
นานาชาติ ธรรมาศรมธรรมทูต คายธรรมบุตร ธรรมาศรมมาตา หนังสือพิมพพุทธศาสนา
กองตาํ รวจคณะธรรมทาน และมลู นธิ พิ ุทธทาส

วัตถุธรรมประเภทสถานที่ คือ สวนโมกขพลาราม คายธรรมบุตร ธรรมาศนานา
ชาติ ธรรมาศรมธรรมทูต และธรรมาศรมธรรมมาตา นอกจากน้ันการตั้งโรงมหรสพทาง
วิญญาณเปน สถานที่เปรียบเสมือนหองสมุดสอนธรรมะที่สามารถใชประโยชนครบวงจร ใช
เปนสถานบรรยายธรรม ใชสําหรับการฉายภาพน่ิง ฉายภาพยนตรเกี่ยวกับธรรมะ ชํ้าหรับ
บันทึกภาพฝาผนังโดยนําเอาขอธรรมสําคัญ ๆ มาเขียนเปนภาพปริศนาธรรม ใชภาพ
เหลาน้ันเปนสื่อสอนธรรมะแกพุทธบริษัทผูมาเยือนสวนโมกข ขณะเดียวกันพระภิกษุ
นักศึกษาในสวนโมกขก็สามารถใชเปนสื่อสํารับฝกฝนการอธิบายธรรมะแกผูสนใจ ชวย
สงเสริมใหพระเณรเพ่ิมพูนประสบการณในการสอนธรรมะหรือการแสดงธรรมใหสําเร็จ
ประโยชนสูงสุดอีกดวย ต้ังสวนโมกขนานาชาติขึ้น สําหรับชาวตางชาติผูที่สนใจปฏิบัติ
ธรรมตั้งอาศรมธรรมทตู ตง้ั คายพทุ ธบตุ ร ต้ังอาศรมธรรมาตา เปดโอกาสให สตรี ศึกษาและ
ปฏิบัติธรรมและท่ีสําคัญทานรวมกับนองต้ังคณะธรรมทานข้ึน เพ่ือจัดพิมพหนังสือ
พระพุทธศาสนาเผยแผ สํานกั สวนโมกขพลาราม

๓.๑๑ วเิ คราะหองคค วามรูจากคําสอนสาํ คัญของสาํ นกั สวนโมกขพลาราม

สาระสําคัญในการสอนของสํานักสวนโมกพลารามน้ันดูเหมือนทานจะเนนไปที่
การกระทําของผูนั้น ผลเกิดจากการกระทําของผูใด ผูนั้นตองไดรับอยางแนนอนและ
ยุติธรรม ไมมีใครอาจสับเปลี่ยน ตัวผูทํา กับ ตัวผูรับ หรือมีอํานาจเหนือกฎอันนี้ได น่ี
เรียกวา ลัทธิกรรม มีเปนหลักส้ันๆ วา สัตวท้ังหลาย มีกรรมเปนของตน สัตวทั้งหลายหมุน
ไปตามอํานาจเกาซ่ึงในระหวางนั้นก็ทํากรรมใหมเพิ่มเขามากรรมเพิ่มเขามาก็จะกลายเปน
กรรมเกาตอไปตามลําดับ เปนเหตุและผลของกันและกันไมรูจักสิ้นสุด คาบเก่ียวเน่ืองกัน
เหมือนลูกโซ ไมขาดสาย เราเรียกความเกี่ยวพันอันน้ีกันวา สังสารวัฏ หรือสายกรรม มัน
คาบเก่ียวระหวางนาทีน้ีกับนาทีหนา หรือ ช่ัวโมงน้ีกับชั่วโมงหนา วันนี้กับวันหนา เดือนน้ี
กับเดือนหนา ปน้ีกับปหนา จนถึงชาตินี้กับชาติหนา สับสน แทรกแซงกันจนรูไดยากวาอัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบัน ๑๒๕
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

ไหนเปนเหตุของอันไหนกันแน ดูเผินๆ จึงคลายกับวามีใครคอยบันดาล สายกรรมประจํา
บุคคลหน่ึงๆ ยอมผิดจากของอีกคนหนึ่ง เพราะฉะน้ัน ตางคนจึงตางเปนไปตามแนวกรรม
ของตนไมเหมือนกนั กรรมเปนเหตุสขุ และทกุ ขเปนผลเกดิ มาแตก รรมน้นั ๆ

สิ่งท่ีนาสนใจอีกประการหน่ึงในหลักการเผยแผของสํานักสวนโมกพลารามน้ันก็
คอื ธรรม ๙ ตา ไดแ ก๑ . อนจิ จตา ๒. ทุกขตา ๓. อนตั ตา ๔. อิทัปปจจยตา ๕. สุญญตา ๖.
ธัมมัฏฐิตา ๗. ธัมมนิยามตา ๘. อตัมมยตา ๙. ตถตา ทานพุทธทาสภิกขุถือวาธรรมเหลานี้
เปนหัวใจของพระพุทธศาสนา ทานยังอธิบายถึงหลักอีกขอวา สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิ
เวสาย สรรพสิ่งไมควรยึดมั่นถือม่ันเพราะสอดคลองกับไตรลักษณะ คือ อนิจจตา (ความไม
เท่ียง) ทุกขตา (ความถูกกดดัน) และอนัตตตา (ความหาสภาพที่เปนตัวตนแทจริงไมได)
หรือกลาวตามภาษาที่คลองปากกันวา ชีวิต เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาทั้ง ๓ ประการนี้
มีชื่อเรียกตามภาษาธรรมะวา ไตรลักษณ หรือ สามัญญลักษณะ ชีวิตเม่ือเกิดขึ้นมาตั้งแต
กําเนดิ ในครรภจ นกระทัง่ วาระสุดทายยอ มตกอยูใตอ าํ นาจของกฎธรรมชาติ ๓

วัตถุนิยม: ทานก็มักจะปฏิเสธเพราะทานใหทัศนะคติเกี่ยววัตถุนิยมวามันเปน
การเสพติดทางวัตถุท่ีมันมีอ่ิมมีแตความวุนวายไมมีที่สินสุด ทานดูเหมือนจะเนนการอยูปา
กินอยูอยางงาย ๆ ซึ่งในจุดน้ีก็จะเห็นคําที่ทานชอบใชก็คือคําวา“กินขาวจานแมว (กิน
งา ย)อาบน้ําในคู (ใชสอยคุม คา)นอนกุฏิเลาหมู (นอนงาย)ฟงยุงรองเพลง (จิตสงบเย็น)
อยูเหมือนตายแลว (ตายจากความยึดม่ันถือมั่น)”และ “กินอยางต่ํา มุงกระทําอยางสูง
เปนอยูอยางงาย มุงกระทําส่ิงยาก ใชชีวิตใกลชิดกับธรรมชาติที่สุดนั่นก็คือ ลดอํานาจ
กิเลสตามสัญชาตญาณด้ังเดิม หรือลดการพึ่งพาวัตถุสวนเกิน”ทานเนนใหเห็นถึง
ความสําคัญในการสมั ผสั กบั ธรรมชาติ ใหคนเรามีเวลาคิดคน ศึกษาใหมาก เมื่อพิจารณาถึง
สง่ิ ท่ีเนนใหเหน็ ธรรมชาติแลว การใชชีวติ ทานก็ยงั เนนอยา งกรณที ส่ี ถานท่ีอเนกประสงคของ
สวนโมกนั้นจะเห็นสถานท่ีท่ีพระนั่งฉันกับพ้ืนทราย ญาติโยมน่ังตามพ้ืนตามโคนตนไม ท่ี
เปน เชน นกี้ ็เพราะทานใหความสําคัญกับประวัติศาสตรทางพระพุทธศาสนาวาพระพุทธเจา
ประสูติท่ีพ้ืนดิน (สวนลุมพินี) ตรัสรูท่ีพื้นดิน (ใตตนโพธ์ิ) และปรินิพพานที่พ้ืนดิน (ระหวาง
ตนรังคู) ในจุดนี้ๆ เอง เม่ือมีการสรางโบสถของสวนโมกขจึงไมมีอาคารเปนที่กลางแจง มี
ผูสรางหองนํ้าถวายทานๆ ก็ไมใช ทานสรงนํ้าในโองขางนอกและนอนท่ีแครเล็กๆ ปณิธาน
อยางหนง่ึ ของทา นคอื “นําเพอื่ นมนุษยออกจากวัตถุนิยม” เปนวิธีการชวยใหคนพนทุกขได
งา ย

สังคมนิยม: ในสวนของสังคมนิยมตามหลักแหงพระศาสนา ทานกับไมไดพูดถึง
“สังคมนยิ ม” ในความหมายท่ีเปนรูปแบบการเมืองการปกครองในหลายประเทศ แตทาน
กับพูดถึงแนวคิดท่ีเนนสังคม เพราะธรรมชาติอันบริสุทธ์ินั้นเปนเร่ืองของสังคมนิยม ซึ่ง

๑๒๖ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

ตรงกนั ขา มกบั เสรีนิยมที่เปดโอกาสใหคนแขงขันและกระตุนดวยกิเลสและผลประโยชนแต
กบั ทา นพดู ถงึ สงั คมนิยมในฐานะทเี่ ปนเจตนารมณข องธรรมชาติ ที่ใหคนอยูรวมกัน สัมพันธ
กันเกื้อกูลกัน ซึ่งทุกศาสนาก็สอนเหมือนกัน สอนไมใหคนเห็นแกตัวและสังคมในอุดมคติท่ี
ทุกศาสนาสอนก็ลว นแตสะทอ นความเปนสังคมนิยม ดังกรณีท่ีทานยกเร่ือง “สงฆ” ในพุทธ
ศาสนา วาเปนสังคมนิยมในอุดมคติ และบอกวา พระพุทธเจาทรงเปนผูนําที่มีอุดมคติเปน
สงั คมนยิ ม

การปกครอง: ในการปกครองทานพุทธทาสยังยืนยันวาระบอบการปกครองชนิด
ก็ตามลวนแลวแตมีความดีอยูในตัวเอง ใชไดท้ังน้ัน มีประโยชนทั้งส้ิน ระบอบเผด็จการก็มี
สวนดี ถาผูเผด็จการตั้งอยูในธรรมะหรือเผด็จการโดยธรรม ผูเผด็จการสามารถสั่งการและ
ทํางานไดรวดเร็วกวา ไมตองมีข้ันตอนมากมาย ระบอบประชาธิปไตย ก็มีสวนดี ถาเปน
ประชาธปิ ไตยทค่ี าํ นึงถึงประโยชนสขุ ของประชาชนเปนใหญ มิใชประชาธิปไตยของคนพาล
ท่ีใชพวกมากลากไป ประชาธิปไตยของพวกคนพาลเปนประชาธิปไตยบาบอ ไมเปน
ประโยชนแตอยางใด

การเมือง: ทานพุทธทาสวางอุดมคติไวท่ีความรักผูอื่นหรือต้ังอยูบนพ้ืนฐานของ
ธรรมท้ังหมดไมว าการเมืองระบบไหนๆ จะตอ งมีธรรมเปนตัวกํากับจึงจะเปนความมุงหมาย
สวนใหญของการเมือง มันจะตองเปนไปเพื่อสันติของโลกโดยปราศจากการใชอาญา
นกั การเมืองจะตองเปนสัตบุรุษผจู ดั โลกใหอ ยูกนั อยางผาสุกโดยปราศจากอาญา

ดานการศกึ ษา:ทานพุทธทาสภิกขุมองวาการศึกษาของประเทศไทยในปจจุบัน
เปนการศึกษาแบบลมเหลวเหมือนหมาหางดวน ที่เชนนี้ก็เพราะการศึกษาทั่วโลกมักมีแต
เพียงสองอยาง คือ รูหนังสือกับอาชีพแลวก็ขะมักเขมนจัดกันอยางดีท่ีสุด มันก็ไมมีผลอะไร
มากไปกวา สองอยางนั้น มันก็ยังขาดการศึกษาที่ทําใหมีความเปนมนุษยท่ีถูกตองอยูนั้นเอง
ดังน้ันทา นจงึ เรียกการศึกษาชนิดน้วี า เปน การศึกษาเหมอื นกับหมาหางดว น

ทา นยังยา้ํ อีกท่ีหน่ึงวา การศึกษาหมาหางดวน มันรูมาก รูมากแตเร่ืองหนังสือกับ
วิชาชพี แตไมมีความรูเสียเลยวาจะดับทุกขในจิตใจกันอยางไร ฉะนั้นการศึกษาทั่วโลกเวลา
นี้เปนการศึกษาหมาหางดวน เพราะไมประกอบไปดวยวิชชาท่ีดับทุกขมีแตวิชชาที่จะทํา
อะไรเพื่อปากเพ่ือทองเพ่ืออาชีพพอเผลอเขา ควบคุมไมไดอันน้ันเกิดเปนพิษเกิดปญหาเกิด
ความทุกขมากมายตามมา เพราะวิชชาชนิดน้ัน ไมสามารถควบคุมความโลภโกรธและไม
ควบคุมความหลงได ศึกษาอยางน้ีไมสามารถเรียกวาวิชชาไดเพราะมันมีคาเทากับอวิชชา
ตลอดเวลาที่เรายังไมมีวิชชา เราก็ตกอยูใตอํานาจสัญชาตญาณที่ปราศจากวิชชาสัญชา
ตญานเดิมๆที่มีอยใู นตัวตนของเราในสัญชาตญานของมนุษยน้ันมีทั้งวิชชาและอวิชชาดงน้ัน
คนเราจงึ จําเปน ท่จี ะตองมีการฝกอบรมตนอยูตลอดเวลา

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน ๑๒๗
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

สวนระบบการศึกษาของชาติไทย ทานพุทธทาสวิพากษวิจารณและวิเคราะหไว
มาก ทานเรียกระบบการศึกษาที่ลมเหลวน้ีวา “ระบบการศึกษาหมาหางดวน” การศึกษา
เปนสนุ ขั หางดวน ไมสมบูรณ สอนใหคนรูหนังสือและมีอาชีพ แตไมสอนใหเปนมนุษยอยาง
ถกู ตอง จึงเหมือนหมาหางดวนและเจดียยอดดวนจบการศึกษาแลวยังติดยาเสพติด หรือทํา
คอรรัปชั่น ฯลฯ อันธพาลก็ผานการศึกษา จบระดับปริญญามาแลวก็ยัง ติดในรสอรอยที่
รูอยูวาเปนโทษ เชนบุหรี่ เหลา บางทีแมหมอก็เอาดวย นี่เปนการศึกษาลักษณะหมาหาง
ดวน คือมีการศึกษาแตวิชาหนังสือและวิชาชีพเทาน้ัน ไมมีการศึกษาเรื่องมนุษยท่ีมี
คณุ ธรรมอยางถกู ตองตามหลักศาสนา

ทัศนะคติเก่ียวกับพระสงฆ: ทานเคยวิพากษถึงเรื่องกฎคณะสงฆที่ออกมาหาม
ไมใ หพ ระสงฆเก่ียวขอ งกบั การเมอื งวา หากเขาใจการเมืองในความหมายธรรมดาก็เห็นดวย
แตถาหากเขาใจอยางท่ีทานพูดมาแลวน้ัน ทานก็บอกวาทําไมได ซึ่งก็นาจะเปนเชนน้ัน
เพราะทานถือวา ระบบพระธรรมในพระพุทธสาสนา มันก็เปนระบบการเมืองระบบหนึ่ง
ของสัจธรรมของธรรมสัจจะ หรือของศาสนาก็มีระบบวางไวสําหรับจัดโลกน้ีใหอยูกันอยาง
ผาสุก โดยปราศจากอาญา ฉะนั้นพระสงฆท่ีเก่ียวของกับการเมืองระบบนี้ไดอยางเต็มที่ แต
อยาไปเกี่ยวของระบบการเมืองของนักการเมืองสกปรกท่ีทําไปดวยกิเลสตัณหาโดยไมมี
ธรรมสัจจะของพระพุทธเจาหรือของศาสนาเลยเพราะขืนไปเก่ียวของมันก็พลอยเปนอยาง
นน้ั ดวย

๓.๑๒ ผลกระทบตอ สังคม

สํานักสวนโมกขระยะเวลา ๕๐ ป สงผลกระทบ เรียกกันวา การปฏิรูปใน
หลายๆ ลักษณะดว ยกัน ลักษณะเดน และสําคญั ดงั น้ี

๑. การวิจารณความเชอื่ และการปฏบิ ตั ิศาสนาในสังคมไทย
๒. การอธิบายธรรมบางเร่ืองใหม
๓. การศึกษาเชงิ เปรียบเทยี บพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน
๔. การเก่ียวของกับศาสนาคริสตแ ละศาสนาอนื่ ๆ
๕. ทัศนะการเมืองแบบ “ธรรมิกสงั คมนยิ ม” สาํ นกั สวนโมกขพลาราม
๖. ดานการศึกษาโดยรณรงคใหนําหลักคุณธรรม ศีลธรรม หลักจริยธรรมกลับ
เขาสูสถาบันการศึกษาใหไ ดเ รยี นรปู ระพฤติปฏบิ ัติอยา งจรงิ จัง
๗. ดานการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยใหความสําคัญกับ
ส่ิงแวดลอม การสรา งถาวรวัตถใุ หก ลมกลืนกับธรรมชาติการอนุรักษตนไมและอนุรักษสัตว

๑๒๘ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั
พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

ปา ทกุ ชนิดในบรเิ วณสวนโมกขพลารามและกําหนดใหผูท่ีมาปฏิบัติธรรมตองใหความสําคัญ
กับการอนรุ ักษส ง่ิ แวดลอ มดวย

๓.๑๓ สรุปทา ยบท

คําของพุทธทาสภิกขุมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกปญหาในสังคมไทย และ
สงั คมโลก มีความลึกซึง้ ทางดานศาสนา ดา นจติ วทิ ยา ดานภาษาศาสตร ดานการเมือง ดาน
เศรษฐศาสตร ดานการศึกษาและแมแตดานศิลปะและสุนทรียภาพ สิ่งท่ีมากไปกลาว
หลกั ธรรมที่ครอบคลุมทุปญหาแลวทานยังกลาวิพากษวิจารณแนวคิดของนักปราชญระดับ
ตนของพระพุทธศาสนาอยางเชนพระพุทธโฆสาจารยในเร่ืองอธิบายปฏิจจสมุปบาทวายังมี
ความไมสมบูรณอยูหรือไมถูกตองน้ันเอง ทั้งที่พระพุทธโฆษาจารจเปนปราชญทางพุทธ
ศาสนาทมี่ ีอิทธพิ ลตอ การตคี วามหลักธรรม โดยไมมีใครเคลือบแคลงสงสัย รวมท้ังทานกลา
วิพากษพิธีกรรมและพิธีปฏิบัติตามประเพณีของชาวพุทธสงผลใหเกิดการวิพากษวิจารณ
แนวคาํ สอนของทา น

วิธีการตีความของทานก็เปนอีกประเด็นหนึ่งที่ดูเหมือนวากําลังใชภาษาท่ีเปนไป
ในลักษณะปฏิวัติ หรือเปนกบฏอยางย่ิง แตทานพุทธทาสภิกขุก็มีความเปนนักอนุรักษคํา
สอนพุทธศาสนาดั้งเดิมอยางย่ิง ดังคํายืนยังของพระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ)
สหายธรรมของทานวา พุทธทาสภิกขุศึกษาพระไตรปฏกอยางจริงจัง และถองแทจนเขาใจ
ดังน้ันคําสอนของทานจึงมีความสอดคลองกับพระพุทธศาสนาและที่สําคัญท่ีสุด ทานได
นาํ เอาแกน ธรรมไปแสดงในโอกาสตางๆ เพ่ือแกปญหาในระดับตางๆ อยางไมเคยเกิดขึ้นมา
กอนในประวัติศาสตรไทย โดยอางพุทธพจนและแกนคําสอนในพุทธศาสนาท่ีถูกตอง
นอกจากนี้พุทธทาสภิกขุยังเปนผูศึกษาคนควาพระไตรปฏกเปนอยางดี พรอมทั้งนํามา
รวบรวมเปนหนังสือชุดจากพระโอษฐ คือ พุทธประวัติจากพระโอษฐปฏิจจสมุปบาทจาก
พระโอษฐเปนการรวบรวมแกนคําสอนพุทธศาสนาจากพระไตรปฏก และนําเสนอใน
รูปแบบท่ีเปนสากล แตกระน้ันก็ยังไมท งิ้ ความเปน อัตลกั ษณแหงคัมภีรหลักในพทุ ธศาสนา

ในชวงแรกทีพ่ ทุ ธทาสภกิ ขุ ไดเ ร่มิ ดาํ เนินชวี ิตตามปณิธาน เน่ืองจากบุคลิกภาพใน
วันหนุมที่แข็งกราวในสภาพสังคมท่ีเปนชวงเฉ่ือยทางวัฒนธรรม ทางจริยธรรมและทาง
ศาสนาธรรม แมค นในสงั คมไมเ ขา ใจแกนวัฒนธรรมของตนเอง แตก็ไมมีการตรวจสอบและ
วิพากษวจิ ารณ เม่อื พุทธทาสภกิ ขุ ลุกขึ้นมาวิพากษวิจารณในลักษณะบันลือสีหนาท เพื่อจะ
แกความเขาใจผิด และการปฏิบัติผิดในทางพระพุทธศาสนา ตลอดจนการขาดความสนใจ
ในแกนธรรม ทานมีความกลาหาญ ทําดวยความเช่ือม่ัน ดวยเหตุดังกลาวทําใหการเสนอ

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน ๑๒๙
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

แนวคดิ ตา งๆ ของทาน ตกกระทบทาํ ใหเ กิดการกระเพ่อื มในวงการตางๆ อยางรุนแรง และ
เปนผลใหค าํ สอนของทา นแทรกเขา ไปในวงการวิชาการอยางมาก

ดวยเหตุน้ีจึงทําใหคําสอนของพุทธทาสภิกขุมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตตอ
วงการตางๆ ท่ีหลากหลาย คือ ทานพุทธทาสภิกขุอานมาก โยนิโสมนสิการอยางจริง ดังท่ี
ทานกลาววาทานอานหน่ึงสวน โยนิโสมนสิการสิบสวน นอกจากอานและศึกษาศาสตรที่
หลากหลายแลว ทานยังสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดกับปราชญอยางมากดวย จากน้ันทาน
นําไปทดลองปฏิบัติอยางจริงจัง ทานปฏิบัติมาก อยูใกลชิดกับธรรมชาติมาก สามารถ
ประสานระหวางความเปนพระปากับเทคโนโลยี ประสานระหวางความเปนนักอานกับ
ทดลองปฏิบัติอยางตอเนื่องสงผลใหทานประสานประสบการณเฉพาะตัวได โดยไมทอดทิ้ง
พระคัมภีรดั้งเดิม นอกจากน้ีทานยังสืบสานอดีต ปจจุบันแลวปูทางสูอนาคตได ทําใหคํา
สอนของทานทนตอ การพสิ จู น แมจ ะถกู วพิ ากษวิจารณอยางรุนแรงในชวงแรกๆ แตก็เปนที่
ยอมรบั ในกาลตอมาและย่งิ เปนท่ยี อมรับมากขึน้ รวมท้งั ไดรับการอา งเพิม่ ข้นึ ตามลําดบั

๑๓๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานกั สวนโมกขพลาราม

คําถามประจาํ บท

ก. แบบประเมนิ แบบปรนยั ๑๐ ขอ
๑. ขอ ใดกลาวถึงบทบาทในการเผยแผข องหลวงพอพทุ ธทาสไดถูกตองท่ีสดุ
ก. เปน แบบอยา งในการปฏบิ ัติทัง้ ในและนอกประเทศ
ข. เปน พระนักปฏิรปู ในการเผยแผ
ค. เปนพระที่ทุมเทและเสยี สละ
ง. เปนพระผูส รา งศรทั ธา
๒. คุณลกั ษณะเดนของหลวงพอพุทธทาส คือ ขอใด
ก. เปนพระนกั ปฏิรปู พทุ ธศาสนา
ข. เปนพระนักปฏวิ ตั พิ ทุ ธศาสนา
ค. เปน พระนักปฏริ ูปการเมอื ง
ง. เปนพระนกั ปฏวิ ตั กิ ารเมือง
๓. ขอใดกลาวถึงกจิ กรรมสาํ คญั ของสาํ นักสวนโมกขพลาราม ไดถกู ตอง
ก. การตงั้ โรงมหรสพทางวิญญาณเปน สถานท่ศี กึ ษาธรรม
ข. การสรา งองคกรในการเผยแผใหท นั สมยั
ค. การการขยายตวั ของสํานกั ไปเร่ือยๆ
ง. อธบิ ายคําสอนทางพระพุทธศาสนาใหเ กดิ ความหลากหลายและทันสมยั
๔. ความหมายของคาํ วา การศกึ ษาเหมือนกบั หมาหางดวนในทัศนะของหลวงพอ
พุทธทาส คือ ขอ ใด
ก. การลม เหลวในการจัดการศกึ ษา
ข. สอนใหรหู นงั สอื กบั อาชพี
ค. การศึกษาทีท่ ําใหมีความเปนมนุษยท ถ่ี ูกตอง
ง. การจัดการศึกษาที่ควบคูท้งั ทางโลกและทางธรรม
๕. การปกครองทดี่ ใี นทศั นะของหลวงพอพทุ ธทาส คือ ขอใด
ก. ตัง้ อยใู นธรรมโดยธรรม ข. ตั้งอยูในธรรม
ค. ระบอบประชาธปิ ไตย ง. ระบบเผดจ็ การ
๖. ขอ ใดกลาวถงึ ลกั ษณะการคาํ สอนทเี่ ดนของหลวงพุทธทาสไมถกู ตอง
ก. ธรรม ๘ ตา ข. สญุ ญตา
ค. อทิ ัปปจ จยตา ง. สอนตามความชํานาญของตน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั ๑๓๑
พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๓ สํานักสวนโมกขพลาราม

ท่ีสุด ๗. ขอ ใดกลาวถึงความหมายการเมืองในอุดมคติของหลวงพอพุทธทาสไดถึงตอง

ก. โลกาธปิ ไตย ข.ธรรมาธปิ ไตย
ค. อตั ตาธิปไตย ง. สังฆาธิปไตย
๘. ขอใดวิพากษถึงเรื่องกฎคณะสงฆท่ีออกมาหามไมใหพระสงฆเก่ียวของกับ
การเมืองของหลวงพอ พทุ ธทาสไดถกู ตอง
ก. ระบบพระธรรมในพระพุทธสาสนาไมไ ดเ ปน ระบบการเมือง
ข. ระบบพระธรรมในพระพทุ ธสาสนานน้ั เปนระบบการเมือง
ค. ระบบพระธรรมในพระพุทธสาสนาเปน ระบบการเมืองสจั ธรรม
ง. ระบบพระธรรมในพระพทุ ธสาสนาเปน ระบบการเมอื งธรรม
๙. ขอใดกลาวถึงหลักการสอนของสํานักสวนโมกขพลารามที่สงผลกระบทตอ
สงั คมไดถูกตอง
ก. การอธิบายธรรมใหมๆจนกอใหเกิดการตีความแนวความสอนทางพุทธ
ศาสนา
ข. กอ ใหเกดิ มุมมองการปกครองสงฆอยางกวา งขวาง
ค. การศึกษาควรจัดใหเ ปนไปตามเกณฑมาตรฐานของ สกอ.
ง. การวิจารณกอ ใหเ กิดผลตอความเช่ือและการปฏบิ ัตศิ าสนาในสงั คมไทย
๑๐. คําวา “ธรรมิกสงั คมนิยม” ในทศั นะคาํ สอนของหลวงพอพุทธทาส คือ ขอ ใด
ก. วถิ ที างสรางปฏสิ ัมพันธต อกนั และกัน
ข. ระบบท่สี รางธรรมใหเกดิ กบั สังคม
ค. ระบบทสี่ รางมนษุ ยไมใ หเ หน็ แกตัวเอง
ง. ระบบทสี่ รางมนุษยใ หเห็นแกต ัวเอง

ข. แบบฝกหัดแบบอัตนัย

๑. จงวิเคราะหบทบาทในการเผยแผของหลวงพอพุทธทาสท่ีมีตอสังคมไทยมาดู
อยา งละเอียด

๒. จงวเิ คราะหหลักคําสอนเรื่อง “ธัมมกิ สงั คมนิยม”ของหลวงพอ พุทธทาสที่มีตอ
สังคมไทยมาดู

๓. จงวจิ ารณแ นวคิดเกยี่ วกบั การศกึ ษาของไทยมาดู
๔. วิเคราะหใหเห็นถึงองคความรูใหมจากคําสอนสําคัญของสํานักสวนโมกข (พุทธ
ทาส) มาดู

๑๓๒ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั
พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๓ สาํ นกั สวนโมกขพลาราม

“กนิ ขาวจานแมว (กนิ งาย)
อาบนํ้าในคู (ใชส อยคมุ คา )
นอนกฏุ ิเลา หมู (นอนงา ย)
ฟงยุงรองเพลง (จติ สงบเยน็ )
อยูเ หมือนตายแลว (ตายจากความยึดมน่ั ถือมั่น)”

บทที่ ๔
อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟูพระพุทธศาสนา

Anagarika Dhammapala with Buddhist Regeneration

แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ ๔
หวั เรอ่ื ง

๔.๑ ความนาํ
๔.๒ ประวตั ิ ทา นอนาคารกิ ธรรมปาละ
๔.๓ การฟนฟพู ระพุทธศาสนา
๔.๔ การกอ ตั้งสมาคมมหาโพธ์ิ
๔.๕ พระมหาเจดยี พ ทุ ธคยากับพราหมณมหนั ต
๔.๖ อุปสรรคจากพวกมหนั ต
๔.๗ ผลงาน
๔.๘ บ้นั ปลายชวี ิต อปุ สมบทเปน พระภกิ ษุ
๔.๙ ขบวนการฟน ฟูพระพทุ ธศาสนา
๔.๑๐ วิเคราะหอ งคค วามรเู กิดจากขบวนการฟนฟพู ระพุทธศาสนา
๔.๑๑ ผลกระทบตอ สังคม
๔.๑๒ สรปุ ทา ยบท

วตั ถุประสงคประจําบท

เมือ่ ศกึ ษาบทท่ี ๔ จบแลว ผูเรียนสามารถ
๑. อธิบายถึงประวตั ทิ า นอนาคารกิ ธรรมปาละ
๒. อธบิ ายถึงการฟนฟพู ระพุทธศาสนาทา นอนาคารกิ ธรรมปาละ
๓. เขาใจถงึ แนวคดิ การกอ ต้ังสมาคมมหาโพธ์ิ
๔. เขา ใจถงึ แนวคดิ การเรยี กรองเพอ่ื ใหพระมหาเจดยี พุทธคยา
๕. เขาใจถึงอุปสรรคจากพวกมหันต
๖. เขา ใจถึงผลงานของทา นอนาคารกิ ธรรมปาละ

๑๓๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน
บทท่ี ๔ อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนา พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๑๐. สามารถวิเคราะหอ งคความรูจากแนวคิดของทา นอนาคาริก ธรรมปาละ
๑๑. เขาใจถงึ ผลกระบททีเ่ กิดจากแนวคิดทีม่ ตี อ สงั คม

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

๑. วธิ สี อนใชวิธีการสอนแบบบรรยาย (Lecture) ประกอบกับการสอบถาม/
สมั ภาษณเปน รายบุคคล

๒. กระบวนการเรียนการสอน
๑) ใหผูเรียนเขียนใบงานหัวขอ “องคความรูและผลกระบทที่เกิดจาก

แนวคิดของทา นอนาคาริก ธรรมปาละทม่ี ตี อ สังคม”
๒) ใหผ ูเรยี นดวู ีดีทศั นเกีย่ วกบั ทา นอนาคารกิ ธรรมปาละ
๓) อาจารยบ รรยายสรปุ เช่อื มโยงเขาสูบทเรียนและบรรยายตามเนื้อหา
๔) ใหผูเรียนทําบททดสอบหลงั เรียน

สอ่ื การเรยี นการสอน

๑. เอกสารคําสอนวิชาขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจ จบุ นั
๒. Power Point Presentation
๓. วีดทิ ัศนเกยี่ วกบั ขบวนการดาํ เนนิ กิจกรรมของทานอนาคาริก ธรรมปาละ
๔. สื่อตามแหลงเรียนรตู างๆ เชน ภาพประกอบในหอ งสมดุ

การวดั และประเมนิ ผล

๑. สังเกตจากความตั้งใจเรียนของผูเรียน/การมีสวนในการแสดงความคิดเห็น/
และการมสี วนรวมกบั กจิ กรรมในช้ันเรยี น

๒. พิจารณาจากการเขียน/สงใบงานท่ีตรงเวลาและตรงกับเน้ือหาสาระ/การ
แสดงความคดิ เหน็ ท่ปี รากฏในใบงาน

๓. พจิ ารณาใหคะแนนจากการทาํ บททดสอบหลงั เรียน


Click to View FlipBook Version