The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amway-am, 2021-06-04 11:12:14

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

Keywords: Education Label

ทฤษฎแี ละพฒั นาการทางภาษาของเด็ก

C

ปฐมวยั

1. ทฤษฎขี องนักพฤตกิ รรมศาสตร์ (The Behaviorist View)

การเรยี นรูภ้ าษาของเดก็ เป็นการเรยี นรูท้ เ่ี กดิ ข้นึ จากผลการปรบั สง่ิ แวดลอ้ มของแต่ละบคุ คลทม่ี อี ยู่ในตนเอง ในขณะทเ่ี ดก็ เจรญิ เติบโตข้นึ เร่อื ย ๆ แรงเสรมิ ใน
ทางบวกจะถกู นามาใชเ้มอ่ื ภาษาของเดก็ ใกลเ้คยี ง หรอื ถกู ตอ้ งตามภาษาผูใ้ หญ่ ซง่ึ นกั พฤตกิ รรมศาสตรม์ คี วามเชอ่ื เก่ยี วกบั การเรยี นภาษาของเดก็ คอื

- เดก็ เกดิ มาโดยมศี กั ยภาพในการเรยี นรู้ ซง่ึ เป็นส่วนหน่งึ ของการถา่ ยทอดทางกรรมพนั ธุ์ โดยปราศจากความสามารถพเิ ศษทางดา้ นการเรยี นทางใด
ทางหน่งึ

- การเรยี นรู้ ซง่ึ รวมถงึ การเรยี นภาษาเกดิ ข้นึ โดยการทส่ี ง่ิ แวดลอ้ มเป็นผูป้ รบั พฤตกิ รรมผูเ้รยี น
- พฤตกิ รรมทวั่ ไปรวมทง้ั พฤตกิ รรมภาษา ถกู ปรบั โดยแรงเสรมิ จากการตอบสนองทเ่ี กดิ ข้นึ จากสง่ิ เรา้
- ในการปรบั พฤตกิ รรมทซ่ี บั ซอ้ นอย่างเช่นภาษา จะมกี ระบวนการเลอื กหรอื ทาใหก้ ารตอบสนองเฉพาะเจาะจงข้นึ โดยผ่านการใชแ้ รงเสรมิ ทางบวก
ถงึ แมว้ า่ การตอบสนองทวั่ ไปและชนดิ งา่ ย ๆ จะไดแ้ รงเสรมิ ทางบวกตง้ั แต่เร่มิ ตน้ แต่การใหแ้ รงเสรมิ ในระยะหลงั ๆ จะถกู นามาใชก้ บั การตอบสนองทซ่ี บั ซอ้ นและ
ใกลเ้คยี งกบั เป้าหมายทางพฤตกิ รรมสูงสุด

2. ทฤษฎสี ภาวะตดิ ตวั โดยกาเนิด (The Nativist View)

ทฤษฎนี ้มี คี วามเช่อื เก่ยี วกบั กฎธรรมชาติ หรอื กฎเก่ยี วกบั สง่ิ ทเ่ี ป็นมาแต่กาเนิด โดยมคี วามคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การเรยี นรูภ้ าษาของเดก็ แตกต่างจากนกั
พฤตกิ รรมศาสตรส์ องประการสาคญั คอื

- การใหค้ วามสาคญั ต่อองคป์ ระกอบภายในบคุ คลเก่ยี วกบั การเรยี นรูภ้ าษา
- การแปลความบทบาทขององคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ มในการเรยี นรูภ้ าษา

ชอมสก้แี ละแมคนีล (McNeill ) เลน็ เบริ ก์ (Lenneberg)
เดก็ ทกุ คนเกดิ มาโดยมโี ครงสรา้ งทางภาษาศาสตรอ์ ยู่ ตราบใดทเ่ี ดก็ อยู่ในสง่ิ แวดลอ้ มทางภาษาพดู เดก็ จะ
ในตวั หรอื ตดิ ตวั โดยกาเนิด ดงั นน้ั เรยี นรูก้ ารใชภ้ าษา พฒั นาการพดู โดยอตั โนมตั ิ และความสามารถทางภาษาจะแยก
เป็นอสิ ระจากระดบั ไอควิ มนุษยม์ อี วยั วะทพ่ี รอ้ มสาหรบั การ
ของตนทง้ั ดา้ นความหมายประโยค และเสยี ง เรยี นรูภ้ าษา ถา้ สมองส่วนน้ชี ารดุ หลงั จากวยั รุ่นตอนตน้ (อายุ
ประมาณ12 ปี) จะทาใหก้ ารเรยี นรูภ้ าษาใหมไ่ ดย้ าก

3. ทฤษฎขี องนักสงั คมศาสตร์ (The Socialist View)
นกั ทฤษฎสี งั คมหรอื ทฤษฎวี ฒั นธรรมจะใหค้ วามสนใจเก่ยี วกบั ผลกระทบของสง่ิ แวดลอ้ มทางภาษาของผูใ้ หญ่ทม่ี ตี ่อพฒั นาการทางภาษาของเดก็

ผลการวจิ ยั กลา่ ววา่ วธิ ีการทผ่ี ูใ้ หญ่หรอื พอ่ แมป่ ฏบิ ตั ติ ่อเดก็ มผี ลต่อพฒั นาการทางภาษา และพฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของเดก็ วธิ ีการเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ การอ่านหนงั สอื
ใหเ้ดก็ ฟงั การสนทนาระหวา่ งรบั ประทานอาหาร การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การสนทนา เป็นตน้

4. ทฤษฎขี องนกั จติ วทิ ยาภาษาศาสตร์ (Psycholinguistics Theory)
ทฤษฎนี ้ีชอมสก้ี (Chomskey) การเรยี นรูภ้ าษาเป็นเรอ่ื งซบั ซอ้ นซง่ึ จะตอ้ งคานึงถงึ โครงสรา้ งภาษาในตวั เดก็ ดว้ ย

5. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญั ญาของเพยี เจท์ (Piaget Theory)
เพยี เจท์ (Piaget) เช่อื วา่ การเรยี นรูภ้ าษาเป็นผลจากความสามารถทางสตปิ ญั ญา เดก็ เรยี นรูจ้ ากการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั โลกรอบตวั ของเขา เดก็ จะ

เป็นผูป้ รบั สง่ิ แวดลอ้ มโดยการใชภ้ าษาของตน ดงั ตวั อย่างต่อไปน้ี

1. เด็กมีอทิ ธิพลตอ่ วธิ ีการท่แี ม่พดู กบั เขา จากผลการวจิ ยั ปรากฏวา่ แมจ่ ะพดู กบั ลูกแตกต่างไปจากพดู กบั ผูอ้ ่นื เพ่อื รกั ษาการมปี ฏสิ มั พนั ธต์ ่อกนั

2. เด็กควบคมุ สง่ิ แวดลอ้ มทางภาษา เพอ่ื ไดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง เดก็ ตอ้ งการคน้ พบวา่ เสยี งทไ่ี ดย้ นิ มคี วามหมายอย่างไร มโี ครงสรา้ งเพ่ือองคป์ ระกอบพ้นื นานอะไร

3. การใชส้ ่งิ ของหรอื บคุ คลเป็ นสง่ิ สาคญั ในการสรา้ งความเขา้ ใจ พ้นื นานวา่ ผูใ้ หญ่เหน็ หรอื ไดย้ นิ เขาพดู เดก็ อาจเคลอ่ื นไหวตวั หรอื จบั ขวา้ ง ปา บบี ของเลน่ นนั่ คอื
เดก็ ตอ้ งมปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งตนเองกบั สง่ิ ต่าง ๆ ในสง่ิ แวดลอ้ ม

เพยี เจท์ (Piaget) ยนื ยนั วา่ พฒั นาการทางภาษาของเดก็ เป็นไปพรอ้ ม ๆ กบั ความสามารถดา้ นการใหเ้หตผุ ล การตดั สนิ และดา้ นตรรกศาสตร์
เดก็ ตอ้ งการสง่ิ แวดลอ้ มทจ่ี ะส่งเสรมิ ใหเ้ดก็ สรา้ งกฎ ระบบเสยี ง ระบบคา ระบบประโยค และความหมายของภาษา นอกจากน้เี ดก็ ยงั ตอ้ งการฝึกภาษาดว้ ยวธิ กี าร
หลาย ๆ วธิ ีและจดุ ประสงคห์ ลาย ๆ อย่าง

1. ทฤษฎคี วามพงึ พอใจแห่งตน (The Autism Theory หรอื Austistic Theory)
การเรยี นรูก้ ารพูดของเดก็ เกดิ จากการเลยี นเสยี งอนั เน่ืองจากความพงึ พอใจทไ่ี ดก้ ระทาเช่นนน้ั โมวเ์ รอร์
(Mower) เช่อื วา่ ความสามารถในการฟงั และความเพลดิ เพลนิ กบั การไดย้ นิ เสยี งของผูอ้ ่ืนและ
ตนเองเป็นสง่ิ สาคญั ต่อพฒั นาการทางภาษา
2. ทฤษฎกี ารเลยี นแบบ (The Imitation Theory)

พฒั นาการทางภาษานนั้ เกิดจากการเลยี นแบบ ซง่ึ อาจเกดิ จากการมองเหน็ หรอื การไดย้ นิ เสยี ง

3. ทฤษฎเี สรมิ แรง (Reinforcement Theory)

พฤตกิ รรมทง้ั หลายถกู สรา้ งข้นึ โดยอาศยั การวางเงอ่ื นไข ไรน์โกลต์ (Rhiengold) และคณะได้
ศึกษาพบวา่ เดก็ จะพดู มากข้นึ เมอ่ื ไดร้ างวลั หรอื ไดร้ บั การเสรมิ แรง

4. ทฤษฎกี ารรบั รู้ (Motor Theory of Perception)

การรบั รูท้ างการฟงั ข้นึ อยู่กบั การเปลง่ เสยี ง เดก็ มกั จอ้ งหนา้ เวลาเราพูดดว้ ย
และพูดซา้ กบั ตวั เอง หรอื หดั เปลง่ เสยี งโดยอาศยั การอ่านรมิ ฝีปากและเรยี นรูค้ า
5. ทฤษฎคี วามบงั เอญิ จากการเลน่ เสยี ง (Babble Buck)

เมอ่ื เดก็ กาลงั เลน่ เสยี งอยู่นน้ั เผอญิ มเี สยี งบางเสยี งไปคลา้ ยกบั เสยี งทม่ี คี วามหมาย
ในภาษาพดู ของพ่อแม่ พอ่ แม่จงึ ใหก้ ารเสรมิ แรงทนั ที

6. ทฤษฎชี ีววทิ ยา (Biological Theory)

กระบวนการทค่ี นพดู ไดข้ ้นึ อยู่กบั อวยั วะในการ
เปลง่ เสยี ง เดก็ จะเรม่ิ สง่ เสยี งออ้ แอ้ และพดู ไดต้ ามลาดบั

7. ทฤษฎกี ารใหร้ างวลั ของพอ่ แม่ (Mother Reward Theory)

วา่ ภาษาทแ่ี มใ่ ชใ้ นการเล้ยี งดูเพอ่ื เสนอความตอ้ งการของลูกนนั้ เป็นอทิ ธิพลทท่ี าให้
เกดิ ภาษาพดู แก่ลูก

เนสเซล (Nessel) ไดอ้ า้ งถึงผลงานวจิ ยั เก่ียวกบั
พฒั นาการทางภาษาของเดก็ วา่ ประกอบดว้ ย
ข้นั ตอนต่อไปน้ี คือ

ข้นั ท่ี 1 (10 – 18 เดือน) ข้นั ที่ 2 (18 – 24 เดือน) ข้นั ที่ 3 (24 – 30 เดือน)

เดก็ จะควบคุมการออกเสียงคาที่จาได้ การพดู ข้นั น้ีจะเป็นการออกเสียงคาสองคา เดก็ จะเรียนรู้ศพั ทเ์ พ่ิมข้ึนถึง 450 คา วลีจะ
สามารถเรียนรู้คาศพั ทใ์ นการส่ือสารถึง 50 และวลีส้นั คลา้ ย ๆ กบั โทรเลข คือมีเฉพาะ ยาวข้ึนพดู ประโยคความเดียวส้นั ๆ มี
คา คาเหล่าน้ีจะเกี่ยวขอ้ งกบั คน สตั ว์ สิ่งของ คาสาหรับสื่อความหมายเดก็ เรียนรู้คาศพั ท์
มากข้ึนถึง 300 คา รวมท้งั คากิริยาและคา คาคุณศพั ทร์ วมอยใู่ นประโยค
หรือเร่ืองราวในสิ่งแวดลอ้ ม
ปฏิเสธ

ข้นั ที่ 4 (30 – 36 เดือน) ข้นั ที่ 5 (36 – 50 เดือน)

คาศพั ทจ์ ะเพ่ิมมากข้ึนถึง 1,000 คา ประโยค เดก็ สามารถสื่อสารอยา่ งมีประสิทธิภาพใน
เริ่มซบั ซอ้ นข้ึน ครอบครัวและผคู้ นรอบขา้ ง จานวนคาศพั ทท์ ี่
เดก็ รู้มีประมาณ 2,000 คา เดก็ ใชโ้ ครงสร้าง

ของประโยคหลายรูปแบบ

เยาวพา เดชะคุปต์ ไดแ้ บ่งข้นั ตอนของพฒั นาการทางภาษาของเดก็ เป็น 7 ระยะคือ

1. ระยะเปะปะ (Randon Stage หรือ Prelinguistic Stage) อายแุ รกเกิด ถึง 6 เดือน ในระยะน้ีเป็o
ระยะที่เดก็ จะเปล่งเสียงดงั ๆ ที่ยงั ไม่มีความหมาย

2. ระยะแยกแยะ (Jergon Stage) อายุ 6 เดือน ถงึ 1 ปี หลงั จาก 6 เดือนข้ึนไปเดก็ จะเร่ิมเขา้ สู่ระยะ
ท่ี 2 ซ่ึงเดก็ จะสามารถแยกแยะเสียงต่าง ๆ ที่เขาไดย้ นิ

3. ระยะเลยี นแบบ (Imitation Stage) อายุ 1 – 2 ปี ในระยะน้ีเดก็ จะเร่ิมเลียนเสียงต่าง ๆ ที่เขาไดย้ นิ
เช่น เสียงของพอ่ แม่ ผใู้ หญ่ท่ีใกลช้ ิด

4. ระยะขยาย (The Stage of Expansion) อายุ 2 – 4 ปี ในระยะน้ีเดก็ จะหดั พดู โดยจะเร่ิมจากการ
หดั เรียกช่ือ คน สตั ว์ และส่ิงของที่อยใู่ กลต้ วั

5. ระยะโครงสร้าง (Structure Stage) อายุ 4 – 5 ปี ระยะน้ีเดก็ จะเริ่มพฒั นาความสามารถในการ
รับรู้และการสงั เกต เดก็ จะเร่ิมเล่นสนุกกบั คาและรู้จกั คิดคาและประโยคของตนเอง

6. ระยะตอบสนอง (Responding Stage) อายุ 5 – 6 ปี ในระยะน้ีเดก็ จะมีความสามารถในการคิด
และพฒั นาการทางภาษาสูงข้ึน เขาจะเริ่มพฒั นาภาษาไปสู่ภาษาที่เป็นแบบแผนมากข้ึน

7. ระยะสร้างสรรค์ (Creative Stage) อายุ 6 ปี ขนึ้ ไป ในระยะน้ีไดแ้ ก่ ระยะที่เดก็ เริ่มเขา้ โรงเรียน
เดก็ จะเล่นสนุกกบั คาและหาวิธีส่ือความหมายดว้ ยตวั เลข เดก็ ในระยะน้ีจะพฒั นา วเิ คราะห์ และ
สร้างสรรคท์ กั ษะในการสื่อความหมาย

1. วุฒภิ าวะ
2. สิ่งแวดล้อม
3. การเข้าใจความหมายภาษาทใ่ี ช้พดู
4. การให้มพี ฒั นาการท้งั หมด
5.ข้นั ตอนและการจัดช้ันเรียน
6. การมสี ่วนร่วม

มีขอบข่ายที่สาคญั 3 ประการคือ
1. ศึกษาถึงธรรมชาติของการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดถึงธรรมชาติของการคิด การจา และการลืม
2. ศึกษาถึงเชาวนป์ ัญญา ความถนดั ความสนใจ และทศั นคติ ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบสาคญั สาหรับการเรียนรู้
3. ศึกษาถึงบุคลิกภาพ การปรับตวั และวธิ ีการปรับพฤติกรรม

1. จุดมุ่งหมายของการศึกษาจติ วทิ ยาการเรียนรู้

1. เพื่อใหเ้ ขา้ ใจในพฤติกรรมของเดก็ แต่ละวยั และสามารถจดั ประสบการณ์
ใหแ้ ก่เดก็ ไดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ ง เหมาะสมกบั เดก็
2. เพื่อใหเ้ ขา้ ใจในธรรมชาติและพฒั นาการของเดก็ ในทุก ๆ ดา้ นตลอดจน
รู้วธิ ีการสร้างแรงจูงใจในการเรียนการสอน
3. เพ่ือช่วยใหค้ รูเขา้ ใจในการเตรียมบทเรียน วธิ ีการสอน วิธีการประเมินผลใหส้ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ และพฒั นาการ
ของเดก็
4. เพ่ือช่วยใหค้ รูไดน้ าเทคนิควธิ ีการใหม่ ๆ ทางการศึกษามาพฒั นาใหเ้ ดก็
มีพฒั นาการท่ีดีข้ึน เช่น การคิด ความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ

2. ธรรมชาตขิ องการเรียนรู้ ความต้องการของผู้เรียน (Want)
1. ความตอ้ งการอยากรู้อยากเห็นส่ิงใดกต็ าม จะเป็นส่ิงยวั่ ยใุ หผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ได้
2. ส่ิงเร้าที่น่าสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรียนรู้ไดจ้ ะตอ้ งมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสมั ผสั สาหรับผเู้ รียนเพ่ือทาใหผ้ เู้ รียนดิ้นรน
ขวนขวายและใฝ่ ใจท่ีจะเรียนรู้ในส่ิงท่ีน่าสนใจน้นั ๆ
3. การตอบสนอง (Response) เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสมั ผสั ผเู้ รียนจะทาการสมั ผสั โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง
ลิ้นชิม จมูกดม ผวิ หนงั สมั ผสั และสมั ผสั ดว้ ยใจ เป็นตน้ ทาใหม้ ีการแปลความหมายจากการสมั ผสั สิ่งเร้า เป็นการรับรู้ จาได้ ประสาน
ความรู้เขา้ ดว้ ยกนั มีการเปรียบเทียบและคิดอยา่ งมีเหตุผล
4. การไดร้ ับรางวลั (Reward) ภายหลงั จากการตอบสนองผเู้ รียนแลว้ ผเู้ รียนอาจเกิดความพึงพอใจ ซ่ึงเป็นกาไรชีวิตอยา่ งหน่ึงจะได้

นาไปพฒั นาคุณภาพชีวิต

3. การเรียนรู้ทางภาษา
1. ครูควรตรวจสอบความรู้และประสบการณ์ของผเู้ รียนวา่ ไดม้ ีความรู้เดิมในดา้ นภาษาเป็นอยา่ งไร
2. ตรวจสอบเน้ือหาวิชาดา้ นภาษาท่ีจะสอน ใหม้ ีความหมายกบั ผเู้ รียน
3. ต้งั วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม และอธิบายใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจกบั สิ่งที่คาดหวงั วา่ จะใหเ้ กิดพฤติกรรมการเรียนรู้ข้ึน
4. จดั ใหม้ ีการฝึกหดั อยา่ งเหมาะสม การฝึกหดั กบั การเรียนรู้ทางภาษาจาเป็นตอ้ งมีคูก่ นั เสมอ
5. ใหม้ ีความรู้ที่จะตอบสนองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
6. จดั สภาพการณ์ที่ลดสิ่งขดั ขวาง โดยการพิจารณาเน้ือหาวชิ าท่ีคลา้ ยคลึงกนั และท่ีใกลเ้ คียงกนั ใหน้ ามารวมเขา้ ดว้ ยกนั
7. จดั วธิ ีวดั ผลที่เหมาะสม โดยพิจารณาวา่ ตรงกบั วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ที่ต้งั ไวห้ รือไม่


Click to View FlipBook Version