The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ่ นโลกปจั จุบนั

New-Buddhist Movements in Contemporary World

พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ, รศ.ดร.

อาจารยป์ ระจาหลักสตู รหลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ และดษุ ฏบี ัณฑิต
คณะพุทธศาสตร์ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแก่น

ขบวนการพทุ ธใหม่ในโลกปจั จบุ นั

Neo-Buddhist Movements in Contemporary World

ISBN : 978-616-300-350-8

เรียบเรียง : พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, รศ.ดร.

อาจารยป์ ระจาหลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิตและดุษฎีบัณฑติ

สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

ผูท้ รงคณุ วุฒิตรวจสอบ : พระโสภณพฒั นบณั ฑิต, รศ.ดร

ศ.ดร.ประยงค์ แสนบรุ าญ

รศ.ดร.โสวทิ ย์ บารงุ ภกั ด์ิ

ศลิ ปกรรมและรูปเล่ม : พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ, รศ.ดร.
ปีท่ีพิมพ์ : ๒๕๖๒
ครงั้ ทพ่ี ิมพ์ :๒
จานวน : ๓๐๐ เลม่
พมิ พ์ท่ี : เอม่ี ก๊อปปี้ เซนเตอร์

จดั ทาโดย เลขที่ ๘๘/๒๗ ถนนเหลา่ นาดี ตาบลในเมือง
อาเภอเมืองขอนแกน่ จังหวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐
โทร. ๐๔๓-๓๐๖-๘๔๕, ๐๘๕-๐๑๐๑-๓๙๕
Email: [email protected]

[email protected]
: มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

เลขท่ี ๓๐ หมู่ ๑ ตาบลโคกสี อาเภอเมืองขอนแก่น
จังหวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐
โทร. ๐๔๓-๓๒๘๖๘๙-๙๑ โทรสาร ๐๔๓-๓๒๘๖๙๒

ลิขสิทธิ์เอกสารคาสอนเลม่ นเี้ ปน็ ของ พระมหามิตร ฐติ ปญโฺ ญ (วันยาว), รศ.ดร.

หนังสอื เลม่ น้สี งวนลขิ สทิ ธต์ิ าม ลิขสทิ ธิ์ พรบ. ๒๕๕๘ หา้ มผู้ใดพิมพ์ซา้ ลอกเลียน สว่ นใดส่วนหนง่ึ ของหนังสือ
เลม่ น้ีไมว่ ่าในรูปแบบใดๆ นอกจากไดร้ ับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรเทา่ น้ัน

คำนำ

เอกสารคาสอนฉบับนี้ ผเู้ ขียนได้ศึกษาค้นคว้า รวบรวมและเรียบเรียงขึ้น เพื่อใช้
เป็นตาราประกอบการบรรยายใน รายวิชา ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน ซ่ึงเป็น
หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สืบเนื่องจากนิสิตส่วนใหญ่ไม่มีหนังสือหรือตาราสาหรับเป็น
คู่มือในการศึกษาเล่าเรียนในรายวิชาน้ี เม่ือได้รับการมอบหมายงานศึกษาค้นคว้าและ
นาเสนอมักมีปัญหาเก่ียวกับข้อมูลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องและเกิดความยุ่งอยากในการค้นคว้า
ข้อมลู จนกลายเป็นความท้อแทใ้ นการศกึ ษาและอาจเป็นปัจจัยส่งผลให้ไม่เกิดผลสัมฤทธ์ิที่ดี
ในการศกึ ษาวชิ านี้เทา่ ทค่ี วร

ผู้เขียนได้เล็งเห็นความสาคัญดังกล่าวจึงได้ศึกษาค้นคว้ารวบรวมและเรียบเรียง
จัดทาเอกสารคาสอนฉบับนี้ขึ้นมา โดยเน้นเนื้อหาสาระให้เป็นไปตามกรอบของแนวสังเขป
รายวิชาและโครงสร้างของรายวิชาซึ่งจะกล่าวถึงขบวนการพระพุทธศาสนาแนวใหม่ท่ี
เกิดขึ้นในสังคมโลกปัจจุบัน ท้ังในสังคมไทยและต่างประเทศ โดยเน้นศึกษาให้เห็นความ
เชื่อมโยงระหว่างบริบททางสังคมกับการเกิดขึ้นของขบวนการพระพุทธศาสนาแนวใหม่
รวมท้ังรูปแบบการจัดต้ังองค์กร การตีความคาสอนแนวใหม่ วิธีการเผยพระพุทธศาสนา
แบบใหม่ และอิทธิพลต่อสังคมโลก อย่างไรก็ตามเอกสารคาสอนฉบับน้ียังต้องปรับปรุงให้
สมบูรณย์ ิ่งข้นึ ในโอกาสตอ่ ไปและหวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่าคงอานายประโยชน์ให้กับนิสิต ผู้ศึกษา
และผู้สนใจทั่วไปพอสมควร

พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ, รศ.ดร.
อาจารยป์ ระจาหลักสตู รพทุ ธศาสนามหาบัณฑิตและดุษฏีบัณฑติ
มหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

ข ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ่ นโลกปัจจุบนั
พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลักษณ์และคายอ่

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน ค
พระมหามิตร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลักษณแ์ ละคายอ่

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้

คานา ก
สารบัญ
คำอธบิ ายสัญลกั ษณแ์ ละคำยอ่ ค


บทที่ ๑ ขบวนการพุทธใหมใ่ นโลกปจั จุบนั ๑

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๑ ๑

๑.๑ ความนา ๓

๑.๒ ความหมายและขอบเขตของขบวนการพุทธใหม่ในโลกปจั จุบัน ๔

๑.๓ แนวคดิ เกยี่ วกับขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปัจจุบัน ๖

๑.๔ กจิ กรรมสาคัญของขบวนการพุทธใหม่ได้ ๘

๑.๕ จดุ มุ่งหมายในการเผยแผ่ ๘

๑.๖ ผลกระทบทีเ่ กิดจากขบวนการพุทธใหมท่ ่ีมตี ่อพระพุทธศาสนาดัง้ เดิม ๘

๑.๗ ประโยชนต์ ่อพระพุทธศาสนา ๙

๑.๘ สรปุ ท้ายบท ๙

คาถามประจาบท ๑๐

บทท่ี ๒ สานกั วดั หนองป่าพง ๑๓
แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๒ ๑๓
๒.๑ ความนา ๑๕
๒.๒ ประวัติหลวงพ่อชา สภุ ัทโท ๑๕
๒.๒.๑ ชวี ติ ปฐมวัย ๑๕
๒.๒.๒ การศกึ ษา ๑๕
๒.๓ ชวี ติ ในรม่ กาสาวพสั ตร์ ๑๕
๒.๓.๑ ออกปฏบิ ตั ิธรรม ๑๘
๒.๔ การเกิดข้นึ ของสานกั หนองปุาพง ๓๒
๒.๕ หนา้ ทก่ี ารงาน ๓๔

ง ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหม่ในโลกปัจจบุ นั
พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลกั ษณแ์ ละคาย่อ

๒.๖ การปกครองและนิกาย ๓๔
๒.๗ การปกครองคณะสงฆ์ ๓๖
๒.๘ คาสอนสาคญั ของสานกั หนองปาุ พง ๓๘
๓๙
๒.๘.๑ เทคนคิ และวธิ ีการสอน ๓๙
๒.๘.๑.๑ คติธรรมคาสอน ๔๑
๔๑
๒.๘.๒ วธิ กี ารสอนของหลวงพ่อชา ๔๑
๒.๘.๒.๑ สอนให้อย่กู บั ธรรมชาติ ๔๒
๒.๘.๒.๒ สอนใหอ้ ย่กู ับความเพียร ๔๓
๒.๘.๒.๓ ย่งิ อยาก ยง่ิ ไม่ได้ ๔๔
๒.๘.๒.๔ หมาบนกองขา้ วเปลือก ๔๔
๒.๘.๒.๕ ไม่ทุกข์ ก็ไม่เห็นทกุ ข์ ๔๔
๒.๘.๒.๖ ไมห่ า่ งครูอาจารย์ ๔๕
๒.๘.๒.๗ สอนธรรมภาษาอะไร ๔๖
๒.๘.๒.๘ ไก่กกไขท่ ัง้ วัน ไม่เห็นตรัสรู้ ๔๖
๒.๘.๒.๙ อย่านึกแต่วา่ เราทุกข์คนเดยี ว ๔๗
๒.๘.๒.๑๐ จงสอนใจตนเอง ๔๘
๒.๘.๒.๑๑ หยุดชว่ั มนั กด็ ี ๔๘
๒.๘.๒.๑๒ นอกเหตุเหนอื ผล ๕๐
๕๒
๒.๙ ขบวนการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาของสานักหนองปุาพง ๕๒
๒.๑๐ วิเคราะหอ์ งค์ความร้จู ากคาสอนสาคญั ของสานักหนองปาุ พง ๕๔
๒.๑๑ ผลกระทบตอ่ สังคม
๒.๑๒ สรุปทา้ ยบท ๕๗
คาถามประจาบท ๕๗
๕๙
บทท่ี ๓ สานกั สวนโมกขพลาราม ๕๙
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๓ ๕๙
๓.๑ บทนา ๖๑
๓.๒ ประวัติพทุ ธทาสภิกขุ หรอื พระธรรมโกศาจารย์ ๖๑
๓.๒.๑ ชีวติ ปฐมวัย
๓.๒.๒ การศกึ ษา
๓.๓ การเกดิ ข้ึนของสานักสวนโมกขพลาราม

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ่ นโลกปจั จุบัน จ
พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธบิ ายสญั ลักษณ์และคาย่อ

๓.๔ คาสอนสาคัญของสานกั สวนโมกขพลาราม ๖๒

๓.๔.๑ ธรรม ๙ ตา ๖๒

๓.๔.๑.๑ อนิจจตา ๖๓

๓.๔.๑.๑.๑ สันตตปิ ดิ บงั อนิจจลักษณะ ๖๔

๓.๔.๑.๑.๒ประโยชน์ของการเรียนรู้เรือ่ งอนิจจัง ๖๔

๓.๔.๑.๑.๓ คณุ คา่ ทางจริยธรรม ๖๕

๓.๔.๑.๒ ทุกขตา ๖๕

๓.๔.๑.๒.๑ อิรยิ าบถปิดบังทุกขลักษณะ ๖๗

๓.๔.๑.๒.๒ ประโยชน์ของการเรยี นรู้เรือ่ งทุกขัง ๖๗

๓.๔.๑.๒.๓ คุณคา่ ทางจริยธรรม ๖๗

๓.๔.๑.๓ อนัตตา ๖๗

๓.๔.๑.๓.๑ ฆนะปิดบังอนตั ตา ๗๘

๓.๔.๑.๓.๒ ประโยชนข์ องการเรียนรู้

เรือ่ งอนัตตา ๗๙

๓.๔.๑.๓.๓ คุณค่าทางจรยิ ธรรม ๗๙

๓.๔.๑.๔ อิทปั ปจั จยตา ๘๐

๓.๔.๑.๔.๑ ประโยชน์ของการเรียนรเู้ รื่อง

อิทปั ปัจจยตา ๘๔

๓.๔.๑.๔.๒ คณุ ค่าทางจริยธรรม ๘๔

๓.๔.๑.๕ สุญญตา ๘๔

๓.๔.๑.๕.๑ ลักษณะของสญุ ญตาตามทัศนะของ

พุทธทาสภกิ ขุ ๘๘

๓.๔.๑.๕.๒ ลักษณะของสุญญตาที่ประกอบดว้ ย

(พุทธทาสภิกขุ) ๙๐

๓.๔.๑.๕.๓ หลกั การปฏบิ ตั ิเพื่อเข้าถงึ สญุ ญตา

(พุทธทาสภิกข)ุ ๙๒

๓.๔.๑.๕.๔ สุญญตาสาหรับฆราวาส ๙๓

๓.๔.๑.๖ ธมั มัฏฐติ ตา ๙๕

๓.๔.๑.๖.๑ ประโยชนข์ องการเรยี นรู้

เรื่องธัมมัฏฐติ ตา ๙๕

ฉ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบนั
พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธบิ ายสญั ลกั ษณแ์ ละคาย่อ

๓.๔.๑.๗ ธมั มนยิ ามตา ๙๕
๓.๔.๑.๗.๑ ประโยชนข์ องการเรียนรู้
เรือ่ งธัมมนิยามตา ๙๖
๙๖
๓.๔.๑.๘ อตมั มยตา
๓.๔.๑.๘.๑ ประโยชนข์ องการเรยี นรู้ ๑๐๐
เรื่องอตมั มยตา ๑๐๐

๓.๔.๑.๙ ตถตา ๑๐๑
๓.๔.๑.๙.๑ ประโยชน์ของการเรียนรู้ ๑๐๑
เร่ืองตถตา ๑๐๑
๑๐๒
๓.๕ หลกั การดาเนินชีวติ ท่วั ไป ๑๐๒
๓.๕.๑ หนา้ ทข่ี องชีวติ ๑๐๓
๓.๕.๒ ปฏบิ ตั บิ ชู า ๑๐๔
๓.๕.๓ งานเร่งดว่ น ๑๐๔
๓.๕.๔ ชีวติ ทางสังคม ๑๐๖
๓.๕.๕ ยอดส่งิ ปรารถนาในชวี ิต ๑๐๗
๓.๕.๖ กระแสชวี ิตคนตาดขี ค่ี นตาบอด ๑๐๘
๓.๕.๗ คาเปรียบชวี ิต ๑๐๘
๑๐๙
๓.๖ ดา้ นการศาสนา ๑๑๐
๓.๖.๑ ศลี ธรรม กฎหมาย และศาสนา ๑๑๑
๑๑๕
๓.๗ ดา้ นการเมือง ๑๑๖
๓.๗.๑ บทนยิ าม “การเมอื ง” ตามแนวทางศาสนา ๑๑๗
๓.๗.๒ วพิ ากษก์ ารเมือง ๑๑๘
๓.๗.๓ ความหมาย ธัมมิกสงั คมนยิ ม ๑๒๓
๑๒๓
๓.๘ ดา้ นการศกึ ษา ๑๒๓
๓.๘.๑ ข้อผดิ พลาดของวงการศกึ ษาปัจจบุ นั
๓.๘.๒ สิง่ ท่พี ระพุทธเจ้าสอน
๓.๘.๓ วธิ ีเรยี น วิธีสอน

๓.๙ ปณิธาน ๓ ประการ
ประการที่ ๑ ความพยายามเข้าถึงหัวใจศาสนาของตน
ประการที่ ๒ การทาความเข้าใจระหวา่ งศาสนา

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ่ นโลกปจั จุบนั ช
พระมหามิตร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลักษณ์และคาย่อ

ประการที่ ๓ การนาโลกออกมาเสียจากวตั ถนุ ยิ ม ๑๒๓
๓.๑๐ ขบวนการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาของสานักสวนโมกขพลาราม ๑๒๔
๓.๑๑ วเิ คราะห์องคค์ วามรู้จากคาสอนสาคญั ของสานัก
๑๒๔
สวนโมกขพลาราม ๑๒๗
๓.๑๒ ผลกระทบต่อสังคม ๑๒๘
๓.๑๓ สรปุ ทา้ ยบท ๑๓๐
คาถามประจาบท

บทที่ ๔ อนาคาริก ธรรมปาละ ๑๓๓
แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๔ ๑๓๓
๔.๑ ความนา ๑๓๕
๔.๒ ประวตั ิ ทา่ นอนาคาริก ธรรมปาละ ๑๓๕
๔.๒.๑ ชวี ิตปฐมวัย ๑๓๕
๔.๒.๒ ออกบรรพชา ๑๓๗
๔.๓ การฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนา ๑๓๗
๔.๔ การก่อตง้ั สมาคมมหาโพธิ์ ๑๔๒
๔.๕ พระมหาเจดยี พ์ ุทธคยากับพราหมณม์ หันต์ ๑๔๔
๔.๖ อปุ สรรคจากพวกมหันต์ ๑๔๔
๔.๗ ผลงาน ๑๔๘
๔.๗.๑ พระบรมสารีริกธาตุที่พระมลู คนั ธกุฎหี ลังใหม่ ๑๔๘
๔.๗.๒ ตราประจาประเทศ ๑๔๙
๔.๗.๓ ธงชาติ ๑๕๐
๔.๘ บั้นปลายชวี ิต อุปสมบทเป็นพระภกิ ษุ ๑๕๑
๔.๙ ขบวนการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ๑๕๑
๔.๑๐ วเิ คราะห์องค์ความรู้เกดิ จากขบวนการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ๑๕๒
๔.๑๑ ผลกระทบต่อสังคม ๑๕๓

๔.๑๒ สรุปท้ายบท ๑๕๔
คาถามประจาบท ๑๕๕

ซ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ่ นโลกปัจจบุ นั
พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลกั ษณแ์ ละคายอ่

บทที่ ๕ ดร.อัมเบดการ์ มหาบรุ ษุ ผนู้ าพทุ ธศาสนากลบั คนื ส่มู าตุภูมิ ๑๕๙
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๕ ๑๕๙
๕.๑ ความนา ๑๖๑
๕.๒ ดร.อมั เบดการ์ มหาบรุ ษุ ผ้นู าพุทธศาสนากลบั คืนสู่มาตุภูมิ ๑๖๑
๕.๒.๑ การศกึ ษา ๑๖๒
๕.๓ การเคลือ่ นไหวภาคสงั คม ๑๖๕
๕.๔ ประกาศความเสมอภาค ๑๘๒
๕.๕ ขบวนการฟน้ื ฟูพระพทุ ธศาสนา ๑๙๔
๕.๕.๑ กิจกรรมสาคัญของ ดร.อัมเบดการ์ ๑๙๕
๕.๖ แนวคดิ และปรชั ญา ของ ดร.อมั เบดการ์ ๒๐๔
๕.๗ ดร.อมั เบดการ์ ถงึ แกก่ รรม ๒๐๕
๕.๘ วิเคราะห์องคค์ วามรู้เกิดจากขบวนการฟนื้ ฟูพระพุทธศาสนา ๒๐๖
๕.๙ ผลกระทบต่อสงั คม ๒๐๗
๕.๑๐ สรปุ ทา้ ยบท ๒๐๙
คาถามประจาบท ๒๑๑

บทที่ ๖ สถานภาพและบทบาทของดาไลลามะ ๒๑๕
แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ ๖ ๒๑๕
๖.๑ ความนา ๒๑๗
๖.๒ ประวตั ิศาสตรท์ เิ บต ๒๑๗
๖.๒.๑ ยุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์ ๒๒๓
๖.๒.๒ สมัยพระเจา้ ซรอนซันกัมโป ๒๒๔
๖.๒.๓ สมัยพระเจา้ ตรมิ งั โลนซนั (๑๑๙๓ – ๑๒๒๐) ๒๒๕
๖.๒.๔ สมัยพระเจา้ ตรดิ ู ซงซัน (๑๒๒๐ – ๑๒๔๗) ๒๒๕
๖.๒.๕ สมัยพระเจา้ ตริเด ซุกซนั (๑๒๔๗ – ๑๒๙๗) ๒๒๖
๖.๒.๖ สมยั พระเจา้ ตรสิ อง เดซันใน พ.ศ. ๑๒๙๘-๑๓๔๐ ๒๒๗
๖.๒.๗ สมัยพระเจา้ ตรเิ ด ซองซนั (๑๓๔๒ – ๑๓๕๘) ๒๒๗
๖.๓ ประวัตอิ งค์ดาไลลามะ ๒๒๙
๖.๓.๑ ดาไล ลามะ องค์ ๑๔ (องคป์ ัจจบุ นั ) ๒๓๐
๖.๓.๑.๑ การศึกษา ๒๓๐
๖.๔ พระพุทธศาสนาสายทิเบตนิกายวชั รยาน ๒๓๓

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหม่ในโลกปัจจบุ นั ฌ
พระมหามิตร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลกั ษณแ์ ละคาย่อ

๖.๔.๑ นกิ ายหมวกแดง ๒๓๓
๖.๔.๒ นิกายหมวกขาวนิกาย (นกิ ายคากวิ ) ๒๓๕
๖.๔.๓ นิกายหมวกดา ๒๓๕
๖.๔.๔ นกิ ายหมวกเหลือง ๒๓๖
๖.๕ ดาไล ลามะ กบั การปกครอง ๒๓๗
๖.๖ คาสอนสาคญั ของดาไล ลามะขององค์ดาไล ลามะที่ ๑๔ ๒๓๘
๖.๖.๑ ศิลปะแห่งความสุข ๒๓๘
๖.๖.๒ การฝึกจติ ใหเ้ ปน็ สุข ๒๔๒
๖.๖.๓ การสรา้ งความพอใจจากภายใน ๒๔๖
๖.๖.๔ คุณค่าของความเมตตากรุณา ๒๕๑
๖.๖.๕ การเผชิญหนา้ กบั ความทุกข์ ๒๕๕
๖.๖.๖ การเปลีย่ นมุมมองต่อสง่ิ ต่างๆ ๒๕๙
๖.๖.๗ การสร้างความเปล่ยี นแปลงท่ีดงี าม ๒๖๓
๖.๖.๘ วธิ กี ารจดั การกบั ความโกรธและความเกลียด ๒๖๘
๖.๖.๙ ศิลปะแห่งการสรา้ งความสุขในทท่ี างาน ๒๗๒
๖.๖.๑๐ การเผชิญหน้ากับความเบ่อื หนา่ ยและความทา้ ทาย ๒๗๖
๖.๖.๑๑ ทางานอย่างไรใหป้ ระสบความสาเรจ็ ๒๘๐
๖.๖.๑๒ การลดความวิตกกงั วล ๒๘๔
๖.๖.๑๓ การสรา้ งความเช่อื ม่ันและความนบั ถอื ตนเอง ๒๘๘
๖.๖.๑๔ การฝึกจิตในชวี ิตประจาวนั ๒๙๒
๖.๖.๑๕ การสร้างโพธิจติ ๒๙๗
๖.๖.๑๖ ประโยชนข์ องจิตท่สี งบละเอยี ดอ่อน ๓๐๑
๖.๖.๑๗ การสร้างสนั ตภิ าพที่แท้จริง ๓๐๕
๖.๖.๑๘ การแกป้ ัญหาความรุนแรง ๓๐๙
๖.๖.๑๙ ธรรมชาติของจิต ๓๑๒
๖.๖.๒๐ การเตรียมตัวตายอย่างสงบ ๓๑๖
๖.๗ วเิ คราะห์องค์ความรู้จากบทบาทของดาไล ลามะ ๓๒๑
๖.๘ ผลกระทบต่อสังคมและศาสนา ๓๒๒
๖.๙ สรุปทา้ ยบท ๓๒๓
คาถามประจาบท ๓๒๕

ญ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ่ นโลกปัจจบุ ัน
พระมหามิตร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลกั ษณแ์ ละคายอ่

บทที่ ๗ สตั ยา นารายัน โกเอ็นกา้ (S.N.Goenka with Meditation) ๓๒๗
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๗ ๓๒๗
๗.๑ ความนา ๓๒๙
๗.๒ ประวตั แิ ละการดาเนินชวี ติ ของสัตยา นารายัน โกเอน็ ก้า
(S.N. Goenka) ๓๒๙
๗.๓ ปณิธานชีวิตในการเปิดสอนวิปัสสนากรรมฐาน ๓๓๑
๗.๔ หลกั และวิธสี อนวปิ สั สนา ๓๓๒
๗.๕ การปฏบิ ัตวิ ปิ ัสสนากรรมฐาน ๓๓๕
๗.๕.๑ คาแนะนาในการเขา้ อบรม ๓๓๖
๗.๕.๒ คาแนะนาเกีย่ วกบั วิธีปฏบิ ตั ิ ๓๓๖
๗.๕.๓ วิปัสสนาน้ันมใิ ช่เป็น ๓๓๗
๗.๕.๔ หากแต่วปิ ัสสนาเป็น ๓๓๗
๗.๕.๕ วนิ ัยในการปฏบิ ตั ิ ๓๓๗
๗.๕.๖ ผปู้ วุ ยดว้ ยโรคทางจติ ประสาท ๓๓๘
๗.๕.๗ กฎระเบยี บ ๓๓๙
๗.๕.๘ ศีล ๓๓๙
๗.๕.๙ การยอมรับอาจารย์ผู้สอนและวิธีการปฏบิ ัติ ๓๓๙
๗.๕.๑๐ พิธีกรรมและวัตรทางศาสนาตลอดจนวธิ กี ารปฏิบัติ ๓๔๐
๗.๕.๑๑ การเข้าพบอาจารย์ผสู้ อน ๓๔๐
๗.๕.๑๒ การรกั ษาความเงยี บ ๓๔๐
๗.๕.๑๓ คสู่ มรส ๓๔๑
๗.๕.๑๔ การสัมผสั ทางกาย ๓๔๑
๗.๕.๑๕ โยคะและการออกกาลังกาย ๓๔๑
๗.๕.๑๖ เครอื่ งราง ลูกประคา หรอื อน่ื ๆ ๓๔๑
๗.๕.๑๗ ของมึนเมาและยา ๓๔๑
๗.๕.๑๘ สบู บหุ รี่ ๓๔๑
๗.๕.๑๙ อาหาร ๓๔๒
๗.๕.๒๐ เสือ้ ผ้า ๓๔๒
๗.๕.๒๑ ความสะอาด ๓๔๒
๗.๕.๒๒ การตดิ ต่อภายนอก ๓๔๒

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน ฎ
พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธบิ ายสญั ลกั ษณ์และคาย่อ

๗.๕.๒๓ ดนตรี อ่านหนังสอื และเขียนหนงั สอื ๓๔๒
๗.๕.๒๔ เคร่อื งบนั ทึกเทปและกลอ้ งถ่ายรูป ๓๔๒
๗.๕.๒๕ นาฬกิ าปลุก นาฬิกาข้อมือทีม่ ีเสยี งบอกเวลา ๓๔๒
๗.๕.๒๖ ทนุ ทรัพย์ในการดาเนินงาน ๓๔๓
๗.๖ วิเคราะห์องค์ความรู้จากแนวคิดเรื่องศาสนา
ของสตั ยา นารายัน โกเอ็นก้า ๓๔๔
๗.๗ ผลกระทบต่อสังคม ๓๔๕
๗.๘ สรุปท้ายบท ๓๔๕
คาถามประจาบท ๓๔๖

บทท่ี ๘ องคค์ วามรูแ้ ละของขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจบุ นั ๓๔๙

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี ๘ ๓๔๙

๘.๑ บทนา ๓๕๓

๘.๒ สานกั หนองปาุ พง (หลวงพอ่ ชา) ๓๕๓

๘.๒.๑ ขบวนการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาของสานักหนองปุาพง ๓๕๓

๘.๒.๒ วเิ คราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากคาสอนของสานักหนองปุาพง ๓๕๓

๘.๒.๓ ผลกระทบต่อสงั คม ๓๕๔

๘.๒.๔ สรุปทา้ ยบท ๓๕๔

๘.๓ สานกั สวนโมกขพลาราม (พทุ ธทาสภิกขุ) ๓๕๖

๘.๓.๑ ขบวนการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา

ของสานักสวนโมกขพลาราม ๓๕๖

๘.๓.๒ วิเคราะหอ์ งค์ความรู้จากคาสอนสาคญั

ของสานักสวนโมกขพลาราม ๓๕๖

๘.๓.๓ ผลกระทบต่อสังคม ๓๕๙

๘.๓.๔ สรุปท้ายบท ๓๖๐

๘.๔ อนาคารกิ ธรรมปาละ ๓๖๑

๘.๔.๑ ขบวนการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ๓๖๑

๘.๔.๒ วิเคราะห์องค์ความรู้เกิดจากขบวนการฟ้นื ฟู

พระพทุ ธศาสนา ๓๖๒

๘.๔.๓ ผลกระทบต่อสังคม ๓๖๒

๘.๔.๔ สรปุ ทา้ ยบท ๓๖๓

ฏ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหม่ในโลกปัจจุบัน
พระมหามิตร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลกั ษณแ์ ละคายอ่

๘.๕ ดร. อัมเบดการ์ ๓๖๔
๘.๕.๑ ขบวนการฟื้นฟูพระพทุ ธศาสนา ๓๖๔
๘.๕.๒ วเิ คราะหอ์ งคค์ วามรู้เกดิ จากขบวนการฟน้ื ฟู
พระพุทธศาสนา ๓๖๕
๘.๕.๓ ผลกระทบต่อสังคม ๓๖๖
๘.๕.๔ สรุปทา้ ยบท ๓๖๖
๓๖๗
๘.๖ องคด์ าไลลามะ ๓๖๗
๘.๖.๑ วิเคราะห์องค์ความรู้จากบทบาทของดาไล ลามะ ๓๖๘
๘.๖.๒ ผลกระทบต่อสงั คมและศาสนา ๓๖๘
๘.๖.๓ สรุปทา้ ยบท ๓๖๙

๘.๗ สัตยา นารายนั โกเอน็ ก้า (S.N. Goenka) ๓๖๙
๘.๗.๑ วเิ คราะห์องค์ความรู้จากแนวคิดเรอ่ื งศาสนาของ ๓๗๐
S.N. Goenka ๓๗๐
๘.๗.๒ ผลกระทบต่อสังคมและศาสนา
๘.๗.๓ สรปุ ท้ายบท ๓๗๓

บรรณานุกรม

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ่ นโลกปจั จุบัน ฐ
พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธบิ ายสญั ลักษณ์และคายอ่

คาอธิบายสัญลกั ษณ์และคาย่อ

ก. การใชอ้ ักษรย่อ

อักษรย่อชื่อคัมภีร์ในเอกสารคาสอนฉบับน้ี ใช้อ้างอิงจากคัมภีร์พระไตรปิฎก
ภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก ๒๕๐๐ และฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระ
เกียรติพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช ๒๕๓๙ การอ้างอิงพระไตรปิฎก
ฉบบั ภาษาไทย ใช้ระบุชอื่ คมั ภีร์ และระบุถึง เล่ม/ข้อ/หน้า ตามลาดับ เช่น ม. อุปริ. (ไทย)
๑๔/๗๗/๗๘. หมายถึง การอ้างอิงนั้นระบุถึงคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกขุททกนิกาย ขุททก
ปาฐะ เล่มท่ี ๑๔ ข้อที่ ๗๗ หนา้ ท่ี ๗๘.

เล่มที่ คายอ่ พระสตุ ตันตปฎิ ก ขุททกปาฐะ
๒๕ ขุ.ขุ (ไทย) ชื่อคมั ภรี ์
= สตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย
(ภาษาไทย)

ม.อปุ ร.ิ (ไทย) อรรถกถาพระสตุ ตันตปิฎก
(ภาษาไทย) = มชั ฌิมนกิ าย อุปริปณั ณาสก์

ฑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ่ นโลกปัจจุบนั
พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
คานา/สารบญั /คาอธิบายสญั ลักษณ์และคายอ่

บทที่ ๑

ขบวนการพทุ ธใหมในโลกปจ จุบัน

New-Buddhist Movements in Contemporary World

แผนบรหิ ารการสอนประจาํ บทที่ ๑
หวั เรอื่ ง

๑.๑ ความนาํ
๑.๒ ความหมายและขอบเขตของขบวนการพทุ ธใหมในโลกปจ จุบนั
๑.๓ แนวคิดเกยี่ วกบั ขบวนการพทุ ธใหมในโลกปจจบุ ัน
๑.๔ กจิ กรรมสาํ คญั ของขบวนการพุทธใหมไ ด
๑.๕ จดุ มงุ หมายในการเผยแผ
๑.๖ ผลกระทบทเ่ี กิดจากขบวนการพุทธใหมท ่มี ีตอ พระพทุ ธศาสนาดัง้ เดิม
๑.๗ ประโยชนตอพระพุทธศาสนา
๑.๘ สรุปทายบท

คาํ ถามประจาํ บท
วัตถปุ ระสงคประจาํ บท

เมือ่ ศึกษาบทท่ี ๑ จบแลว ผูเ รยี นสามารถ
๑. อธิบายถงึ ความหมายและขอบเขตของขบวนการพทุ ธใหมใ นโลกปจ จบุ ัน
๒. อธิบายแนวคดิ เก่ียวกบั ขบวนการพทุ ธใหมในโลกปจจบุ ัน
๓. อธิบายกจิ กรรมสําคัญของขบวนการพุทธใหมได
๔. อธบิ ายจดุ มงุ หมายในการเผยแผ
๕. อธบิ ายผลกระทบทเ่ี กดิ จากขบวนการพุทธใหมท่ีมีตอพระพุทธศาสนาด้งั เดมิ
๖. อธิบายประโยชนตอพระพุทธศาสนา

๒ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบนั
บทท่ี ๑ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

กจิ กรรมการเรียนการสอน

๑. วิธีสอนใชวิธีการสอนแบบบรรยาย (Lecture) ประกอบกับการสอบถาม/
สัมภาษณเปน รายบคุ คล

๒. กระบวนการเรยี นการสอน
๑) ใหผูเรียนเขียนใบงานหัวขอ “ความหมายและขอบเขตของขบวนการ

พทุ ธใหมในโลกปจจบุ นั ”
๒) ใหผ ูเรียนดวู ดี ีทศั นเกีย่ วกบั ขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจ จบุ นั โดยสังเขป
๓) อาจารยบรรยายสรปุ เชื่อมโยงเขา สูบทเรียนและบรรยายตามเนือ้ หา
๔) ใหผ ูเรียนทาํ บททดสอบหลงั เรียน

สือ่ การเรียนการสอน

๑. เอกสารคําสอนวชิ าขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจ จุบนั
๒. Power Point Presentation
๓. วีดที ศั นเกี่ยวกบั ขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจ จุบนั
๔. สื่อตามแหลงเรยี นรูตางๆ เชน ภาพประกอบในหองสมุด

การวดั และประเมนิ ผล

๑. สังเกตจากความต้ังใจเรียนของผูเรียน/การมีสวนในการแสดงความคิดเห็น/
และการมสี ว นรวมกบั กจิ กรรมในช้นั เรยี น

๒. พิจารณาจากการเขียน/สงใบงานที่ตรงเวลาและตรงกับเน้ือหาสาระ/การ
แสดงความคิดเหน็ ทป่ี รากฏในใบงาน

๓. พิจารณาใหค ะแนนจากการทําบททดสอบหลังเรยี น

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั ๓

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน

๑.๑ ความนํา

ขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบัน (Neo-Buddhist Movements in
Contemporary World) เปนการดําเนินกิจกรรมทางพุทธศาสนาใหเคล่ือนไหวไปไดและ
แสดงบทบาทที่เหมาะสมในโลกยุคโลกาภิวัตนและทุนนิยมขบวนการพุทธศาสนาปรากฏการณ
และมีปฏิกิริยาตออิทธิพลจากความสมัยใหม อาทิการตีความคัมภีรตามตัวอักษร เพราะผูนํา
ขบวนการดังกลาวจํานวนไมนอยไดรับการศึกษาแบบสมัยใหม ในปจจุบันบทบาทของ
ขบวนการพุทธศาสนาไดกลายเปนปรากฏการณทางพุทธศาสนาท่ีเดนชัดที่สุดโลกาภิวัตนก็มี
สวนไมนอยในการสรางความเตบิ ใหญใหแกข บวนการพุทธพุทธศาสนา

กระแสโลกาภิวัตนไมเพียงชวยใหเปนกระตุนใหกับการขยายขอบเขตของ
ขบวนการพุทธใหมเทานั้น หากยังมีสวนอยางมากในการทําใหขบวนการศาสนาอ่ืน ๆ ท่ีมี
ความเขมขน รุนแรงนอยกวาเติบโตขึ้นท่ัวโลกดวย ท่ีเปนเชนน้ีก็เพราะกระแสโลกาภิวัตน
ไมเพียงแตจะทําใหคานิยมแบบโลกิยวิสัย เสรีนิยม และบริโภคนิยมแพรขยายไปทั่วโลก
อยางไมเคยปรากฏมากอน จนบางคนเรียกกระบวนการนี้วาการทําใหวัฒนธรรมเปนหนึ่ง
เดียวกัน (Homogenization of culture) หรือเรียกอยางเจาะจงวา Mcdonaldization
หากยังกอใหเกิดชองวางระหวางคนรวยกับคนจนมากข้ึน รวมทั้งสรางแรงบีบค้ันทาง
เศรษฐกิจเพิ่มขึ้น แกประชาชน จํานวนมาก ซ่ึงไดกลาวแลววา เปนปจจัยประการหน่ึงท่ี
ผลกั ดนั ใหผ คู นจํานวนไมนอยหันไปพ่ึงพุทธศาสนา หรือทําใหพุทธศาสนากลับมามีบทบาท
ตอผคู นมากขึน้

ปรากฏการณทางพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตนมิไดจํากัดแคการขยายตัว
เทานั้น เมื่อมองการเติบโตทางดานพระพุทธศาสนาท่ัวโลก จะพบวาเปนอีกขบวนการหนึ่ง
ซ่ึงเติบโตอยางรวดเร็ว ในชวงหลายทศวรรษท่ีผานมาก็คือ ขบวนการพุทธศาสนาใหม
ในขณะที่ขบวนการการเปล่ียนแปลงไปสูโลกยุกตใหมเพ่ือเปนการปรับตัวใหเขากับ
สถานการณหรือสภาพแวดลอม ก็ยังมีขบวนการเครงจารีตกลับไปหาอดีตและยึดติดกับ
คณุ คา และความเชื่อ(ท่ีเช่ือวา)เปนของพุทธศาสนาด้ังเดิม และสวนใหญยังอิงอยูกับสถาบัน
ทางพุทธศาสนาท่ีมีอยูเดิมอยูน้ัน ขบวนการพุทธศาสนาใหมมีแนวทางตรงกันขาม คือแยก
จากสถาบันดง้ั เดมิ มีอตั ลักษณเปนของตนเอง โดยไมอิงหรือสนใจกับอัตลักษณเกาของพุทธ
ศาสนาดั้งเดิม แมขบวนการพุทธศาสนาใหมเปนอันมากจะยังถือวา เปนสวนหน่ึงของพุทธ
ศาสนาหลักของโลกเชน พุทธศาสนามหายาน พระพุทธศาสนาเถรวาท แตก็มีขบวนการ
พุทธศาสนาใหมซ่ึงเกิดเปนสํานักปฏิบัติธรรม มีท้ังอุบาสก อุบาสิกาเปนผูกอตั้งไมใชนอย

๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบัน
บทที่ ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

ท่ีต้ังตัวเปนพุทธศาสนาใหม อยางเชน สํานักวัดหนองปาพง (หลวงพอชา สุภทฺโท)๑ สํานัก
สวนโมกขพลาราม (หลวงพอพุทธทาสภิกขุ)๒ ก็เกิดขึ้นดวยเหตุแหงการวิกฤตทางการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมซ่ึงเห็นไดจากคําสอนที่ท้ังสองสํานักไดนําเสนอตอสังคมในขณะน้ัน สวน
นอกประเทศ ไดแก เอ็มเบ็ดการ (B.R.Ambedkar)๓ ผูตอสูเพื่อใหยกเลิกระบบวรรณะใน
สังคมอินเดีย โดยชักชวนชนชั้นตํ่าตอย (ศูทร/อธิศูทร)ใหหันมานับถือพระพุทธศาสนาใน
ฐานะเปนศาสนาท่ีใหความเสมอภาคทางสังคม อนาคาริก ธรรมปาละ๔ เรียกรอง
พระพุทธศาสนากับคืนมาตุภูมิและทานโกเอ็นกา” (สัตยา นารายัน โกเอ็นกา (S.N.
Goenka)๕ ผูนําวิปสสนากับคืนดินแดนมหาภารตเพ่ือสุขภาพจิตที่ดีของประชาชน องค
ดาไล ลามะ๖ผูน ํารัฐบาลผลัดถิ่นของทิเบตที่พยายามตอสูเพื่อเอกราชของทิเบตบนฐานของ
อหิงสธรรม (non-violence) และเปนผูเสนอแนวคิดเรื่องความรับผิดชอบระดับสากล
(universal responsibility) บนฐานของจิตใจท่ีมุงหวังประโยชนสุขเพื่อผูอ่ืน (altruistic
mind)ไมวาจะเปนนอกประเทศหรือในประเทศท่ีนํามาศึกษานี้ลวนแลวแตเปนสํานักท่ีมี
บทบาทในการเผยแผพระพุทธศาสนาที่เปนทีน่ ยิ มในปจจุบัน

๑.๒ ความหมายและขอบเขตของขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจจบุ ัน

พระพุทธศาสนาแนวใหมเรียกวา Neo-Buddhism เปนพระพุทธศาสนาท่ีเกิด
ขึ้นมาเพ่ือดําเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาใหเคล่ือนไหวไปไดและแสดงบทบาทที่

เหมาะสมในโลกยุคโลกา ภิวัตนและทุนนิยม หลายคนคงแปลกใจวา พระพุทธศาสนา
มหายานทําไมจึงทําอะไรไดหลากหลาย ทําใหพระพุทธศาสนามหายานถูกมองไปในสอง
ประเด็นท่ีสุดข้ัว กลาวคือ ข้ัวหน่ึงถูกมองไปในแงบวกวา มีความคลองตัวในการเผยแผ

๑ เสถียรพงษ วรรณปก, สองอาจารยผูย่ิงใหญ, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร, ๒๕๔๙),
หนา , ๑๙๐.

๒ เร่ืองเดยี วกัน, หนา ๒๐๗.
๓ ดร. เอ็มเบ็ดการ, อางใน วิรัช ถิรพันธูเมธี, รัฐบุรุษจากสลัม, (กรุงเทพมหานคร: มหา
จฬุ าลงกรณราชวทิ ชยาลยั , ๒๕๓๓), หนา, ๒๗๔-๒๗๕.
๔ พระราชธรรมมุนี (เกียรติ สุกิตฺติ), จดหมายเลาเร่ืองอนาคาริกธรรมปาละ,
(กรุงเทพมหานคร:มปป, ๒๕๔๓), หนา ๓๔.
๕ William Hart, The Art of Living, (vipassana meditation bYs.n.goenka), (india:
Minal Enterprises, 1988), p. 60.
๖ My Land & My People, memoirs of His Holiness, The Dalai Lama, (New
Delhi: SrishtiPublishers& Distributors, 1999), p. 58.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๕

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน

พระพุทธศาสนา อีกข้ัวหนึ่งก็ถูกมองวาทําอะไรเกินภาวะของพระสงฆในพระพุทธศาสนา
เม่ือมองใหดีๆ แทจริงลักษณะท่ีพระพุทธศาสนาแสดงออกในยุคนี้ไมใชมหายานอยางที่คิด
กัน แตเปนพระพุทธศาสนาแนวใหมของคนยุคใหมนี้ มันเริ่มจากกระบวนการปรับตัวของ
คนในสังคมท่ีมีกระบวนทัศนเปล่ียนแปลงไป พอดีเกิดข้ึนในประเทศท่ีนับถือ
พระพุทธศาสนามหายานเทาน้ันจึงถูกมองวาเปนมหายานไปทั้งหมด อันท่ีจริงไมวา
พระพุทธศาสนาเถรวาทหรือมหายานก็สามารถทําได เพราะไมไดเก่ียวกับพระพุทธศาสนา
แตเก่ียวกับคนในสังคมท่ีรับเอาแนวคิดของการบริหารจัดการยุคทุนนิยมมาปรับใชกับ
ศาสนา๗

ขบวนการเนนการปฏิบัติท่ีเปนรูปธรรม ตามความเช่ือวาจะทําใหชีวิตมีความ
เจริญรุงเรือง มีการผูกโยงเขากับความเช่ือลัทธิวิญญาณนิยม พระศรีอาริยเมตไตย พระยา
นาค ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ วัตถุมงคล ซึ่งเปนความเช่ือที่ควบคูมากับสังคมไทยเปนเวลาชานาน
นอกจากนั้นยังเนนใหมีการผูกโยงเขากับชีวิตประจําวันกับโลกวิญญาณ...คาดวานาจะเปนสิ่ง
หนึ่งท่ีจะทําใหสานุศิษยมีความเคารพเลื่อมใสมากย่ิงขึ้น และยอมรับแนวคิดใหมนี้ไดอยาง
สนทิ ใจ ถงึ แมว าลทั ธิวิญญาณนิยมใชจะทาํ ใหค นไมตองการเหตุผลมาอธิบายปรากฏการณตาง
ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ๘

สรุปไดวา ผลของการเกิดข้ึนของเกิดขึ้นของกระบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบัน
เปนการสรางความทันสมัยของการเรียนการสอน แตเม่ือเราพิจารณาถึงกระบวนการการจัด
กิจกรรมการเผยแผพระพุทธศาสนาน้ันมักจะตามมาดวยการเผยแพรแนวคิดแบบโลกิยวิสัย
(secularism) ซ่ึงมักจะสวนทางกับแนวคิดทางศาสนาดังเดิม ซึ่งจะมีผลดีและผลเสียตามมา
จนตองลุกข้ึนสูกันทางดานหลักการและเหตุผล จนดูเหมือนตอตานความทันสมัยของ
พระพทุ ธศาสนา พรอมท้ังรูปแบบและวิธีการเผยแผพระพุทธศาสนาของนักเผยแผ มีรูปแบบ
ทหี่ ลากหลาย ท่ีใชกลวิธีในการนําเสนอธรรมและใชพุทธวิธีในการเผย ซ่ึงการเผยแผนั้นจะใช
เทคนิคอันเปนเฉพาะของแตล ะบคุ คล โดยมีวตั ถปุ ระสงคเพื่อนําหลักธรรมท่ีแทจริงเปนเคร่ือง

๗ Valuedealshopper.com/?subid=201810-6388 (วันท่ี ๒๑ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๗)
๘ พระใบฎีกาสุพจน ตปสีโล (เกษนคร), ขบวนการพุทธใหมในประเทศไทย (Neo-
Buddhist Movements in Thailand), สถาบันวิจัยพุทธศาสตร, (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย ประจาํ ป ๒๕๕๒).

๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน
บทที่ ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั พระมหามิตร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร.

รองรบั ดังนนั้ ขบวนพุทธใหมท่ีเกิดข้ึนก็เพ่ือสนองความตองการของสังคมเพื่อใหคนเรามีความ
เสถียรภาพในการดาํ เนินชีวิต

๑.๓ แนวคิดเกยี่ วกับขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจ จบุ นั

แนวคิดเกี่ยวกับขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบันไมเคยมีมากอนในประวัติศาสตร
พระพทุ ธศาสนา ท้ังในนิกายเถรวาท และมหายาน หากแตเปนรูปของพระพุทธศาสนาแนว
ใหมทเี่ กดิ ขน้ึ เพื่อตอบสนองปญหาของสังคมโลกยคุ ใหม

ขบวนการพุทธใหมเปนรูปแบบที่ที่คอนขางจะเดินสวนทางกับแนวทางของนิกาย
พระพทุ ธศาสนาทีม่ ีอยูเ ดิม ทง้ั นิกายเถรวาท และมหายานซึง่ มีการเพ่ิมเนื้อหาใหม ๆ เขามา
ในพระพุทธศาสนาท่ีมีอยูเดิม กลาวคือเปนกระบวนทัศนของพุทธแนวใหม หรืออาจจะ
บัญญตั ชิ ่ือใหมเ พือ่ ใหม ีความสอดคลองกบั สงั คมปจ จุบัน

ขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบัน (New-Buddhist Movements in
Contemporary World) คือ ลักษณะสําคัญความทาทายในสังคมปจจุบัน ท้ังทางความหมาย
และลกั ษณะการดําเนินการ ขบวนการพุทธใหมน้ีเปนการทํางานเพ่ือสังคมเปนสวนมาก ซ่ึงได
นําหลกั คําสอนทางพระพทุ ธศาสนามาประยุกตใชเพื่อแกปญหาสังคม จุดรวมสําคัญอยางหนึ่ง
ของกลมุ ชาวพทุ ธใหมที่ทํางานเพื่อสังคม คือ การถือเอาปญหาความทุกขของชาวโลกเปนแรง
กระตุนใหเกิดความอยากท่ีจะทํางานเพื่อสังคม รวมท้ังการตั้งปณิธานแบบพระโพธิสัตวของ
มหายาน ท่ีจะคุมครองรักษาสรรพสัตวโรเบิรต อี.กอสส (Robert E.Goss)๙ มองวา
พระพุทธศาสนารูปแบบนี้เปนพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมและเปนขบวนการสากลท่ีอยูเหนือ
การสังกัดนิกาย โดยมุงตอบสนองปญหาของโลกทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เปน
รูปแบบของขบวนการปลดปลอยความทุกขของมนุษยท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และการเมือง โดยประยุกตใชหลักคําสอนเร่ืองศีล สมาธิ ปญญามาและความเมตตากรุณามา
อธิบายใหเห็นถึงหลักปฏิจจสมุปบาท และศูนยตา เพ่ือแกปญหาสังคม รวมท้ังการใชวิธีการ
ปฏิบัติกรรมฐาน ยุทธศาสตรดานการศึกษา เมตตากรุณาเชิงสังคม และการสรางเครือขาย
ระดับรากหญาเพื่อเขาไปมีสวนรวมกับสังคมอยางกระตือรือรน อยางเชน องคทะไล ลามะ

๙ Robert E. Goss, "NaropaInstitute : The Engaged Academy," Engaged
Buddhism in the West, ed.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั ๗

พระมหามติ ร ฐติ ปฺโญ,ผศ.ดร. บทที่ ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน

ผูนําเรียกรองเพื่อเอกราชของทิเบตจากการยึดครองของจีน ไดเสนอแนวคิด“ความ
รับผิดชอบสากล” (universal responsibility) และแนวคิดแบบแบบ “จิตใจที่หวัง
ประโยชนเพื่อผูอ่ืน” (altruistic mind) ซึ่งตั้งอยูบนฐานของความรัก ความเมตตากรุณา การ
ใหอภัย และการอิงอาศัยกันของส่ิงท้ังหลาย ทานกลาววา “ทุก ๆ ชาติก็อิงอาศัยชาติอ่ืน
แมแตชาติที่มีขอพิพาทกันก็ตองรวมมือในการใชทรัพยากรของโลก มนุษยท้ังหลายทั้งใน
ชุมชนโลกและครอบครัว จําตองสามัคคีกันและรวมมือกันบนฐานของการเคารพซึ่งกันและกัน
แนวคิดเร่ืองการทําประโยชนเพื่อผูอื่น (altruism) จึงเปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งยวด” ความ
รับผิดชอบสากล (universal responsibility) และจิตใจท่ีหวังประโยชนเพ่ือผูอื่นถือวาเปน
รากฐานสําคัญของแนวคิดของบขวนการพุทธใหมและรากฐานท่ีลึกยิ่งไปกวานั้น คือ ความ
ตระหนกั รูในความเกย่ี วโยงสัมพันธกันของสิ่งท้ังหลาย ซึ่งในระบบความสัมพันธนี้ จักรวาล
ถูกมองในฐานะเปนองครวมแหงอินทรียภาพ สรรพสิ่งลวนอิงอาศัยกันและเปนเหตุปจจัย
แกกันและกัน (อิทัปปจจยตา) ไมวาจะเปนการคิด การพูด และการกระทํา รวมท้ังสรรพ
สตั วทัง้ หลาย ลว นแตรวมอยูในขา ยใยแหง ชวี ิตนท้ี ้ังสิ้น (the web of life)

อยางไรก็ตาม เม่ือมองโดยภาพรวมแลว ขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบันอาจ
แบงลกั ษณะโดยรวมเปน ๓ ประการ ดังน้ี

๑) ความตระหนักรู (Awareness) หมายถงึ มนุษยท กุ คนตอ งมสี ตติ ระหนักรูส่ิงที่
เกิดข้ึนภายในตัวเอง สิ่งแวดลอมท่ีอยูรอบตัว รวมทั้งตระหนักรูในสภาพความทุกขของหมู
สตั วใ นสังคมและโลก ถือวาเปนพ้นื ฐานสาํ คญั ท่จี ะนาํ ไปสูก ารทํากิจกรรมทางสงั คม

๒) สรางสถาบันรูปแบบใหม สรางสังคมในรูปแบบใหม แตไมมีการไมแบงแยก
เปนฝกฝาย (non-dualism) การพึ่งพาอาศัยกัน (independence) และความรูสึกเห็นอก
เห็นใจกัน

๓) การลงมือกระทํา (Imperative of Action) หมายถึง สังคมใน
พระพุทธศาสนาไมใชเรื่องใหม หากแตมีรากฐานด้ังเดิมมาต้ังแตสมัยพุทธกาล เพียงแต
จาํ ตอ งมีการปรับรปู แบบใหส อดคลอ งกับความเปลยี่ นแปลงของสังคมแตละยุคสมัยเทาน้นั

๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบนั
บทท่ี ๑ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

๑.๔ กจิ กรรมสําคญั ของขบวนการพทุ ธใหม

สาํ นักของขบวนการพุทธใหมม ักมีการจัดต้ังมูลนิธิพิพักธรรม ทําการเผยแผธรรม
หลกั ธรรมคาํ สอนทางพระพุทธศาสนาสรางกิจกรรมที่นาสนใจใหกับประชาชนเขามาศึกษา
และปฏิบัติธรรม สรางสถานที่ใหเปนท่ีรื่นรมย เจริญตา สบายใจแกผูพบเห็น มีเขต
พุทธาวาส และ สงั ฆาวาส อยา งเปน สดั สวน เปนตน

๑.๕ จุดมงุ หมายในการเผยแผ

ขบวนการพระพุทธศาสนาแนวใหมที่เกิดข้ึนเพื่อตอบสนองปญหาสังคมโลกยุค
ใหม รวมทั้งพยายามท่ีจะตีความพุทธธรรมใหครอบคลุมปญหาใหมๆ ท่ีเต็มไปดวยความ
สลับซับซอนในสังคมปจจุบันไมวาจะเปนปญหาความทุกขของปจเจกบุคคลหรือปญหาใน
ระดับสังคมสามารถดําเนินควบคูกันไปได อีกความหมายหน่ึง ขบวนการพุทธใหมในโลก
ปจจุบัน มักจะมองวาการสอนแบบจารีตท่ีเนนการแกปญหาของปจเจกบุคคล ไมเพียงพอ
ตอการตอบปญหาสังคมยุคใหม จึงไดพยายามนําหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาเขาไปมี
สวนรวมในการแกปญหาสังคม เชน ปญหาความอยุติธรรมทางสังคม ปญหาส่ิงแวดลอม
ปญหาความรุนแรง ปญหาทางเศรษฐกิจ ปญหาทางการเมืองเปน ตน

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาแนวใหมทเี่ กดิ ขน้ึ ในสังคมโลกปจจุบัน ทั้งในสังคมไทย
และตา งประเทศโดยมกั จะอธบิ ายหลักธรรมใหงายกับการเขาใจ เนนการศึกษาใหเห็นความ
เชื่อมโยงระหวางบริบททางสังคมกับการเกิดขึ้นของขบวนการพระพุทธศาสนาแนวใหม
จัดรปู แบบการในการเผยแผท ่ีชัดเจน มกี ารจัดต้ังองคกรใหเกิดความเชื่อมั่นและความมั่นคง
ในการเผยแผน และมีการตีความคําสอนแนวใหมเพ่อื ใหงา ยตอความเขาใจ

๑.๖ ผลกระทบตอพระพทุ ธศาสนาดั้งเดิม

ขบวนการพุทธใหมที่มีผลกระทบตอสังคม เรียกกันวา การปฏิรูปในหลายๆ
ลักษณะดว ยกนั ลักษณะเดนและสาํ คญั ดงั น้ี

๑. การวจิ ารณความเชอื่ และการปฏิบตั ิพทุ ธศาสนาในประเทศท่ีนับถือพุทธศาสนา
๒. การอธบิ ายธรรมแบบเนนหลักธรรมสามารถนําเขามาปรับใชในสังคมแบบใหม
๓. การศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบพระพทุ ธศาสนาดั้งเดิมกับพทุ ธศาสนาสมัยใหม
๔. การเกย่ี วของกับศาสนาอ่ืนๆ
๕. เปน ธรรมิกสงั คมนิยม

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั ๙

พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน

๑.๗ ประโยชนตอพระพุทธศาสนา

๑. สามารถขยายพระพทุ ธศาสนาไปสนู านาๆ ประเทศไดอยา งรวดเรว็
๒. สามารถขายองคกรหรือเคลื่อนไหวหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาไดอยาง
คลอ ยตัว
๓. ประชาชนสามารถเขา ใจหลกั คําสอนทางพระพุทธศาสนางา ย
๔. ประชาชนสามารถนาํ หลกั คําสอนไปประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจําวันใหสอดคลอง
กบั สถานการณป จจุบัน

๑.๘ สรุปทา ยบท

ขบวนการพุทธใหมเปนขบวนการที่พยายามขยายพระพุทธศาสนาไปสูนานาๆ
ประเทศ หรือการเคล่ือนไหวหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาเพ่ีอใหปรากฏแกสังคมโลก
ดวยการนําหลักคําสอนมาตีความแบบใหมเพื่อใหงายตอความเขาใจ ประชาชนที่มีความ
สนใจก็สามารถนําหลักคําสอนไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางสอดคลองกับ
สถานการณป จ จุบนั ได

๑๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน
บทที่ ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

คาํ ถามประจาํ บท

ก. แบบประเมนิ แบบปรนยั ๕ ขอ

๑. ขอ กลา วถงึ ขบวนการพทุ ธใหมไดถ ูกตอ ง
ก. การดําเนินกจิ กรรมแบบประยตุ
ข. เคล่อื นไหวทางพทุ ธศาสนา
ค. การแสดงบทบาททางศาสนา
ง. การเขียนคมั ภรี ข้นึ มาใหม

๒. ขอ ใด คือ ความหมายของขบวนการพทุ ธใหมในโลกปจ จบุ ัน
ก. การอธิบายหลักธรรมทีท่ นั สมยั
ข. การสรางความทนั สมัยขององคกร
ค. การประยตุ หลกั ธรรมที่ทนั สมัย
ง. การนําธรรมเขา ไปแกป ญหาสงั คม

๓. ขอใดกลา วถึงแนวคิดของขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจจบุ นั ไดถ กู ตอง
ก. การอธบิ ายหลักธรรมทท่ี ันสมัย
ข. การสรา งความทนั สมัยขององคกร
ค. การประยุตหลักธรรมทที่ นั สมัย
ง. การนาํ ธรรมเขาไปแกปญหาสงั คม

๔. ขอ ใดไมใ ชก จิ กรรมของขบวนการพทุ ธใหม
ก. การจดั ตงั้ มูลนธิ ิพพิ กั ธรรม
ข. ทําการเผยแผธ รรมหลักธรรมคาํ สอน
ค. สรางกิจกรรมใหมทนี่ า สนใจ
ง. สรางสถานทใ่ี หเ ปน ทเ่ี พลดิ เพลนิ และบันเทงิ ตา

๕. จดุ มุงหมายของขบวนการพทุ ธศาสนาในโลกปจ จุบัน คือ ขอใด
ก. อธิบายคําสอนใหตอบสนองปญหาสังคมยคุ ใหม
ข. สรา งกิจกรรมใหเปนท่นี ิยม
ค. อธิบายพทุ ธธรรมใหครอบคลมุ ปญหาใหม
ง. อธบิ ายหลกั ธรรมคําสอนใหเปน ท่ีนา สนใจ

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั ๑๑

พระมหามิตร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร. บทท่ี ๑ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั

ข. แบบฝกหัดแบบอตั นยั

๑. จงอธิบายถึงความสําคญั ของขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจจบุ นั มาดู
๒. จงอธิบายปรากฏการณทางพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตนวามีผลดีและ
ผลเสียพระพุทธศาสนาแบบดั่งเดิมหรอื ไมอ ยา งไร
๓. จงวิเคราะหแนวคิดเก่ียวกับขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบันวาเคยมีมากอน
ในประวัติศาสตรพ ระพุทธศาสนาทงั้ ในนกิ ายเถรวาท และมหายานหรอื ไม
๔. จงวิเคราะหผลการเกิดข้ึนของขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบันวามีผล
อยา งไร
๕. วิเคราะหกิจกรรมสําคัญของขบวนการพุทธใหมวาไดชวยขยาย
พระพุทธศาสนาแบบด่ังเดมิ หรอื ไมอยางไร
๖. อธิบายถึงจุดมงุ หมายในการเผยแผแบบใหมน ้ีวา จะมผี ลอยา งไรในอนาคต

๑๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบัน
บทท่ี ๑ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ นั พระมหามติ ร ฐติ ปโฺ ญ,ผศ.ดร.

ขบวนการพุทธใหมในโลกปจจุบัน (New-Buddhist Movements in
Contemporary World) เปนการดําเนินกิจกรรมทางพุทธศาสนาใหเกิดความเคล่ือนไหวและ
เปนขบวนการแสดงบทบาทที่ของผูสาวกท่ีปฏิบัติตาม แตการเคล่ือนไหวนั้นตองมีความ
เหมาะสมกับสภาพท่ีไดเปลี่ยนแปลอยางซับซอน ขบวนการเคลื่อนไหวของพุทธศาสนาได
ปรากฏการณไปทั่วโลกในปจจุบัน ดวยปรากฏการณนี้จึงไดสรางปฏิกิริยาตออิทธิพลตอคนใน
ยุคใหม อาทิการตีความคัมภีรตามตัวอักษร การตีความบทบาทของพระสงฆ เปนตน
ขบวนการดังกลาวมักจะไดรับการศึกษาแบบสมัยใหมของพุทธบริษัท ปจจุบันบทบาท
ขบวนการของพุทธบริษัทไดกลายเปน ปรากฏการณทางพุทธศาสนาที่เดนชัดขบวนการเหลา
ไดส รางความเตบิ ใหญใหกบั พุทธพุทธศาสนาไปทัว่ โลก

บทท่ี ๒
สาํ นกั วดั หนองปา พง

แผนบรหิ ารการสอนประจาํ บทท่ี ๒
หวั เรอื่ ง

๒.๑ ความนาํ
๒.๒ ประวัติหลวงพอชา สุภัทโท
๒.๓ ชีวิตในรมกาสาวพัสตร
๒.๔ การเกดิ ขึ้นของสาํ นกั หนองปา พง
๒.๕ หนา ทีก่ ารงาน
๒.๖ การปกครองและนิกาย
๒.๗ การปกครองคณะสงฆ
๒.๘ คําสอนสําคัญของสํานักหนองปาพง
๒.๙ ขบวนการเผยแผพ ระพุทธศาสนาของสํานกั หนองปา พง
๒.๑๐ วเิ คราะหองคความรูจากคําสอนสาํ คญั ของสํานกั หนองปา พง
๒.๑๑ ผลกระบทตอ สังคม
๒.๑๒ สรุปทา ยบท

คาํ ถามประจาํ บท
วตั ถปุ ระสงคป ระจําบท

เมอ่ื ศกึ ษาบทที่ ๒ จบแลว ผเู รยี นสามารถ
๑. อธบิ ายถงึ การตง้ั สาํ นักวัดหนองปาพง
๒. อธิบายถึงประวัตหิ ลวงพอชา สภุ ทั โท
๓. อธบิ ายถงึ การใชช ีวติ ในรม กาสาวพัสตรข องพอชา สภุ ัทโท
๔. เขา ใจถึงการเกิดข้ึนของสําหนักหนองปาพง
๕. เขาใจถึงการทําหนา ท่กี ารงานของพอ ชา สุภัทโท
๖. เขา ใจถึงแนวคดิ เรอ่ื งการปกครองและนิกายของพอ ชา สุภัทโท
๗. เขา ใจถึงการปกครองคณะสงฆข องพอชา สุภทั โท

๑๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานกั วัดหนองปา พง

๘. เขา ใจถงึ หลักคาํ สอนสําคัญของสาํ นกั หนองปา พง
๙. สามารถวิเคราะหอ งคความรูจากคําสอนสําคัญของสํานักหนองปา พงได
๑๐. เขาใจถึงผลกระบททเี่ กดิ จากคาํ สอนที่มตี อ สงั คม

กจิ กรรมการเรียนการสอน

๑. วิธีสอน ใชวิธีการสอนแบบบรรยาย (Lecture) ประกอบกับการสอบถาม/
สมั ภาษณเ ปน รายบุคคล

๒. กระบวนการเรยี นการสอน
๑) ใหผูเรียนเขียนใบงานหัวขอ “องคความรูและผลกระบทที่เกิดจากคํา

สอนของสํานักหนองปา พงท่มี ตี อ สังคม”
๒) ใหผูเรียนดวู ดี ีทัศนเ ก่ียวกบั สํานกั หนองปา พง
๓) อาจารยบ รรยายสรปุ เช่อื มโยงเขา สบู ทเรียนและบรรยายตามเนอ้ื หา
๔) ใหผูเ รียนทําบททดสอบหลงั เรยี น

สอ่ื การเรยี นการสอน

๑. เอกสารคําสอนวิชาขบวนการพุทธใหมใ นโลกปจ จุบนั
๒. Power Point Presentation
๓. วดี ีทศั นเ กี่ยวกบั ขบวนการดําเนนิ กิจกรรมของสํานกั หนองปา พง
๔. สอื่ ตามแหลง เรียนรตู างๆ เชน ภาพประกอบในหอ งสมดุ

การวดั และประเมินผล

๑. สังเกตจากความต้ังใจเรียนของผูเรียน/การมีสวนในการแสดงความคิดเห็น/
และการมสี วนรว มกับกิจกรรมในช้ันเรยี น

๒. พิจารณาจากการเขียน/สงใบงานท่ีตรงเวลาและตรงกับเน้ือหาสาระ/การ
แสดงความคิดเหน็ ท่ีปรากฏในใบงาน

๓. พจิ ารณาใหค ะแนนจากการทาํ บททดสอบหลงั เรียน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั ๑๕
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นกั วัดหนองปา พง

๒.๑ ความนํา

หลวงพอชาถือวาเปนพระนักปราชญและเปนพระนักปฏิบัติท่ีสําคัญรูปหน่ึงทาง
พระพุทธศาสนาในประเทศไทยเปนพระสงฆผูมีบทบาททั้งดานการปฏิบัติและการเผยแผ
พุทธธรรมทานมีจริยาวัตรเปนท่ีนาเลื่อมใสและศรัทธาเปนผูมีความเสียสละ ทุมเท มีใจรัก
มุงมั่นในการสืบทอดพระพุทธศาสนา เปนผูมีจิตเมตตา ทํางานดวยความเสียสละปรารถนา
ประโยชนสุขแกผูรับธรรมะที่ทานแสดงจึงเปนธรรมท่ีบริสุทธิ์ไมมีความเคลือบแฝง มีแต
ความจริงทพ่ี สิ ูจนไ ด

การเผยแผพระพุทธศาสนาน้ันทานนอกจากประกาศในประเทศไทยแลวยังได
บริหารจัดการใหมีการประกาศธรรมและเผยแผพระพุทธศาสนาไปท่ัวโลกดังเห็นไดจากศิษ
ยานุศิษยของทานท่ีเปนชาวตางชาติ และการกอตอตั้งสํานักปฏิบัติท่ีตางแดนเปนจํานวน
หลายแหง ไดสรางความสพั พันธก บั พุทธศาสนิกชนทัว่ โลก น้ีเปนอีกมิติหนึ่งที่เปนขบวนการ
พุทธศาสนาแนวใหมที่สรางความสนใจกับคนท่ัวโลก จึงเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่งที่ควรนํา
แนวคิด และวธิ ีการการเผยแผของทานมาศึกษาใหกับคนรุนใหมไดเขาใจถึงแนวคิด คําสอน
กิจกรรมและแนวทางปฏบิ ัติของพระโพธิญาณเถร ใหล ะเอียดตอไป

๒.๒ ประวัติหลวงพอ ชา สุภัทโท

๒.๒.๑ ชวี ติ ปฐมวัย
ชา ชวงโชติ เปนลูกอีสานโดยกําเนิด ทานเกิดที่จังหวัดอุบลราชธานี ในหมูบาน
บานจิกกอ หมูที่ ๙ ต. ธาตุ อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี บิดาชื่อ นายมา มารดาชื่อ
นางพมิ พ ชวงโชติมพี ่ีนอ งรว มบดิ ามารดาเดียวกัน ๑๐ คน ทานเกิดวันศุกร ที่ ๑๗ มิถุนายน
๒๔๖๑ แรม ๗ ค่ํา เดือน ๗ ปมะเมียทานเปนบุตรคนที่ ๕ ของนายมา และนางพิมพ ชวง
โชติ
๒.๒.๒ การศึกษา
เรียนชั้นประถมศึกษาท่ีโรงเรียนบานกอ ต.ธาตุ อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี
จนเมื่อจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ก็ไดลาออกจากโรงเรียนเพราะมีความสนใจในศาสนา
และมคี วามตั้งใจท่จี ะบวช จงึ ไดข ออนญุ าตจากบิดามารดาและทานก็เหน็ ดีดว ย

๒.๓ ชวี ติ ในรมกาสาวพัสตร

เม่ือบิดามารไดใหความเห็นตรงกันแลวจึงไดนําเด็กชายชาไปฝากกับเจาอาวาส
เพ่ือเรียนรูระเบียบการบรรพชา ซึ่งในขณะน้ันอายุ ๑๓ ป เม่ือโยมบิดาไดนําไปฝากกับทาน

๑๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน
พระมหามิตร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นกั วัดหนองปาพง

เจาอาวาส และไดรับการฝก หดั อบรมใหรูระเบียบการบรรพชาดีแลว จึงอนุญาตใหบรรพชา
เปนสามเณรเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๔๗๔ โดยมีพระครูวิจิตรธรรมภาษี (พวง) อดีตเจา
อาวาสวัดมณีวนาราม เปนพระอุปชฌาย เม่ือบรรพชาเปนสามเณรแลว ก็ไดทองทําวัตร
สวดมนต เรียนหนังสือพื้นเมือง(ตัวธรรม) และไดศึกษานักธรรมชั้นตรี อยูปฏิบัติครูบา
อาจารยเปนเวลา ๓ พรรษา เนื่องจากมีความจําเปนบางอยางจึงไดลาสิกขาออกไปทํางาน
ชว ยบดิ ามารดาตามความสามารถของตน ต้ังอยูในโอวาทของบิดามารดามีความเคารพบูชา
ในพระคุณของทา น พยายามประพฤติตนเปนลูกทดี่ ขี องทา นเสมอมา

แตด วยใจที่ใฝในการศึกษาธรรมะอยเู สมอจึงมีความคิดท่ีอยากจะบวชเปนพระให
ได เมื่ออายุครบ ๒๑ ป ก็ไดขออนุญาตบิดามารดาเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาบิดา
มารดาอนญุ าตเพราะกท็ า นเหลานน้ั ก็มศี รทั ธาในพระพุทธศาสนาอยูแลว จึงไดนํามาฝากตัว
ไวท วี่ ดั กอ ใน (ปจจุบันเปน ทธี่ รณสี งฆ)

หลังน้ันทานก็ไดอุปสมบทในพระพุทธศาสนา เม่ือวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.
๒๔๘๒ เวลา ๑๓.๕๕ น. ท่ีพัทธสีมา วัดกอใน ต.ธาตุ อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี โดยมี
พระครอู ินทรสารคณุ เปน พระอุปช ฌาย, พระครวู ริ ุฬสุตการ เปนพระกรรมวาจาจารย และ
พระอธิการสอน เปนพระอนุสาวนาจารยจากนั้นก็ไดจําพรรษาอยูที่วัดกอนอก ๒ พรรษา
ซึ่งมีความต้ังใจในการศึกษาปริยัติธรรมทั้งจากตําราและจากครูอาจารยจนสามารถสอบ
นักธรรมชั้นตรีได๑

เมื่อสอบนักธรรมตรีไดแลวก็คิดท่ีจะออกไปศึกษาในตางถิ่น ดวยแรงจูงใจจาก
ภาษิตโบราณวา “บออกจากบาน บฮูฮอมทางเทียว บเฮียนวิชาหอนสิมีความฮู” จาก
ภาษิตที่ยกข้ึนในขางบนน้ียังสามารถวิเคราะหวาการศึกษาในสมัยกอนอาจจะเพราะ
อาจารยในสํานักยังขาดความชํานาญในการสอน จึงต้ังใจจะไปแสวงหาความรูตางถ่ินก็ได
ซึ่งจะเห็นจากการทุมเทใหการศึกษาท้ังนักธรรมและบาลีของทานโดยผานสํานักตางๆ
มากมาย

ป พ.ศ. ๒๔๘๒ จึงไดยายจากวัดกอนอกไปศึกษาปริยัติธรรมที่วัดสวนสวรรค อ.
พิบูลมังสาหาร จ. อุบลราชธานี และอยูท่ีนี่ ๑ พรรษา และไดพิจารณาเห็นวา เรามาอยูท่ีน่ี
เพอื่ ศกึ ษาก็ดี พอสมควรแตย งั ไมเ ปน ทพี่ อใจนกั ไดท ราบขาววา ทางสํานัก ตางอําเภอมีการ
สอนดีอยูหลายแหงซึ่งมีมากท้ังคุณภาพและ ปริมาณ จึงชวนเพื่อนลาทานเจาอาวาสแจง
ความประสงคใ หทา น ทราบ

๑ เสถยี รพงษวรรณปก, สองอาจารยผยู ่งิ ใหญ, (กรงุ เทพมหานคร: ธรรมสาร, ๒๕๔๙), หนา
๑๙๐.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน ๑๗
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สาํ นักวัดหนองปา พง

ป พ.ศ. ๒๔๘๕ เดินทางจาก อ. พิบูลมังสาหาร มุงสูสํานักเรียนวัดหนองหลัก ต.
เหลาบก อ.มวงสามสิบ จ. อุบลราชธานี ไดพักอาศัยอยูกับทานพระครูอรรคธรรมวิจารณ
ไดถามจากเพื่อนบรรพชติ ก็ทราบวา ทานสอนดมี ีครูสอนหลายรปู มีพระภกิ ษุ สามเณรหลาย
รูปที่เรียนอยูสํานัก แตในระยะที่ทานไปอยูนั้นเปนฤดูแลง อาหารการฉัน รูสึกจะอด เพ่ือน
ทีไ่ ปดวยกนั ไมช อบจึงพดู รบเรา อยากจะพาไปอยูสํานักอ่ืน ทานกับเพ่ือนๆ ก็ตกลงกันวาถา
ไปอยูแลวเกิดไมพอใจหรือไมถูกใจแลวจะกลับมาอยูท่ีหนองหลักอีก จึงไดเดินทางไปอยูกับ
ทานมหาแจง วัดเค็งใหญ ต. เค็งใหญ อ. อํานาจเจริญ จ. อุบลราชธานี ไดอยูจําพรรษา
ศึกษานักธรรมชั้นโทและบาลีไวยากรณ แตตามความรูสึกเทาท่ีสังเกตเห็นวาทานมิไดทํา
การสอนเต็มท่ี ดูเหมือนจะถอยหลังไปดวยซํ้า ต้ังใจไววาเมื่อสอบนักธรรมเสร็จ ไดเวลา
สมควรก็จะลาทานมหาแจงกลับไปอยูที่วัดหนองหลักเมื่อสอบแลว และผลการสอบตอน
ปลายปปรากฏวาสอบนกั ธรรมช้ันโทได

ป พ.ศ. ๒๔๘๖ ยายจากวัดเค็งใหญ มาอยูกับหลวงพอ พระครูอรรคธรรม
วิจารณวดั หนองหลกั ต. เหลาบก อ.มวงสามสิบ จ. อุบลราชธานี ต้ังใจศึกษาท้ังนักธรรมชั้น
เอกและเรียนบาลีไวยากรณซํ้า ท่ีทําอยางน้ีก็เพราะพอใจในการสอนการเรียนในสํานักน้ี
มาก

ป พ.ศ. ๒๔๘๖ เปนปที่ทานเกิดความภูมิใจ สนใจในการศึกษา มุงหนาบากบั่น
ขยันเรียนอยางเต็มที่ อีกท้ังเปนปท่ีทานต้ังความหวังไววา ผลการสอบตอนปลายปออกมคง
พาใหไดรับความดีใจแตกาลเวลามันไมเปนไปตามความหวัง หลังจากออกพรรษา ปวารณา
และกาลกฐินผานไปขาวท่ีไมคาดคิดก็มาถึง นั้นหมายความวาทางบานสงขาวมาบอกวาโยม
บิดาปว ยหนกั ดว ยขาวนต้ี อ งทาํ ใหท า นตอ งกเ็ กิดความลังเลใจ หว งการศึกษาก็หวง หวงโยม
ผูเปนบิดากห็ ว ง แตความหวงผูบังเกิดเกลามีนํ้าหนักมากกวา ดวยเหตุผลวาโยมบิดาเปนผูมี
พระคุณอยางเหลือลน เรามีชีวิตและเปนอยูมาไดก็เพราะทาน สมควรท่ีเราจะแสดงความ
กตัญูใหปรากฏ เสียการศึกษายังมีเวลาเรียกกลับมาได แตส้ินบุญพอเราจะขอไดจากท่ี
ไหน...ความกตญั ูมพี ลังมารง้ั จติ ใจใหค ดิ กลบั ไปเย่ียมโยมพอเพอื่ พยาบาลรกั ษาทา นท้งั ๆ ท่ี
วันสอบนักธรรมก็ใกล เขามาทุกที แตยอมเสียสละถาหากโยมพอยังไมหายปวยและนึกถึง
คําสอนของพระพทุ ธองคท่ีทรงตรสั ไวว า ความกตัญูกตเวที เปนเครื่องหมายของคนดีดวย
ความสํานึกดังกลาว จึงไดเดินทางกลับบาน เมื่อถึงแลวก็ไดเขาเย่ียมดูอาการปวยทั้งๆ ที่ได
ชว ยกันพยาบาลรกั ษาจนสุดความสามารถ อาการของโยมผูเปนบิดาก็มีแตทรงกับทรุด เม่ือ
พิจารณาแลวก็จะเห็นวาชีวิตคนเราเม่ือถึงคราวที่จะวายชีวาแลว ชีวิตที่นอนชุดโซมนั้นก็

๑๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั
พระมหามติ ร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สํานกั วดั หนองปา พง

เหมือนตอไมท่ีตายแลว แมใครจะใหนํ้าใหปุยถูกตองตามหลัก วิชาการเกษตรสักเพียงใด ก็
ไมส ามารถทําใหมนั แตกหนอ เจรญิ งอกงามขน้ึ มาได๒

ป พ.ศ. ๒๔๘๗ โยมผูเปนบิดาก็ไดถึงแกความตาย หลังจากจัดการกับการ
ฌาปนกิจศพเรียบรอยทา นกเ็ ดนิ ทางกลบั สาํ นักวดั หนองหลกั เพ่ือตั้งใจศึกษาเลาเรียนตอไป
แตบางวันบางโอกาส ทําใหทานนึกถึงภาพของโยมบิดาที่นอนปวย รางซูบผอมออนเพลีย
นึกถงึ คาํ สั่งของโยมบดิ า และนกึ ถึงภาพทที่ านถงึ แกก รรมไปตอ หนา ย่งิ ทําใหเกดิ ความลดใจ
สงั เวชใจ ความรสู ึกเหลา นมี้ ันปรากฏเปนระยะๆ
ในขณะท่ีแปลหนังสือธรรมบทจบไปหลายเลม ไดทราบพุทธประวัติสาวกประวัติจาก
หนงั สอื เลมน้นั แลวมาพิจารณาดู การท่ีเราเรยี นอยูนคี้ รูก็พาแปลแตส่งิ ท่ีเรารู เราเหน็ มาแลว
เชน เรื่องตนไม ภูเขา ผูหญิง ผูชาย และสัตวตางๆ สัตวมีปกบาง ไมมีปกบาง สัตว มีเทา
บาง ซ่ึงลวนแตเรา ไดพบเห็นมาแลวเปนสวนมาก จิตใจก็รูสึกเกิดความเบื่อหนาย จึงคิดวา
มิใชทางพนทุกข พระพุทธองคคงจะไมมีพุทธประสงคใหบวชมาเพื่อเรียนอยางเดียว และ
เราก็ไดเรียนมาบางแลว จึงอยากจะศึกษาทางปฏิบัติดูบาง เพื่อจะไดทราบวามีความ
แตกตางกันเพียงใด แตยังมองไมเห็นครูบาอาจารยผูพอจะเปนท่ีพึ่งได จึงตัดสินใจจะกลับ
บาน

ป พ.ศ. ๒๔๘๘ ในระหวางฤดูแลง จงึ ไดปรึกษากบั พระถวัลย( สา) ญาณจารี เขา
กราบลาหลวงพอพระครูอรรคธรรมวิจารณ เดินทางกลับมาพักอยูวัดกอนอกตามเดิม และ
ในพรรษาน้ันก็ไดเปนครูชวยสอนนักธรรมใหทานอาจารยท่ีวัด จึงไดเห็นภิกษุสามเณรที่
เรียนโดยไมคอยเคารพในการเรียน ไมเอาใจใส เรียนพอเปนพิธี จึงทําใหเกิดความสังเวชใจ
มากขึน้ ตั้งใจวาออกพรรษาแลวเราจะตองแสวงหาครูบาอาจารย ดานวิปสสนาใหได เม่ือสง
นักเรียนเขาสอบและทานก็เขาสอบนักธรรมเอกดวย (ผลการสอบปรากฏวาสอบนักธรรม
เอกได)

๒.๓.๑ ออกปฏิบตั ธิ รรม
หลังจากสอบนักธรรมเสร็จแลวสระยะน้ันไดทราบขาววาทานอาจารยมั่น วัดป
หลอ อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี เปนผูสอนทางวิปสสนาธุระ จึงไดมุงหนาไดสูวัดของทาน
ทันที และไดฝากตวั เปนศษิ ยอ ยปู ฏิบัติทดลองดูได ๑๐ วันมีความรูสึกวายังไมใชทางตรงแท
ยังไมเปน ทีพ่ อใจในวิธีนน้ั จงึ กราบลาทา นกลับมาพกั อยวู ดั นอกอีก
ป พ.ศ. ๒๔๘๙ (พรรษาที่ ๘) ในระหวา งตน ป ไดชวนพระถวลั ยอ อกเดินธุดงคมุง
ไปสจู ังหวดั สระบุรีเปน เพ่ือนรวมเดินทาง ไดพักอยูตามปาตามเขาไปเรื่อยๆ จนกระท่ังไปถึง

๒ เรอื่ งเดยี วกัน, ๑๙๐.

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจบุ ัน ๑๙
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นักวัดหนองปาพง

เขตหมูบานยางคู ต.ยางคู จ.สระบุรีไดพักอยูที่นั่นนานพอสมควรพิจารณาเห็นวาสถานที่ยัง
ไมเ หมาะสมเทาใดนัก ท้ังครูบาอาจารยก็ยังไมด ี จงึ เดนิ ทางเขาสูเขตจงั หวัดลพบุรมี งุ สเู ขาวง
กฎ อันเปนสํานักของหลวงพอเภา แตก็นาเสียดายท่ีหลวงพอเภาทานมรณภาพเสียแลว
เหลอื แตอาจารยวรรณ ซ่ึงเปนลกู ศษิ ยข องหลวงพอเภาอยูดูแล สั่งสอนแทนทานเทาน้ัน แต
ก็ยังดีท่ีไดอาศัยศึกษาระเบียบขอปฏิบัติท่ีหลวงพอเภาทานวางไว และไดอานคติพจนที่
หลวงพอเขียนไวตามปากถ้ําและตามท่ีอยูอาศัยเพ่ือเตือนใจ ท้ังไดมีโอกาส ศึกษาพระวินัย
จนเปนท่ีเขาใจยิ่งข้ึน เปนเหตุใหมีการสังวรระวัง ไมกลาฝาฝนแมแตสิกขาบทเล็กๆนอยๆ
การศึกษาวินัยนั้นศึกษาจากหนังสือบางและไดรับคําแนะนําจากพระอาจารยผูชํานาญทั้ง
ปริยัติและปฏิบัติบาง ซ่ึงทานมาจากประเทศกัมพูชา ทานวาเขามาสอบทานพระไตรปฎก
ไทย ทานเลาใหฟงวา ที่แปลไวในหนังสือนวโกวาทน้ัน บางตอนยังผิดพลาด ทานอาจารย
รูปน้ันเกงทางวินัยมาก จําหนังสือบุพสิกขาไดแมนยําเหมือนกับเราจําปฏิสังขาโยฯ ทาน
บอกวาเม่ือเสร็จภารกิจในประเทศไทยแลวทานจะเดินทางไปประเทศพมา เพื่อศึกษาตอไป
ทานเปนพระธุดงคช อบอยตู ามปา นา สรรเสริญนํ้าใจทานอยูอยา งหนง่ึ คอื

วันหนงึ่ ทา นไดศึกษาวินัยกับทานอาจารยรูปนั้นหลายขอมีอยูขอหน่ึงซ่ึงทานบอก
คลาดเคลอื่ นไป ตามปกติเมื่อไดศึกษาวินัยและทํากิจวัตรแลว คร้ันถึงกลางคืนทานจะขึ้นไป
พักเดินจงกรม น่ังสมาธิอยูบนหลังเขา วันนั้นประมาณ ๔ ทุมกวาๆ ขณะที่กําลังเดินจงกรม
อยูไดยินเสียงก่ิงไมใบไมแหงดังกรอบแกรบ ใกลเขามาทุกทีทานเขาใจวาคงจะเปนงูหรือ
สัตว อยางอื่นออกหากิน แตพอเสียงนั้นดังใกลๆเขามา ทานจึงมองเห็นอาจารยเขมรรูปนั้น
ทานจึงถามวา ทานอาจารยมีธุระอะไรจึงไดมาดึกๆดื่นๆ ทานจึงตอบวา ผมบอกวินัยทาน
ผิดขอหนึ่ง ทานจึงเรียนวา ไมควรลําบากถึงเพียงน้ีเลย ไฟสองทางก็ไมมี เอาไวพรุงน้ีจึง
บอกผมใหมก ็ได ทา นตอบวา ไมไดๆ เมือ่ ผมบอกผิด ถาผมตายในคืนนี้ทานจําไปสอนคนอื่น
ผิดๆอีกก็จะเปนบาปเปนกรรมเปลาๆ เมื่อทานบอกเรียบรอยแลวก็กลับลงไป น้ําใจของ
ทานอาจารยรูปนั้นชางประเสริฐและมองเห็นประโยชนจริงๆ แมจะมีความผิดพลาด
เล็กนอยในการบอกสอนก็มิไดประมาท ไมรอใหขามวันขามคืน รีบแกไขทันทีทันใด จึงเปน
ตัวอยา งทีด่ แี กเราท้งั หลาย และนา สรรเสริญนํ้าใจของทานโดยแท

ขณะจําพรรษาอยูที่วัดเขาวงกฎ (พรรษาท่ี ๘ พบการเหตุการณแปลกๆ) วันหน่ึง
ขณะที่ข้ึนไปอยูบนหลังเขา หลังจากเดินจงกรมและนั่งสมาธิแลว ก็จะพักผอนตามปกติ
กอนจําวัตรจะตองสวดมนตไหวพระ แตวันนั้นเชื่อความบริสุทธิ์ของตนเอง จึงไมไดสวด
อะไร ขณะที่กําลังเคลิ้มจะหลับ ปรากฏวาเหมือน มีอะไรมารัดลําคอแนนเขาๆแทบหายใจ
ไมออก ไดแตนึกภาวนาพุทโธๆ เรื่อยไป เปนอยูนานพอสมควรอาการรัดคอน้ันจึงคอยๆ
คลายออก พอลืมตาไดแตตัวยังกระดิกไมได จึงภาวนาตอไป จนพอกระดิกตัวไดแตยังลุก

๒๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ นั
พระมหามิตร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานกั วดั หนองปาพง

ไมได เอามือลูบตามลําตัวนึกวามิใชตัวของเรา ภาวนาจนลุกนั่งไดแลว พอนั่งไดจึงเกิด
ความรูสึกวา เรื่องการถือมงคลต่ืนขาวแบบสีลัพพตปรามา ไมใชทางที่ถูกท่ีควรการปฏิบัติ
ธรรมตองเริ่มตนจากมีศีล บริสุทธ์ิเปนเหตุใหพิจารณาลงสูวาสัตวท้ังหลายมีกรรมเปนของๆ
ตนแนชัดลงไปโดยมิตองสงสัยนับตั้งแตน้ันมา ทานมีความระวังสํารวมดวยดี มิใหมีความ
บกพรอ งเกิดขนึ้ แมก ระทัง่ สง่ิ ของทไ่ี ดม าโดยไมบรสิ ทุ ธติ์ ามวินัย และปจจัย(เงินทอง) ทานก็
ละหมด และปฏญิ าณวาจะไมย อมรับต้ังแตว ันน้ันมาจนกระท่ังถึงทกุ วนั นี้

ในระหวางพรรษานั้นไดรับขาววา ทานพระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต เปนผูมี
คุณธรรมสูง ทง้ั ชาํ นาญดานวปิ สสนาธุระมปี ระชาชนเคารพเลื่อมใสมาก ทานมสี ํานกั อยทู ่ีวัด
ปาหนองผือนาใน อ.พรรณานิคมจ.กลนคร โดยมีโยมอินทรมรรคทายก เขาวงกฎเลาใหฟง
และแนะนําใหไ ปหา เพราะโยมอนิ ทรเคยปฏิบตั ิรับใชทานอาจารยมัน่ มาแลว

ป พ.ศ. ๒๔๙๐ เปน พรรษาท่ี ๙ จําพรรษาอยูที่วัดเขาวงกฎ เม่ือออกพรรษาแลว
จึงมาพิจารณาดูวา เราเอาลูกเขามาตกระกําลําบาก ขามภู ขามเขามา พอแมเขาจะวาเรา
ได (หมายถึง พระมหาถวัลย ญาณจารี ต้ังแตครั้งยังเปนพระสามัญ) และเห็นเขาสนใจทอง
หนงั สือ ควรจะสง เขาเขาเรียนหนังสือในกรุงเทพฯ จึงไดตกลงแยกทางกัน ใหพระถวัลยเขา
ไปเรียนปริยัติธรรมในกรุงเทพฯ สวนทานจะเดินทางไปหาทานพระอาจารยมั่น และมีพระ
มาดวยกัน ๔ รูป เปนพระชาวภาคกลาง ๒ รูป พากันเดินทางยอนกลับมาท่ีจังหวัดอุบลฯ
พักอยูท่ีวัดกอนอกชั่วคราว จึงพากันเดินธุดงคไปเรื่อยๆ จุดหมายปลายทางคือ สํานักทาน
พระอาจารยมั่น ออกเดินทางไปไดพอถึงคืนที่ ๑๐ จึงถึงพระธาตุพนม นมัสการพระธาตุ
พนมและพักอยูท่ีน่ันหน่ึงคืน แลวออกเดินทางไปอําเภอนาแกไปแวะนมัสการทานอาจารย
สอนที่ ภูคอ เพ่ือศึกษาขอปฏิบัติ แตเมื่อสังเกตพิจารณาดูแลวยังไมเปนที่พอใจนักไดพักอยู
ที่ภูคอสองคืนจึงเดินทางตอไปแยกกันเดินทาง ออกเปน ๒ กลุม กลุมที่เดินตรงนั้นมีหลวง
พอชาซ่ึงมีความต้ังใจวา กอนจะไปถึง ทานพระอาจารยมั่นควรจะแวะสนทนาธรรมและ
ศกึ ษาขอ ปฏิบัตจิ ากพระอาจารยตา งๆไปกอนเพอ่ื จะไดเ ปรียบเทียบเทยี บเคยี งกันดู

ทานทราบวา มพี ระอาจารยด า นวิปสสนาอยทู างทิศใดจงึ ไปนมัสการอยูเสมอ การ
กลับจากภูคอนีค้ ณะท่ีไปดวยกันไดรับความลําบากเหน็ดเหน่ือยมากซึ่งมีสามเณร ๑ รูป กับ
อุบาสก ๒ คน เห็นวาตนเองคงจะไปไมไหวจึงลากลับบานกอน ยังเหลือแตทานกับพระอีก
๒ รูป เดินทางตอไปโดยไมยอมเลิกลมความต้ังใจเดิมแมจะลําบากสักปานใดก็ตองอดทน
หลายวนั ตอมา จึงเดินทางถึงสาํ นักของทา นพระอาจารยม่ัน ภูริทตฺโต สํานัก หนองผือนาใน
อ.พรรณานิคม จ.กลนคร วันแรกพอ ยางเขาสูสํานักสมองดูลานวัดสะอาดสะอาน เห็น
กิริยามารยาทของเพ่ือนบรรพชิต ก็เปนที่นาเล่ือมใสและเกิดความพอใจมากกวา ที่ใดๆ ที่
เคยผานมา พอถึงตอนเย็นจึงไดเขาไปกราบนมัสการพรอมศิษยของทานและฟงธรรม

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๒๑
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นกั วัดหนองปาพง

รวมกัน ทานพระอาจารยได ซักถามเร่ืองราวตางๆ เชน เกี่ยวกับอายุ พรรษา และสํานักท่ี
เคยปฏิบัติมาแลว หลวงพอชาไดกราบเรียนวามาจากสํานักอาจารยเภา วัดเขาวงกฏ
จ. ลพบุรี พรอมกับเอาจดหมายที่โยมอินทรฝากมาถวาย ทานพระอาจารยม่ันไดพูดวา ดี...
ทานอาจารยเภาก็เปนพระแทองคหนึ่งในประเทศไทย ตอจากนั้น ทานก็เทศนใหฟงโดย
ปรารภ ถึงเร่ืองนิกายวา ไมตองสงสัยในนิกายทั้งสอง ซ่ึงเปนเรื่องท่ีหลวงพอสงสัยมากอน
น้ันแลว ตอไปทา นก็เทศน เร่ืองสลี นเิ ทส สมาธนิ ิเทส ปญ ญานิเทส ใหฟงจนเปนที่พอใจและ
หายสงสัย และทานไดอธิบายเรื่อง พละ ๕ อิทธิบาท ๔ ใหฟง ซึ่งขณะน้ัน ศิษยทุกคนฟง
ดวยความสนใจมีอาการอันสงบเสงี่ยมทั้งๆ ที่ทานและเพื่อนเดินทางมาดวยความเหน็ด
เหนื่อยตลอดวัน พอไดมาฟงเทศนทานพระอาจารยมั่นแลว รูสึกวาความเม่ือยลาไดหายไป
จิตใจลงสูสมาธิธรรมดวยความสงบมีความรูสึกวาตัวลอยอยูบนอานะ นั่งฟงอยูจนกระท่ัง
เทย่ี งจึงเลิกประชุม

คืนที่ ๒ ไดเขานมัสการฟงเทศนอีก ทานพระอาจารยมั่นไดแสดงปกิณกะธรรม
ตางๆ จนจิตเราหายความสงสัยมคี วามรูสกึ ซ่งึ เปน การยากทจี่ ะบอกคนอืน่ ใหเ ขาใจได

ในวันท่ี ๓ เน่ืองจากความจําเปนบางอยาง จึงไดกราบลาทานพระอาจารยม่ัน
เดินทางลงมาทางอําเภอนาแก และไดแยกทางกับพระบุญมี (พระมหาบุญมี) คงเหลือแต
พระเลื่อมพอไดเปนเพื่อนเดินทาง ไมวาทานจะเดินจงกรมหรือน่ังสมาธิอยู ณ ที่ใดๆ ก็ตาม
ปรากฏวาทานพระอาจารยมั่นคอยติดตามตักเตือนอยูตลอดเวลา พอเดินทางมาถึงวัดโปรง
ครองซึ่งเปน สาํ นกั ของพระอาจารยค าํ ดี เหน็ พระทานไปอยปู าชาเกิดความสนใจมาก เพราะ
มาคิดวาเม่ือเปนนักปฏิบัติจะตองแสวงหาความสงบ เชน ปาชา ซ่ึงเราไมเคยอยูมากอนเลย
ถาไมอ ยคู งไมร วู ามคี วามเหมาะสมเพียงใดเม่ือคนอื่นเขาอยูไดเราก็ตองอยูไดจึงตัดสินใจ จะ
ไปอยปู า ชา และชวนเอาพอ ขาวแกวไปเปน เพื่อนดวย

เมื่ออยูปาชาใกลวัดทานอาจารยคําดีได ๗ วัน ก็มีอาการเปนไข เลยพักรักษาตัว
อยูกับอาจารยคําดีประมาณ ๑๐ วัน จึงยายลงมาทางบานตองพักอยูที่ปาละเมาะบานตอง
ไดเวลานานพอสมควร จึงไดเดินทางกลับไปหาทานอาจารยกินรีพักอยูท่ีนั่นหลายวัน จึงได
กราบลาทานอาจารยกินรี ที่วัดปาหนองฮีอ. ปลาปาก จ. นครพนม แตแลวทานไดกลับมา
จําพรรษาอยูกับทานอาจารยกินรี เพื่อพึ่งบารมีในการปฏิบัติธรรมกับทาน และไดรับความ
สงเคราะหจากทานอาจารยเปนอยางดี ทานอาจารยเห็นไตรจีวรเกาขาด จะใชตอไปไมได
ทานจึงไดกรุณาตัดผาฝายพื้นเมืองใหจนครบไตรจีวร หลวงพอชาคิดวา ผาน้ีจะมีเนื้อหยาบ
หรือละเอียดไมสําคัญ สําคัญอยูท่ีใชไดทนทานก็เปนพอ ในพรรษานี้หลวงพอไดมีความ
ขยนั หมั่นเพียรในการปฏิบตั อิ ยางมากไมมคี วามยอทอ แตประการใด

๒๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจจุบัน
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นกั วัดหนองปาพง

คืนวันหน่ึง หลังจากทานทําความเพียรแลวคิดจะ พักผอนบนกุฏิเล็กๆ พอเอน
กายลง ศีรษะถึงหมอนดวยการกําหนดสติ พอเคลิ้มไปเกิดนิมิตข้ึนวา ทานพระอาจารยมั่น
ภูริทตฺโต ไดมาอยูใกลๆ นําลูกแกวลูกหน่ึงมาย่ืนใหแลวพูดวา ชา...เราจะใหลูกแกวลูกน้ีแก
ทานมนั มีรศั มีสวางไสวมาก ทานย่ืนมือขวาไปรับลูกแกวลูกน้ัน รวบกับมือทานพระอาจารย
ม่ันแลวลุกขึ้นน่ัง พอรูสึกตัวก็เห็นตัวเองยังกํามือและอยูในทาน่ังตามปกติมีอาการคิดคน
ธรรมะเพ่อื ความรูเกีย่ วกบั การปฏบิ ัติมีสตปิ ล้มื ใจตลอดพรรษา

เม่ือถึงหนาแลงทานจึงกราบลาทานอาจารยกินรี เพ่ือแสวงหาวิเวกตอไป กอน
จากทา นอาจารยกนิ รไี ดใหโอวาทวา ทานชา... อะไรๆ ก็พอสมควรแลว แตใหทานระวังการ
เทศนนะ ตอจากน้ันก็ไดเดินทางไปเร่ือยๆ แสวงหาท่ีวิเวกบําเพ็ญสมณธรรมตอไป จนเดิน
ธุดงคไปถึงบานโคกยาว จังหวัดนครพนม ไปพักอยูในวัดรางแหงหน่ึงหางจากหมูบาน
ประมาณ ๑๐ เสน ในระยะนี้จติ สงบและเบาใจ

จากน้ันทานกับสหายธรรมก็ออกเดินธุดงค การเดินธุดงในคร้ังนี้มีพระเล่ือมเปน
เพ่ือนแลวก็ยังมีเด็กเปนลูกศิษยอีก ๒ คน เดินตามไปดวยแตเปน เด็กพิการคนหน่ึงหูหนวก
อีกคนหนึ่งขาเปเขายังอุตสาหรวมเดินทาง ดวยและทําใหไดขอคิดอันเปนธรรมะสอนใจอยู
หลายอยาง คนหนง่ึ น้นั ขาดี ตาดี แตห ูพิการ อกี คนหดู ี ตาดี แตขาพกิ าร เวลาเดนิ ทางคนขา
เปเดินไปบางครั้งขาขางที่เปก็ไปเก่ียวขางที่ดีทําใหหกลมหกลุกบอยๆ คนที่หูหนวกน้ันเลา
เวลาเราจะพูดดวยตองใชมือใชไมประกอบแตพอมันหันหลังใหก็อยาเรียกใหเมื่อยปากเลย
เพราะเขาไมไดยิน เมื่อมีความพอใจ...ความพิการน้ันไมเปนอุปสรรค ขัดขวางในการ
เดินทางความพิการแมตัวเขาเองก็ไมตองการ พอแมของเขาก็คงจะไมปรารถนาอยากใหลูก
พิการอยางนั้น แตก็หนีกฎของกรรมไมพน จริงดังที่พระพุทธองคตรัสวาสัตว ทั้งหลายมี
กรรมเปนของๆ ตนมีกรรมเปนทายาท มีกรรมเปนแดนเกิดฯลฯ เม่ือพิจารณาความพิการ
ของเด็กท่ีเปนเพ่ือนรวมเดินทางยังกลับเอามาสอนตนเองวา เด็กท้ังสองพิการกายเดินทาง
ได จะเขารกเขาปากร็ ู แตเ ราพิการใจ (ใจมกี เิ ลส) จะพาเขารกเขาปาหรือเปลาคนพิการกาย
อยางเด็กนี้มิไดเปนพิษเปนภัยแกใคร แตถาคนพิการใจมากๆ ยอมสรางความวุนวายยุงยาก
แกมนษุ ยและสตั ว ใหไ ดร ับความเดอื ดรอนมากทีเดยี ว

คร้ันวันหนึ่งเดินทางไปถึงปาใกลหมูบานแหงหน่ึง ซ่ึงอยูในเขตจังหวัดนครพนม
เปน เวลาคํ่าแลว และไดตกลงจะพักในปาแหงน้ัน และไดมองไปเห็นทางเกาซึ่งคนไมคอยใช
เดินเปนทางผานดงใหญเปนลําดับไปถึงภูเขา พลันก็นึกถึงคําสอนของคนโบราณวา เขาปา
อยานอนขวางทางเกา จึงเกิดความสงสัยอยากจะพิสูจนดูวาทําไมเขาจึงหามจึงตกลงกับ
ทานเล่ือมใหหลีกจากทางเขาไปกางกลดในปาสวนทานก็กางกลดตรงทางเกาน่ันแหละ ให
เด็กสองคนอยูที่กึ่งกลางระหวางกลดสองหลัง ครั้นเวลาจําวัตรหลังจากนั่งสมาธิพอสมควร

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบนั ๒๓
พระมหามิตร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สาํ นักวัดหนองปา พง

แลว ตางคนตางก็พัก แตทาน (หลวงพอชา) คิดวา ถาเด็กมองมาไมเห็นใครเขาอาจจะกลัว
จึงเลิกผามุงข้ึนพาดไวที่หลังกลดแลวก็นอนตะแคงขวางทางอยูใตกลดน่ันเอง หันหลังไป
ทางปาหันหนามาทางบาน แตพอกําลังเตรียมตัวกําหนดลมหายใจเพ่ือจะหลับทันทีนั้นหูก็
แววไดยินเสียงใบไมแหงดังกรอบแกรบๆ ซึ่งเปนอาการกาวเดินอยางชาๆ เปนจังหวะใกล
เขามาๆ จนไดยินเสียงหายใจ และวาระจิตก็บอกตัวเองวา เสือมาแลว จะเปนสัตวอื่นไป
ไมได เพราะอาการกาวเดินและเสียงหายใจมันบงอยูชัดๆ เมื่อรูวาเสือเดินมาก็คิดหวงชีวิต
อยูระยะหน่ึงและพลันจิตก็สอนตนเองวา อยาหวงชีวิตเลย แมเสือจะไมทําลาย เจาก็ตอง
ตายอยูแลว การตายเพ่ือรักษาสัจธรรมยอมมีความหมายเราพรอมแลวที่จะเปนอาหารของ
มัน ถาหากเราเคยเปนคูกรรมคูเวรกันมาก็จงไดใชหนี้กันเสีย แตถาหากเราไมเคยเปนคูเวร
กับมัน มันคงจะไมทําอะไรเราได พรอมกับจิตนอมระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ
เปนที่พึ่ง เมื่อเรายอมและพรอมแลวท่ีจะตาย จิตใจก็รูสึกสบาย ไมมีกังวล และปรากฏวา
เสียงเดินของมันเงียบไป ไดยินแตเสียงหายใจหางประมาณ ๖ เมตร ทานนอนรอฟงอยู
สักครู เขาใจวามันคงจะยืนพิจารณาอยูวา ใครเลามานอนขวางทางขาฯ แตแลวมันคิด
อยางไรไมทราบมันจึงหันหลังเดินกลับไป เสียงกรอบแกรบของใบไมแหงดังหางออกไปๆ
จนกระท่ังเงยี บหายไปในปา

ป พ.ศ. ๒๔๙๑ (พรรษาที่ ๑๐) ในระยะตนปนี้เองทาน จึงยายจากบานหนองกา
เดินทางไปไดระยะไกลพอสมควร จึงไดขอคิดวา การคลุกคลีอยูรวมกับผูมีปฏิปทาไมเสมอ
กัน ทําใหเกิดความลําบาก จึงไดตกลงแยกทางกันกับพระเล่ือมตางคนตางไปตามชอบใจ
ทานเลอื่ มนําเด็กสองคนนั้นไปสงบานเขา สวนทานก็ออกเดินทางไปคนเดียว จนกระท่ังเดิน
มาถึงวัดรางในปาใกลบานขานอย ซ่ึงอยูในเขตอําเภอศรีสงครามน่ันเอง เห็นวาเปนที่วิเวก
เหมาะแกการบาํ เพ็ญธรรมจึงไดพักอยูท่ีวัดรางน้ัน บําเพ็ญเพียรไดเต็มท่ีมีการสํารวมอยางดี
เพื่อใหเกิดความรู มิไดมองหนาผูใสบาตร และผูถวายอาหารเลย เพียงแตรับทราบวาเปน
ชายหรือหญิงเทานั้น เดินจงกรมอยูจนเทาเกิดบวมเดินตอไปไมได จึงพักจากการเดินไดแต
น่ังสมาธิอยางเดียว ใชตบะธรรมระงับอาพาธเปนเวลา ๓ วัน เทาจึงหายเจ็บ การเทศนก็ดี
การรับแขกก็ดี ทานก็งดไวเพราะตองการความสงบ ระยะที่ปฏิบัติอยูนั้นทั้งๆ ท่ีไดแยกทาง
กับเพ่ือนมาเพราะไมอยากคลุกคลีแตก็เกิดความอยากจะไดเพื่อนที่ดีๆ อีกสักคน จึงเกิด
คําถามข้ึนวา คนดนี ะ อยูท่ไี หนก็มีคาํ ตอบเกดิ ขนึ้ วา คนดีอยูที่เรานแ่ี หละ ถาเราไมดีแลวเรา
จะอยูท ีไ่ หนกับใครมันก็ไมด ที ัง้ นน้ั จงึ ไดถ ือเปนคตสิ อนตนเองมาจนกระทง่ั ทกุ วันนี้ เมอ่ื อยทู ่ี
นั่นไดครบ ๑๕ วันแลวจึงออกเดินทางตอไปผานบานขาใหญมาถึงกลางปา พักผอนอยูเกิด
กระหายนํ้ามาก บอน้ําก็ไมมี จึงเดินตอไป พอจวนจะถึงแองน้ําที่แหงแลง เกิดฝนตกลงมา
อยางแรง น้ําฝนปนดินไหลลงรวมในแอง ดวยความกระหายจึงลวงเอาหมอกรองนํ้าเดินลง

๒๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จุบัน
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานกั วดั หนองปา พง

ไป เอาหมอกรองจุมลงไปในนํ้า แตเพราะนํ้าขุนมากจึงไมไหลเขาในหมอกรองเลยไมไดฉัน
น้ําจึงอดทนตอ ความกระหายเดนิ ทางตอ ไป

เมื่อทานเดนิ ทางมาจนกระทั่งถงึ วดั ปา ซง่ึ ตงั้ อยูในเขตปาชา (เปนท่ีพักสงฆ) อยูใน
เขตจังหวัดนครพนม เปนเวลาจวนจะเขาพรรษาอยูแลวทานจึงขอพักกับหัวหนาสงฆมีนาม
วา หลวงตาปุม ไดสนทนาธรรมกันนานพอสมควรไดยินหลวงตารูปนั้นพูดวา ทานหมด
ความโกรธแลวจึงเปนเหตุใหทานนึกแปลกใจ เพราะคําพูดเชนนี้ทานไมเคยไดยินใครพูดมา
กอ น จงึ คิดวาพระองคน้ีจะดีแตพ ูด หรือวาดเี หมือนพดู เราจะตอ งพสิ ูจนใหรู จึงตัดสินใจขอ
อยูเพ่ือการศึกษาธรรมะ แตเนื่องจากทานไปรูปเดียว ท้ังอัฏฐบริขารก็เกาเต็มที เขาไมรูตน
สายปลายเหตเุ พราะไมม ใี ครรับรอง ถึงแมจ ะขอจําพรรษาอยดู ว ย ทานเหลา น้ันก็ไมยอมเลย
ตกลงกันวา จะใหไปอยูที่ปาชาคนจีนซ่ึงอยูนอกเขตวัดไมไกลนัก ทานก็ยินดีจะไปอยูท่ีนั่น
แตพอถึงวนั เขา พรรษาหลวงตาปมุ และคณะจงึ อนญุ าตใหจําพรรษาในวัดได

ตอนหลังๆ ไดทราบวาหลวงตาปุมเกิดความลังเลใจ ตัดสินใจไมไดวาจะใหจํา
พรรษาอยูนอกวัดหรือในวัด จึงไปปรึกษาทานอาจารยบุญมา ไดทราบวาอาจารยบุญมาได
แนะวา พระท่ีมีอายุพรรษามาก มารูปเดียวอยางนี้จะใหจําพรรษานอกวัดดูจะไมเหมาะ
บางทที านอาจจะมดี ขี องทา นอยู ควรใหจ ําพรรษาในวัดนั่นแหละ

ดงั นัน้ หลวงตาปมุ และคณะจงึ อนญุ าตใหอ ยจู ําพรรษา ในวัดได แตตองทําตามขอ
กติกาดงั นี้

๑. ไมใ หร บั ประเคนของจากโยมเปนแตเพยี งคอยรบั จากพระรูปอน่ื ท่สี งให
๒. ไมใหรวมสังฆกรรม (อโุ บสถ) เปน แตเ พียงใหบอกบริสุทธ์ิ
๓. เวลาเขาที่ฉันใหน่ังทายแถวของพระตอกับสามเณร หลวงพอยินดีทําตามทุก
อยาง แมทานจะมีพรรษาได ๑๐ พรรษาก็ตาม ทานกลับภูมิใจและเตือนตนเองวาจะน่ังหัว
แถวหรือหางแถวก็ไมแปลก เหมือนเพชรนิลจินดา จะวางไวที่ไหนก็มีราคาเทาเดิม และจะ
ไดเปนการลดทิฏฐิมานะใหนอยลงดวย เมื่อปลงตกเสียอยางนี้ จึงอยูไดดวยความสงบสุข
ทานเลาวาเม่ือเราเปนคนพูดนอย คอยฟง คนอื่นเขาพูดแลวนํามาพิจารณาดู ไมแสดง
อาการที่ไมเหมาะ ไมควร คอยสังเกตจริยาวัตรของทานเหลานั้นยอมทําใหได บทเรียน
หลายๆอยาง ภิกษุสามเณรเหลาน้ันก็คอยสังเกตความบกพรองของหลวงพออยู เขายังไม
ไวใ จ เพราะเพิง่ มาอยรู ว มกนั เปนพรรษาแรก
เม่ือการอยูจําพรรษาไดผานไปประมาณครึ่งเดือน ทั้งๆ ท่ีทานทราบวา ภิกษุ
สามเณรยังระแวงสงสัยในตัวทานอยู แตทานก็วางเฉยเสีย มุงหนาตอการปฏิบัติธรรม ทาน
นึกเสียวาเขาชวยระวังรักษาความบกพรองใหเราน้ันดีแลว เปรียบเหมือนมีคนมาชวยรักษา
ความสกปรกมิใหแปดเปอ นจึงเปน การดเี สียอกี

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ นั ๒๕
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นกั วัดหนองปาพง

ตามปกติหลังจากฉันเชาเสร็จแลว ทานนําบริขารกลับกุฏิ เม่ือเก็บไวเรียบรอย
แลว ทานมักจะหลบไปพักเพ่ือพิจารณาคนหาธรรมในเขตปาชา ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวัด
ตรงกลางปาชาเขาปลูกศาลาเล็กไวหลังหนึ่ง เม่ือมองจากศาลายอมมองเห็นหลุมฝงศพและ
ฝงเถาถา นกระดกู ของเพอ่ื นมนษุ ยเปนหยอ มๆ ทําใหนกึ ถึงขอ ธรรมะทเ่ี คยพจิ ารณาวา อธุวัง
เม ชีวิตัง ชีวิตของเราไมยั่งยืน, ธุวัง เมสมรณัง ความตายของเรายั่งยืน,อนิยตัง เม ชีวิตัง
ชีวิตของเราไมเท่ียง, นิยะตัง เมสมรณัง ความตายของเราเท่ียง, สักวันหนึ่งเราก็จะตองทับ
ถมดินเหมือนคนเหลานน้ั เราเกดิ มาเพ่อื ถมดินใหสงู ขึ้นหรือ? หรือเกิดมาทาํ ไม

ป พ.ศ. ๒๔๙๒ (พรรษาท่ี ๑๑) เม่ือออกจากวัดปาอําเภอศรีสงครามแลว ทานก็
เดนิ ทาง ขึน้ สูภลู ังกาซึ่งอยูในเขต อ.บานแพง จ.นครพนม ไดไปพักสนทนาธรรมกับอาจารย
วัน เปนเวลา ๓ วัน จึงไดเดินธุดงคไปเร่ือยๆ นานพอสมควรจึงไดลงจากภูลังกามากราบ
ทานอาจารยกินรี วัดปาหนองฮี อีกทีหน่ึง ทานอาจารยกินรีไดเตือนติวา ทานชา...เอาละ
การเที่ยวธุดงคก พ็ อสมควรแลว ควรจะหาท่ีอยูเปนหลักแหลงท่ีราบๆ หลวงพอจึงเรียนทาน
วา กระผมจะกลับบาน ทานอาจารยกินรีจึงพูดวา จะกลับบาน คิดถึงใคร ถาคิดถึงผูใด ผู
น้ันจะใหโทษแกเรานะ ทานจึงไดกราบลาทานอาจารยกินรีเดินทางตอมาเปนเวลาหลายวัน
จนกระทั่งไดมาถึงบานปาตาว ต.คําเตย อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร (แตสมัยน้ันขึ้นกับ จ.อุบลฯ)
ไดพ กั อยูทป่ี าไมไ กลจากบา นเทาใดนกั ไดมีโอกาส เทศนส่งั สอนประชาชนแนะแนวทางแหง
การปฏิบัติธรรมแกคนในถิ่นนั้นจนเกิดความเลื่อมใสพอสมควร และไดพักอยูเปนเวลา ๒
เดือน จึงไดลาญาติโยมเดินทางลงมาทางใตกอนจะจากมาโยมไดมอบเด็กคนหนึ่งเปนศิษย
เม่ือเดินทางมาอําเภอวารินฯ แลวทานจึงใหเด็กชายทองดีผูเปนศิษย บรรพชาเปนสามเณร
ท่ีวัดวารินทราราม เมื่อหลวงพอเดินทางมาถึงบานเกิดแลว จึงไดไปพักอยูที่ปาชาบานกอ
เปนเวลา ๗ วนั มโี อกาส ไดเทศนใ หญาติโยมฟง พอรแู นวทางบา งเปนบางคนแลว ทานจึงได
ออกเดินทางไป อ. กันทรลักษจ. ศรีสะเกษและไดพักอยูในปาใกลบานสวนกลวยและใน
พรรษาที่ ๑๑ นี้กไ็ ดจ าํ พรรษา อยทู ี่บา นสวนกลวย ปจจบุ ันสถานท่นี น้ั เขาสรา งเปน วัดแลว

ป พ.ศ. ๒๔๙๓ (พรรษาที่ ๑๒) ในระหวางตนปไดรับจดหมายจากพระมหาบุญมี
ซ่งึ เคยเปนเพื่อนปฏิบตั ิมาดวยกัน แจงขาวเรื่องการปฏิบัติธรรมของหลวงพอวัดปากนํ้าภาษี
เจริญธนบุรี จึงไดเดินทางลงไป และไดพักอยูกับพระมหาบุญมีท่ีวัดปากนาํ้ ๗ วันไดมีโอกาส
นมัสการหลวงพอเจาอาวาสไดสังเกตและพิจารณา ดูแลวเห็นวาเปนไปเพ่ือรักษาโรคภัย
บางอยาง ยังไมถูกนิสัย จึงไดเดินทางออกไปพักอยูท่ีวัดใหญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
และไดป ฏิบตั ิธรรมอยรู วมกบั พระอาจารยฉลวย และหลวงตาแปลก และที่บริเวณใกลๆ วัด
มีสถานท่ีลําธารและกระทอมไมไผและสิ่งอื่นๆ เหมือนดังภาพที่ปรากฏในคราวฝนเห็นอยูที่

๒๖ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ ัน
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานกั วดั หนองปาพง

บานสวนกลวยจริงๆ ไดจําพรรษาอยูท่ีวัดน้ัน ๒ พรรษา การปฏิบัติธรรมรวมกันน้ันเปนไป
โดยความสะดวกและสามัคคเี ปนอยา งดี

ป พ.ศ. ๒๔๙๔ นั่นเอง ทานปวยเปนโรคเกี่ยวกับทองมีอาการบวมขึ้นทาง
ดานซาย รูสึกเจ็บปวดที่ทองมาก และพรอมกับโรคหืดท่ีเคยเปนอยูแลวก็ซํ้าเติมอีก ทาน
พิจารณาวา อันตัวเรานี้ก็อยูหางไกล ญาติพ่ีนอง ขาวของเงินทองก็ไมมี เม่ือปวยข้ึนมาครั้น
จะไปรักษาท่ีโรงพยาบาลก็ขาดเงินทอง จะเปนการทําความยุงยากแกคนอ่ืน อยากระน้ัน
เลยเราจะรกั ษาดวยธรรมโอสถโดยยดึ เอาพระธรรมเปนที่พงึ่ ถามันจะหายก็หาย ถาหากมัน
ทนไมไดก็ใหมันตายไปเสีย...จึงทอดธุระในสังขารของตนโดยการอดอาหารไมยอมฉันจะดื่ม
เพียงแตน้ํานิดๆหนอยๆ เทานั้น...ทั้งไมยอมหลับนอน จึงไดแตเดินจงกรมและนั่งสมาธิลับ
กันไป เวลารุงเชาเพ่ือนๆเขาไปบิณฑบาต ทานก็เดินจงกรม พอเพ่ือนกลับมาก็ขึ้นกุฏิ น่ัง
สมาธติ อไปมีอาการออ นเพลยี ทางรา งกาย แตก ําลังใจดีมาก ไมยอทอตอส่ิงทั้งปวง ทานเคย
พูดเตือนวา การอดอาหารน้ันระวังใหดี...บางทีจะทําใหเราหลง เพราะจิตคิดไปมองดู
เพื่อนๆ เขาฉันอาหารน้ันเปนการยุงยากมีภาระมากจริงๆ เลยคิดวาเปนการลําบากแก
ตัวเองอาจจะไมยอมฉันอาหารเลย เปนทางใหตายไดงายๆ เสียดวย เม่ือทานอดอาหารมา
ไดครบ ๘ วัน ทานอาจารยฉลวยจึงขอรองใหกลับฉันดังเดิม โรคในกายปรากฏวา หายไป
ทั้งโรคทองและโรคหืดไมเปนอีก ทานจึงกลับฉัน อาหารตามเดิมและไดใหคําแนะนําไววา
เมื่ออดอาหารหลายวัน เวลากลับฉัน ส่ิงที่ควรระวังก็คือ อยาเพิ่งฉันมากในวันแรก ถาฉัน
มากอาจตายได ควรฉันวนั ละนอยและเพิ่มขึ้นไปทุกวันจนเปนปกติในระยะท่ีจําพรรษาอยูที่
วัดใหญน ั้นทา นมไิ ดแ สดงธรรมตอใครอ่นื มแี ตอ บรมตัวเองโดยการปฏิบัติและพิจารณาเตือน
ตนอยูตลอดเวลา เมื่อออกพรรษาแลวไดเดินทางไปพักอยูเกาะสีชัง เพื่อหาความสงบเปน
เวลาหน่ึงเดือน และถือคติเตือนตนเองวา ชาวเกาะเขาไดอาศัยพ้ืนดินที่มีนํ้าทะเลลอมรอบ
ท่ีที่เขาอาศัย อยูไดตองพนนํ้าจึงจะเปนที่พึ่งได เกาะสีชังเปนที่พ่ึงทางนอกของสวนรางกาย
เรามาอาศยั อยูท ่ีเกาะนีค้ ือท่ีพึ่งทางในซ่ึงเปนท่ีอันนํ้า คือกิเลสตัณหาทวมไมถึง แมเราจะอยู
บนเกาะสีชังแตก็ยังคนหาเกาะภายในอีกตอไป ผูที่ทานไดพบ และอาศัยเกาะอยูไดนั้นทาน
ยอมอยูเปนสุข ตางจากคนท่ีลอยคออยูในทะเล คือความทุกขซ่ึงมีหวังจมนํ้าตาย ทะเล
ภายนอกมีฉลามและสัตว รายอ่ืนๆ แตทะเลภายในย่ิงรายกวาน้ันหลายเทา เมื่อไดธรรมะ
จากทะเล และเกาะสีชังพอสมควร ซ่ึงเปนเวลาหน่ึงเดือนแลวจึงออกจากเกาะสีชังเดินทาง
กลับวดั ใหญ จ.อยธุ ยา และพกั อยูที่วดั ใหญเปนเวลานานพอสมควรจึงไดเดินทางกลับ มา
บาน และไดมาพักที่ปาชาบานกอตามเคยมีโอกาส เทศนโปรดโยมแมและพ่ีชาย(ผูใหญลา)
และญาตพิ ีน่ องหลายคน จนเปนเหตุใหงดทําปาณาติบาต และเชื่อมั่นในพระรัตนตรัยย่ิงขึ้น
พักอยูท่ปี าชา บา นกอ เปน เวลา ๑๕ วนั จงึ เดินทางตอ ไป

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมใ นโลกปจ จบุ ัน ๒๗
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สาํ นักวัดหนองปา พง

ป พ.ศ. ๒๔๙๕ (เปนพรรษาที่ ๑๔) ในระหวางตนปน้ี ทานจึงไดเดินธุดงคขึ้นไป
จนถึงบานปาตาว อ. เลงิ นกทา จ.ยโสธร ซง่ึ เปนสถานท่ีเคยอยูมากอน คราวนี้ไมไปอยูที่เกา
ไปอยูจําพรรษาในปาหางจากหมูบาน ๒ กิโลเมตร ซ่ึงปจจุบัน เปนที่พักสงฆบําเพ็ญธรรม
ทานไดม ีโอกาส เทศนสง่ั สอนประชาชนจนเตม็ ความสามารถ ทําใหเขาเขาใจในหลักคําสอน
ในศาสนาดียิ่งขึ้น และเกิดความเล่ือมใสการรับแขกและการพบปะสนทนาธรรมมีมากและ
บอ ยครั้งยิ่งข้นึ

สถานที่พักแหงนั้นเรียกวา วัดถ้ําหินแตก เปนลานหินดาด ทางดานทิศเหนือของ
ที่พักน้ันเปนแองนํ้ามีปลาชุมทางทิศตะวันออก ของแองนํ้าเปนคันหินสูงนิดหนอย ตอจาก
คันหินไปทางดานทิศตะวันตกเปนที่ลาดลงไปเวลาน้ําลนแองก็ไหลไปตามท่ีลาดลงสูเบ้ือง
ลางโดยมากมีพวกปลาดุกพยายามตะเกียกตะกายขึ้นมาตามนํ้า บางตัวก็ขามคันหินไปถึง
แอง นํา้ บางตัวก็ขามไปไมรอดจึงนอนอยูบนคันหิน ทานเคยเดินไปสังเกตดูในตอนเชาๆเมื่อ
เห็นปลานอนอยูบนคันดินจึงจับมันปลอยลงไปในแองน้ํา แลวจึงกลับมาเอาบาตรไป
บณิ ฑบาต

เชา วนั หน่งึ กอ นจะออกบณิ ฑบาต ทานจึงเดินไปดูปลาเพ่ือชวยชีวิตมันทุกเชา แต
วันนั้นไมทราบใครเอาเบ็ดมาตกไวตามริมแองนํ้า เห็นเบ็ดทุกคันมีปลาติดอยู ทานจึงรําพึง
วา เพราะมันกินเหยื่อเขาไป เหย่ือนั้นมีเบ็ดดวยปลาจึงติดเบ็ดมองดูปลาติดเบ็ดสงสารก็
สงสาร แตช วยมนั ไมไ ด เพราะเบด็ มเี จา ของ ทา นจงึ มองเห็นดว ยความลดใจ เพราะความหิว
แทๆเจาจึงหลงกินเหยอ่ื ทเ่ี ขาลอไว ดนิ้ เทา ไรๆกไ็ มหลดุ เปนกรรมของเจาเองเพราะความไม
พิจารณาเปนเหตุใหเตือนตนวา ฉันอาหารไมพิจารณาจะเปนเหมือนปลากินเหยื่อยอมติด
เบด็ ...ไดเวลาจงึ กลบั ออกไปเท่ยี วภิกขาจาร

ครนั้ กลับจากบิณฑบาตเห็นอาหารพิเศษมองดูเห็นตมปลาดุกตัวโตๆ ทั้งน้ัน ทาน
รูทันทีวาตองเปนปลาติดเบ็ดท่ีเราเห็นน้ันแนๆ บางทีอาจจะเปนพวกท่ีเราเคยชวยชีวิตเอา
มันลงน้ําก็ได ความจริงก็อยูใกลๆแองนํ้านี้เทาน้ัน...และโดยปกติแลวอาหารจะฉันก็ไมคอย
จะมีอยูแลว แตพิจารณาเห็นความเปนสัตวรวมโลกก็เลยไมกลาฉัน ถึงแมเขาจะเอามา
ประเคนก็รับวางไวตรงหนาไมยอมฉัน เพราะทานคิดวาถาเราฉันของเขาในวันน้ี วันตอๆไป
ปลาในแองนํ้าน้ันก็จะถูกฆาหมด เพราะเขาจะทําเปนอาหารนํามาถวายเรา ปลาตัวใดท่ี
อุตสาหตะเกียกตะกายข้ึนมาพบแองน้ําแลวก็ยังจะตองพากันมาตายกลายเปนอาหารของ
เราไปหมด ดังนั้นทานจึงไมยอมฉัน จึงสงใหพระทองดีซ่ึงนั่งอยูขางๆ ใหเอาอาหาร
บิณฑบาตไดมาฉันก็แบงกันฉันตามมีตามได ขณะเดียวกันพระทองดีเห็นทานไมฉัน ก็ไม
ยอมฉันเหมือนกัน สวนโยมท่ีเขาตมปลามาถวายนั่งสังเกตอยูต้ังนานเมื่อเห็นพระไมฉันจึง
เรียนถามวา ทานอาจารยไมฉันตมปลาหรือครับ ...ทานจึงตอบวาสงสารมัน เทานี้เอง ทํา

๒๘ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจุบัน
พระมหามติ ร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สาํ นกั วัดหนองปา พง

เอาโยมผูนํามาถวายถึงกับน่ิงอ้ึง... ตั้งแตนั้นมาปลาในแองนํ้านั้นจึงไมถูกรบกวนพวกโยมก็
พากนั เขาใจวา ปลาของวดั

ป พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงนับเปนปท่ี ๒ ท่ีทานไดอยูปาใกลบานปาตาวมีพระภิกษุ
สามเณรอยู ๙ รูป เฉพาะศิษยที่เปนคน ทางอําเภอวารินชําราบมีพระเที่ยง (อาจารยเท่ียง
วดั เกานอ ย) กบั พระหนู (หนู ขวัญนู) ไดอ ยปู ฏบิ ตั ิธรรมรว มพระเณรอ่นื ๆ

เมื่อมีพระเณรอยูดวยกันหลายรูปทานจึงคิดวาควร จะปลีกตัวไปอยูแตลําพังคน
เดียว เพ่ือใหไดรับความสงบยิ่งขึ้น จึงตกลงใหพระเณรอยูจําพรรษาที่วัดถ้ําหินแตก สวนตัว
ทา นเองขึ้นไปจําพรรษาอยูภูกอย ซ่ึงบริเวณน้ันหลังจากทานไดจาก ภูกอยไปหลายป จึงมีผู
คนพบรอยพระพุทธบาทและเปนท่ี สักการบูชาของพุทธศาสนิกชนอยูเด๋ียวนี้ ภูกอยนี้อยู
หางจาก ถํ้าหินแตกประมาณ ๓ กิโลเมตร ทําใหไดรับความสุขมาก พอถึงวันอุโบสถสวด
พระปาฏิโมกข ทานก็ลงมารวมทําสังฆกรรม ที่วัดถํ้าหินแตก และไดใหโอวาทเตือนสติ
พระภิกษุสามเณรมิไดขาด บางโอกาส ไดเทศนใหโยมฟงพอสมควรแลว กลับไปที่พักภูกอย
ตามเดิม

ในระหวางพรรษานี้ทานปวยเปนโรคเก่ียวกับฟนเหงือกบวมทั้งขางบนและ
ขา งลา ง รสู กึ บวมมาก โรคปวดฟนน้มี รี สชาตเิ ปน อยา งไรน้ันใครเคยเปนแลวไมอยากเปนอีก
แตก็หนีไมพนจึงตองจํายอม...ขนาดพวกเราปวดซ่ีเดียวสองซี่ ก็ยังทรมานไมนอยเลย ทาน
หายามารักษาตามมีตามได โดยใชตบะธรรมและขันติธรรมเปนท่ีต้ัง พรอมท้ังพิจารณาวา
พยาธิธัมโมมหิ พยาธิง อะนะ ตีโต เรามีความเจ็บไขเปนธรรมดา หนีความเจ็บไขไปไมพน
รเู ทาทนั สภาวธรรมนัน้ ๆมคี วามอดทนอดกล้ัน แยกโรคทางกายกบั โรคทางใจออกเปนคนละ
สวน เม่ือกายปวยก็ปวยไปไมยอมใหใจปวยดวย แตถายอมใหใจปวยดวยก็เลยกลายเปน
ปวยดวยโรคสองช้ัน ความทุกขเปนสองช้ันเชนเดียวกัน โรคปวดฟนมันทรมานมาก กวาจะ
สงบลงไดต องใชเ วลาถงึ ๗ วัน

การสังวรระวังเรื่องศีล เมื่อคราวออกปฏิบัติไปคนเดียวอยูรูปเดียว ย่ิงมีความ
หวาดกลัว ตออาบัติมาก ออกปฏิบัติครั้งแรกมีเข็มเลมเดียวท้ังคดๆเสียดวย ตองคอยระวัง
รักษากลัวมันจะหัก เพราะถาหักแลวไมรูจะไปขอใคร ญาติพี่นองก็ไมมี ดายสําหรับเย็บก็
เอาเสนไหมสําหรับจงู ผี ขวนั้ เปน เสน แลวหอ รวมกนั ไวก ับเข็ม เมอ่ื ผาเกาขาดไปบา งก็ไมยอม
ขอ เวลาเดินธุดงคผานวัดตางๆตามชนบท ไมมีผาสําหรับปะ จึงไปชักบังสุกุลเอาผาเช็ดเทา
ตามศาลาวัด ปะบงจีวรท่ีขาดเสร็จแลว ก็เดินธุดงคตอไป และไดเตือนตนเองวา ถาไมมีใคร
เขาถวายดวยศรัทธา เธอก็อยาไดขอเขา เปนพระธุดงคน่ีใหมันเปลือยกายดูซิ เธอเกิดมา
คร้ังแรกก็มิไดนุงอะไรมิใชหรือเปนเหตุใหพอใจในบริขาร ท่ีมีและเปนการหามความ
ทะเยอทะยานอยากในบริขารใหมไดดีมาก พูดถึงอาหารบิณฑบาตนับวามีหลายๆ คร้ัง

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน ๒๙
พระมหามติ ร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สํานกั วัดหนองปาพง

เวลาออกบิณฑบาตไดแตขาวเปลาๆ ทานก็สอนตนเองวาดีแลว...ไดขาวฉันเปลาๆ ก็ยัง
ดีกวามิไดฉัน ดูแตสุนัขน่ันซิมันกินขาวเปลาๆ มันยังอวนและแข็งแรงดีแกลองเกิดเปนหมา
สักชาติดูซิทาํ ใหฉ ันขาวเปลา ๆ ดวยความพอใจและมีกาํ ลังปฏิบัตธิ รรมตอไป

เรื่องอาพาธ ทานไดเคยผานความลําบากมามากคร้ังหนึ่งเม่ืออยูในเขต สกลนคร
นครพนม ปวยเปนไขมาหลายวัน อยูคนเดียวกลางภูเขาอาการหนักพอดู ลุกไมข้ึนตลอดวัน
ดวยความออนเพลียจึงมอยหลับไป พอรูสึกตัวก็เปนเวลาเย็นมากตะวันจวนจะตกดินกําลัง
นอนลมื ตาอยู ไดย นิ อเี กง มันรองจึงตงั้ ปญ หาถามตวั เองวา พวกอีเกงและสตั วปามันปวยเปน
ไหม? คําตอบเกิดขึ้นวา มันปวยเปนเหมือนกัน เพราะพวกมันเปนสังขาร ท่ีตองปรุงแตง
เชนเดียวกับเราน่ีแหละมันมียากินหรือเปลา? มันก็คงหากินยอดไมใบไมตามมีตามไดมีหมอ
ฉีดยาใหมันไหม? เปลา...ไมมีเลย...แตก็ยังมีอีเกง และสัตว เหลืออยูสืบพันธุกันเปนจํานวน
มากมิใชหรือ? คําตอบเกิดขึ้นวา ใชแลว...ถูกแลว...พอไดขอคิดเทานี้ทําใหมีกําลังใจดีข้ึน
มาก จึงพยายามลุกนั่งจนได และไดพยายามทําความเพียรตอไปจนกระทั่งไขไดทุเลาลง
เร่ือยๆ จากหนักมาเปนเบาลง ทานไดแนวคิดวาถาไมถึงที่ตาย แมจะไมมีหมอรักษาก็ตาม
มนั กจ็ ะไมตาย มนั อาจจะหายชา หนอ ยเทานนั้ เอง

ป พ.ศ. ๒๔๙๗ ในระหวางปลายเดือน ๓ โยมมารดา (แมพิม) ของทานพรอมทั้ง
พ่ีชาย(ผูใหญลา) และญาติโยมอีก ๕ คนไดเดินทางขึ้นไปพบทาน เพื่อนมัสการนิมนตให
กลับลงมาโปรดญาติโยมในถิ่นกําเนิด ทานพิจารณาเห็นเปนโอกาส อันเหมาะแลวจึงรับ
นิมนต และตกลงใหโยมมารดาและคณะที่ไปนั้น ข้ึนรถโดยสารลงมากอน สวนทานพรอม
ดว ยพระเช้ือ พระหนู พระเลื่อน สามเณรออด พรอ มดว ยพอกี พอไต บานปา ตาว เดินธุดงค
ลงมาเรือ่ ยๆ หยดุ พกั เปนระยะๆ ตามทางเปน เวลา ๕ คืน

วันน้นั เวลาตะวันบาย คณะของทา นไดเดนิ ทางมาถึงชายดงปาพงแหงน้ีซ่ึงเปนวัน
จันทร ขึ้น ๔ ค่ํา เดือน ๔ ปมะเส็ง ตรงกับวันท่ี ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๗ ซึ่งเปนนิมิต
เคร่ืองหมาย ครั้งสําคัญท่ีจะเปลี่ยนแปลงปาที่นากลัวใหเปนปาที่นาชม รื่นรมยไปดวยรส
แหง สัทธรรม

เชาวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๔๙๗ จึงไดพากันเขาสํารวจ สถานท่ีพักในดงปานี้ โยมได
ถากจอมปลวกถางตนไมเล็กๆ ออกจัดท่ีพักใหใกลตนมะมวงใหญหลายตนซ่ึงอยูขางโบสถ
ดา นทศิ ใตปจจบุ ันน้ี ตอมามีญาติโยมชาวบา นกอและบานกลางผูเลื่อมใส จึงชวยกันปลูกกุฏิ
เลก็ ๆใหอาศัยกันตอไป

เมื่อทานและคณะไดเขามาอยูในดงปาพงได ๑๐ วัน วันน้ันเปนวันเพ็ญ เดือน ๔
เวลาน้นั ประมาณทมุ กวา ๆ ญาตโิ ยมมาฟง ธรรมไมม ากเทาใดนัก เกดิ บรุ พนิมติ มีแสงสวา งพุง

๓๐ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจจบุ ัน
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานกั วดั หนองปาพง

ปราด ไปขางหนาเปนทางยาว แลวหดตัวมาดับวูบลงที่มุมวัดดานทิศตะวันออกเฉียงใต
นน่ั เอง ทาํ ใหญ าติโยมทเ่ี หน็ ดว ยตาเกดิ อศั จรรยข นพงยองเกลา ตางกพ็ ูดไมอ อก

เม่ือไดมาอยูที่ปาพงแลว ทานถือหลักคําสอน ของพระพุทธองคที่ตรัสวา ทําตน
ใหตั้งอยูในคุณอันสมควรเสียกอน แลวจึงสอนคนอื่นทีหลัง จึงจักไมเปนบัณฑิตสกปรก
ดังนั้นไมวากิจวัตรใดๆเชนกวาดวัดจัดท่ีฉันลางบาตร ตักน้ํา หามนํ้า ทําวัตร สวดมนต เดิน
จงกรม น่ังสมาธิ วันพระ ถือเนสัชชิกไมนอนตลอดคืน ทานลงมือทําเปนตัวอยางของศิษย
โดยถือหลักที่วา สอนคนดวยการทําใหดู ทําเหมือนพูด พูดเหมือนทํา ดังนั้นจึงมีศิษยและ
ญาติโยมเกิดความเคารพยําเกรง และเล่ือมใสในปฏิปทาที่ทานดําเนินอยู เม่ือเทศนก็ชี้แจง
ถึงหลักความจริงที่จะนําไปทําตามใหเกิดประโยชนได ทานและศิษยรุนแรกท่ีเขามาอยูตอง
ตอสูกับไขปา ขณะน้ันยังชุกชุมมากเพราะเปนปาทึบ ยามพระเณรปวยจะหายารักษาก็ยาก
ตองตมบอระเพ็ดใหฉันก็พอทุเลาลงบาง เนื่องจากโยมผูอุปฏฐากยัง ไมคอยเขาใจในการ
อุปถมั ภ ทง้ั ทานก็ไมยอมออกปากขอจากใครๆ แมจะพดู เลียบเคียงกไ็ มทํา ปลอยใหผูมาพบ
เหน็ ดวยตา พิจารณาแลว เกดิ ความเล่อื มใสเอาเอง พูดถึงอาหารการฉันก็รูสึกจะฝดเคอื ง

เม่ือทา นไดมาอยูทีป่ าพงแลว เดอื นแรกผานไป และในเดือนตอมาคุณแมพิม ชวง
โชติ โยมมารดาของทานพรอมดวยโยมผูหญิงอีก ๓ คน ไดมาบวชเปนชี อยูประพฤติปฏิบัติ
ธรรม พวกญาติโยมจึงปลกู กระทอ มใหอ ยูอาศัย...โยม แมพิมพจึงเปนชีคนแรกของวัดหนอง
ปา พง และมแี มช อี ยูตดิ ตอ กันมาจนถึงปจ จบุ ันนเี้ ปน จาํ นวนมาก

ป พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งชาวพุทธถือวาเปนปท่ีสําคัญมีการทําบุญท้ังสวนวัตถุทาน
และธรรมทานมีการบวชตนเองและบวชลูกหลานเปนภิกษุสามเณร และบวชเปนชีและตา
ปะขาวเปนจํานวนมากมีการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเปนพิเศษ ทางวัดหนองปาพง
ทานก็อนุญาตใหมีการบวชเชนกันมีบวชเปน สามเณร ๒ รูป บวชเปนตาปะขาว ๗๐ บวช
เปนชี ๑๗๘ คน รวมเปน ๒๕๐ คน

ป พ.ศ. ๒๕๐๑ มีประชาชนสนใจการฟงเทศนฟงธรรม และการปฏิบัติธรรมมี
จํานวนเพ่ิมขึน้ มญี าติโยมชาวบานเกานอย ต.ธาตุ ซึ่งเคยมาฟงธรรม ปฏิบัติธรรมที่หนองปา
พงมานิมนตหลวงพอใหไปพักอยูที่ปาละเมาะใกลกับปาชา และทานไดไปพักอยูสอบรม
ธรรมะแกผูสนใจในถ่ินนั้นไดจําพรรษาอยูท่ีปาแหงน้ัน และนับวาเปนสาขาแรกของวัด
หนองปา พง และในปต อ มากไ็ ดจ ัดสง ลกู ศษิ ยไ ปอยปู ระจําจนถงึ ทุกวนั น้ี

ปตอๆมาก็มีญาติโยมผูเลื่อมใสสนใจในการปฏิบัติมานิมนตทานไปรับอาหาร
บิณฑบาตและอบรมธรรมะเพ่ิมจํานวนมากข้ึนๆ เชน นิมนตไปทางบานกลางใหญ อ.เขื่อง
ในบาง นิมนตไปเย่ียมทางชาวไรภูดินแดง อ.กันทรลักษ จ.ศรีสะเกษบาง นิมนตไปทางบาน

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบัน ๓๑
พระมหามติ ร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สาํ นกั วัดหนองปาพง

หนองเดิ่นหนองไฮบาง ซ่ึงตอมาก็ไดมีลูกศิษยของทานไปอยูและเปน สาขาท่ี ๒-๓-๔ ของ
หนองปาพง

ประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ มีญาติโยมอําเภออํานาจเจริญมานิมนต
หลวงพอ ขึน้ ไปฉันภตั ตาหาร และอบรมธรรมะท่ีวดั ตน บกเต้ยี (ปากทางเขา ถํ้าแสงเพชร) โดย
มีอาจารยโสม พักอยูท่ีน่ันและเขานิมนตทานเขาไปดูถํ้าแสงเพชร (ถาภูขาม) ขอนิมนตให
ทานพิจารณาจัดเปนท่ีปฏิบัติธรรม แตทานก็ยังมิไดตกลงใจ ยังเฉยๆอยู คร้ันเมื่อออก
พรรษา รับกฐนิ แลว เมือ่ วันที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๑ ทานรบั นมิ นตข องโยมชาวจังหวัดอุดร
ฯ เดินทางไปจังหวัดอุดรฯ พักท่ีวัดปาหนองตุสระยะท่ีพักอยูที่น่ันทาน ไดพาไปกราบ
นมสั การทานพระอาจารยมหาบัว วัดปาบานตาด และทานพระอาจารยขาววัดถํ้ากลองเพล
และไดเดินทางไปเย่ียมทานเจาคุณเจาคณะจังหวัดหนองคาย ทานเจาคุณพาไปเยี่ยม วัดโศ
รกปาหลวง นครเวียงจันทน และไปเย่ียมวัดเนินพระเนาว ซ่ึงลวนแตเปนสํานักปฏิบัติธรรม
ทั้งนั้น แลวพักอยวู ดั ศรสี ะเกษ กับทานเจาคณะจังหวัดแลวเดินทางกลับมาถึงอุดร และแวะ
เยี่ยมภูเพ็ก แลวเดินทางมาถึงบานตองแวะกราบนมัสการทานอาจารยกินรี ท่ีวัดกันตศิลา
วาส และกราบลาทานอาจารยกินรี ลงมาถึงอําเภออํานาจเจริญ หลวงพอพาแวะไปเยี่ยม
อาจารยโสมทีว่ ดั ตนบกเตี้ย วนั นนั้ เปน วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๑ พกั อยูหนงึ่ คืน

ฉะนั้นจึงพอถือไดวา วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๑ เปน วันบุกเบิกเริ่มตนแหง
การสรางวัดถ้ําแสงเพชร และไดไปพักอยูตรงถํ้าที่มีรูปพระพุทธองคและปญจวัคคีย (เขา
เรียกกันวา ถา้ํ พระใหญ และเร่มิ ปรับปรุงตรงน้นั พอเปนทีพ่ กั ไดสะดวก)

ทานปรารภวามาอยูถํ้าแสงเพชรน้ีสบายใจดีมาก มองไปทางไหนจิตใจเบิกบาน
คลายกับเปนสถานท่ีเคยอยูมากอน นั่งสมาธิสงบดี ถาไมคิดอยากพักผอนจะนั่งสมาธิอยู
ตลอดคืนก็ได วดั นี้มพี ้นื ท่ี ๑,๐๐๐ ไร เปน สาขาท่ี ๕ ของวัดหนองปา พง

ป พ.ศ. ๒๕๑๒ ในระยะเดือนเมษายนของปนี้ ญาติโยมบานสวนกลวยไดมา
นิมนตทานไปอบรมธรรมะและรับไทยทาน เขาไดจัดท่ีพักไวในปาโดยปลูกกุฏิไว ๒ หลัง
เม่ือไดไปถึงแลว ญาติโยมจึงกราบเรียนขอใหทานอุปการะเปนสาขาของทาน (เปนสาขาที่
๖) ไดจัดสง ลกู ศิษยไ ปอยปู ระจาํ

ป พ.ศ. ๒๕๑๓ (วันท่ี ๒ มกราคม) ทานไดรับนิมนตจากคุณแมบุญโฮมศิริขันธ
และญาติโยมทางอําเภอมวงฯ ใหไปรวมงานทําบุญรอยวันถึงหลวงตาอุย (บิดาของแมบุญ
โฮม) อาศัยท่ีญาติโยมเคยมาฟงเทศนและมาถือศีลปฏิบัติธรรมอยูกับหลวงพอบอยๆ และ
เปนเวลาหลายปมาแลว จงึ พิจารณาสถานที่อนั เหมาะสมพอจะจัดเปน ที่พักได จึงตกลงจัดท่ี
พักให ณ ปาบานราง ดงหมากพริกอยูหางจากอําเภอมวงสามสิบ ๒ กม. และทานกับ

๓๒ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั
พระมหามิตร ฐิตปฺโญ,ผศ.ดร.
บทที่ ๒ สาํ นกั วัดหนองปาพง

ผูติดตามไดไปพักในดงแหงนั้น และตอมาก็ไดกลายเปนวัดปา วิเวกธรรมชาน สาขาท่ี ๗
ทา นไดสงลูกศิษยไปอยูเ ปน ประจาํ

สาขาวนโพธญิ าณ ในระยะเดียวกับที่ชาวอําเภอมวงสามสบิ มีความประสงคอยาก
ใหทานอนุญาตใหตั้งสาขาขึ้นในเขตอําเภอนั่นเอง ญาติโยมทางอําเภอพิบูลมังสาหาร เข่ือน
โดมนอยซ่ึงมีพอใบ พอลา พอลือ ไดมาปรารภนิมนตทานไปชมปาหนาเขื่อนเห็นวาเปน
สถานที่เหมาะดีแกการปฏิบัติธรรม เปนระหวางท่ีนายปรีชา คชพลายุกต นายอําเภอ
พิบูลมังสาหารในสมัยนั้นไดไ ปเยี่ยมทา นทีว่ ดั ปาพงบอยครั้ง บางครงั้ กไ็ ดส นทนา กับทานทํา
ใหเกิดความซาบซ้ึงและเลื่อมใส เม่ือไดทราบวาทานไปเยี่ยมปาทางดานหนาเขื่อน ก็ยินดี
สนับสนุนในการจัดปรับปรุงปาใหเปนท่ีบําเพ็ญธรรม นายอําเภอและคุณนายไดละทรัพย
สรางกุฏิถาวรไว ๑ หลัง และเปนกําลังในการสราง ศาลาการเปรียญที่วัดเขื่อนแมแตนาย
วิเชียรสีมันตรผูวาราชการ จังหวัดในสมัยน้ันก็ใหการสนับสนุนอยางเต็มท่ี ในระหวางเดือน
กรกฎาคม ๒๕๑๓ เมอ่ื ทานไปเยี่ยมปาหนาเข่ือนอีก ญาติโยม ขอรองทานวา พระพุทธบาท
ท่ีหอพระบาท วัดถํ้าพระ อยูในระดับใตพ้ืนน้ําถาน้ําทวมจะเสียหายจมอยูในนํ้าเสียดายปู
ชนียวัตถุสําคัญ ขอใหพาอัญเชิญรอยพระพุทธบาทข้ึนไปเก็บไว ณ ท่ีนํ้าทวมไมถึง ทานจึง
พาญาติโยมอัญเชิญออกจากหอพระบาทเดิม ไปเก็บไวบนหัวหิน (โขดหิน) ท่ีสูงกวาระดับ
นํ้า และตอมาชาวบาน และวัดหนองเม็ก โดยการนําของเจาคณะผูปกครองมาเอาไปรักษา
ไวท่ีวัดหนองเม็ก ต.ฝางคํา อ.พิบูลฯ จนกระท่ังเดี๋ยวน้ี เมื่อออก พรรษาแลวในวันแรม ๖
ค่ํา เดือน ๑๑ ทานจึงสงทานอาจารยสี กับสามเณร ๓-๔ รูป ไปอยูและตอมาอีกประมาณ
๓ เดือนกวา ทานจึงสงอาจารยเรืองฤทธ์ิไปอยูดวย และเม่ือออกพรรษา ป ๒๕๑๔ ทาน
อาจารยสีกลับวัดปาพง คงเหลืออาจารยเรืองฤทธ์ิปกครองพระเณรอยูเปนประจํามาจนถึง
ปจจุบันน้ี สาขาท่ี ๘ น้ีครั้งแรกเรารูกันในนามสํานักวนอุทยาน คร้ันเมื่อวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน ทานไดรับพระราชทานเปน
พระราชาคณะนามวา พระโพธิญาณเถร เลยเปล่ียนชื่อสาขานี้ใหมวา สํานักสงฆวน
โพธิญาณรูสึกวาเปน สาขาที่ทานใหการสงเคราะหเปนพิเศษ และสาขานี้มีเนื้อที่ประมาณ
๒, ๐๐๐ ไรเศษ จงึ เปน อนั ไดทราบกันวาในป พ.ศ.๒๕๑๓ น้ีทา นไดอนุญาตใหจัดต้ัง สาขาที่
๗ คือ วัดปาวเิ วกธรรมชาน และสาขาที่ ๘ คือ วดั ปา วนโพธญิ าณขึน้ ในปเ ดยี วกัน

๒.๔ การเกิดขนึ้ ของสาํ นักหนองปาพง

วัดหนองปาพงต้ังอยูที่บานพงสวาง หมูท่ี ๑๐ ตําบลโนนผึ้ง อําเภอวารินชําราบ
หนางจากตัวจังหวัด อุบลราชธานี ไปทางอําเภอกันทรลักษณ ตามถนนทางหลวงหมายเลข
๒๑๗๘ ประมาณ ๘ กม. โดยไดรับวิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ตาม

ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จบุ นั ๓๓
พระมหามิตร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานักวัดหนองปา พง

ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เลมที่ ๙๑ ตอนที่ ๗๑ โดยกําหนดเขตกวาง ๔๐ เมตร
ยาว ๘๐ เมตร มพี ้ืนทป่ี าภายในเขตกําแพง ๑๘๖ ไร ๓ งาน ๙๔ ตารางวา

จุดเริมตนของวัดหนองปาพง เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๗ (ขึ้น ๔ คํ่า เดือน
๔ ป มะเส็ง) พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) ทานและคณะธุดงคก็เดินทางมาถึงชายปาดง
ดบิ อนั หนาทึบ ชาวบานเรยี กวา ดงหนองปาพง ซงึ่ อยูหา งจากบา นกอ(บานเกิดของทาน) ไป
ทางทิศตะวันตก ประมาณ ๓ กิโลเมตร เมื่อเดินทางมาถึง ก็ไดทําการปกกลดเรียงรายอยู
ตามชายปาประมาณ ๕-๖ แหง ดงปาพงในสมัยน้ัน มีสภาพเปนปาทึกรกราง ชุกชุมดวยไข
ปา ในอดีตปาพงเปนดงใหญ มีแหลงน้ําอุดมสมบูรณ เปนที่อยูอาศัยของสัตวปานานาชนิด
ชาวบานเรียกดงดินน้ีวา “หนองปาพง” เพราะเปนที่อยูอาศัยสัตวปานานาชนิด ตอมา
บริเวณผืนปาท่ีกวางใหญไดถูกทําลายหมดไป ยังคงเหลือเพียงสวนที่เปนบริเวณของวัดใน
ปจ จบุ ัน

สาเหตุท่ีปาน้ีถูกบุกรุกถากถางเพราะชาวบานเชื่อถือกันวา มีอํานาจลึกลับแฝง
เรนอยูในดงน้ัน เพราะปรากฏอยูเสมอวา คนที่เขาไปทําไรตัดไมหรือลาสัตว เม่ือกลับ
ออกมามกั มอี นั ตอ งลมตายไปทกุ ราย โดยทหี่ าสาเหตไุ มไ ด ชาวบานจงึ พากันเกรงกลัวภัยมือ
น้ัน มี่มีใครกลาเขาไปทําลาย หรืออาศัยทํากันในปาน้ีเลย ดงปาพงจึงดํารงความเปนอยู
อยางสมบูรณ ช่ือ วัดหนองปาพง น้ีเปนชื่อท่ีทานคิดต้ังขึ้นเอง โดยอาศัยสภาพภูมิประเทศ
เปนหลัก แตช่ือท่ีชาวบานเรียกกันติดปากก็คือวัดปาพง โดยระยะแรกๆ หลวงพอชา สุภทฺ
โท และลกู ศิษยต อ งตอ สอู ยางเดด็ เด่ียวกันไขปากับไขปา ซ่ึงขณะน้ันชุกชุมมากโดยที่ทานไม
ยอมขอความชวยเหลือเลย เพราะวา ทานตองการใหผูที่มาพบเห็นดวยตา แลวเกิดความ
เลอ่ื มใสเอง ทานสอนอยูเสมอวา พระไปยุงกับการหาเงินกอสรางวัด เปนสิ่งนาเกลียดแตให
พระสรา งคน คนจะสรา งวดั เอง

จากวัดเล็กๆ ที่มีบรรณศาลา (กระทอม) ไมกี่หลัง จึงไดมีส่ิงกอสรางอันควรแก
สมณวิสัยเพิ่มเติม จนพอแกความตองการในปจจุบัน ทั้งที่พักอาศัยของภิกษุ สามเณร แมชี
อุบาสก อุบาสิกาที่มาคางแรมเพ่ือปฏิบัติธรรม กระทอมช่ัวคราวไดกลายมาเปนกุฏิถาวร
จาํ นวนมาก ศาลามุงหญา ซึ่งเคยใชเปนที่ฉันและแสดงธรรม ไดเปลี่ยนมาเปนศาลาและโรง
ฉันอันถาวร กําแพงวัด หอระฆังเสนาสนะอื่น ไดเพิ่มมากข้ึนจากแรงศรัทธา ความเลื่อมใส
น้นั เอง

วัดหนองปาพงเปนปาฝายอรัญวาสี เปนสํานักปฏิบัติธรรม ท่ีแวดลอมดวย
ธรรมชาติ อันสงบอันสงัด มีบรรยากาศรมเย็นเหมาะ แกการพํานักอาศัยเพ่ือบําเพ็ญสมณ
ธรรม

๓๔ ขบวนการพระพุทธศาสนาใหมในโลกปจ จุบนั
พระมหามติ ร ฐิตปโฺ ญ,ผศ.ดร.
บทท่ี ๒ สํานกั วดั หนองปา พง

ชีวิตพระในวัดหนองปาพง ยึดหลักพระธรรมวินัยที่พระพุทธองคทรงบัญญัติไว
เปนแนวทางปฏิบัติฝกหัดกายวาจาใจในชีวิตประจําวัน เนนการศึกษาประพฤติ ปฏิบัติให
บริสุทธ์ิบริบูรณในศีล สมาธิ ปญญา พรอมท้ังนําธุดงควัตร ๑๓ และ ๑๔ และกําหนดกฎ
กติการะเบียบตางๆ มาผสมผสานเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อสงเสริมการบําเพ็ญสมณธรรมให
ดาํ เนนิ ไปดว ยดีและมคี วามละเอยี ดลึกซึ้งยิ่งขน้ึ

ตอมาเห็นวาควรต้ังเปนสํานักสงฆ จึงไดเร่ิมการปลูกสรางเสนาสนะข้ึนดวยแรง
ศรัทธาจากญาติโยมชาวบานกอและบานกลาง มีกุฏิเล็กๆ ๓-๔ หลัง มุงดวยหญาคา ปูดวย
ฟากไมไ ผ ฝาทําดวยใบตองชาดและตน เลาตนแขม ตอจากน้ันหลวงพอก็พาญาติโยมออกไป
ปกเขตวัดเน้อื ที่ประมาณ ๑๘๗ ไร และตัดถนนรอบ หลวงพอตั้งชื่อวัดวา “วัดหนองปาพง”
แตชาวบา นมักเรยี กกนั ติดปากวา วดั ปา พง

สภาพปจจุบันของวัดหนองปาพง เปนสํานักวัดปาที่มีพระภิกษุสามเณรมาอาศัย
ประพฤติปฏิบัติธรรมเรือนรอย มีกุฏิพระกวา ๗๐ หลัง กุฏิแมชีกวา ๖๐ หลัง นอกจากน้ัน
ยงั มีโบสถ ศาลาอเนกประสงค โรงฉนั เมรเุ ผาศพ เปนตน บนเน้ือท่ี ๓๐๐ ไร

นอกจากนั้น วัดหนองปา พงยังมวี ัดสาขาในประเทศไทย ๘๒ แหง ในตางประเทศ
๘ แหง สาขาสํารองอีก ๕๑ แหง หลวงพอใหเหตุผลของการขยายสาขาไวหลายประการ
เปน ตนวา เพ่ืออนเุ คราะหญาตโิ ยมผตู องการสรางวดั ปาใกลบ านของตน เพือ่ เปน ท่ีพง่ึ ทางใจ
การสงพระออกไปตามคํานิมนตของชาวบานอยางน้ี ถือเปนการตอบสนองความตองการ
ของสังคม สําหรับพระเถระที่รับผิดชอบเปนเจาของสํานักในแตละวัด ทานก็ไดมีโอกาสใช
ความรูความสามารถที่ไดศึกษามา สรางประโยชนแกพระศาสนามากข้ึน และการที่หลวง
พอคอยสงคนเกาออกจากวัดหนองปา พงเรอื่ ยๆ ก็ทาํ ใหม ที ี่วา งสาํ หรับคนใหมอ ยูเ สมอ

๒.๕ หนาทีก่ ารงาน

๑. เปน เจาอาวาสวดั หนองปาพง เมอื่ วนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๑๖
๒. ไดร ับพระราชทานเปน พระราชาคณะมีนามวา พระโพธิญาณเถร เม่ือวันที่ ๕
ธนั วาคม ๒๕๑๖
๓. ป ๒๕๑๗ ไดรับหนังสือใหเขาไปอบรมเปนพระอุปชฌาย และไดรับตราต้ัง
พระอปุ ช ฌาจารย เมื่อวันท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๑๗

๒.๖ การปกครองและนกิ าย

เร่ืองของใจตอความเปนนิกายนี้หลวงพอชาเคยสงสัยและก็ไดรับความกระจาง
จากหลวงปูมั่นมาแลว หลังจากนั้นทานก็ไมไดใสใจกับเรื่องนี้ แตพอไดเปนเจาอาวาสวัด


Click to View FlipBook Version