The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Black Orange Modern Call For Papers Academic Research Poster

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nalintorn, 2022-07-14 11:32:54

Black Orange Modern Call For Papers Academic Research Poster

Black Orange Modern Call For Papers Academic Research Poster

สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน

ปัญหายาเสพติดนับวันจะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ปัญหานี้ก่อให้เกิดความเสียหายต่าง
ท้ั้งผู้เสพ ครอบครัว สังคม ประเทศชาติและโลก โดยส่วนรวมมากมายมหาศาลและมีแนวโน้ม


ว่าจะขยายตัว ต่อเนื่องตามสภาพความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม แล้วยังพบอีกว่า

ด้านกลุ่มผู้เสพมีการแพร่ ระบาดขยายฐานจากกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ผู้ขับรถยนต์และเกษตรกร
ไปสู่กลุ่มผู้ว่างงานและกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ซึ่งมีแนวโน้มสูงข้ึน ทำให้ประเทศต้องสูญเสีย
พลเมืองและเยาวชนไปเป็นจานวนมากเพราะ ยาเสพติดทาลายท้ังสุขภาพและอนาคต ตลอด


จนถึงขั้นการสูญเสียชีวิตของตนอย่างน่าเสียดาย อนึ่ง ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาท่ีบ่ันทอน

เสถียรภาพของประเทศท้ังทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของ ชาติ อันเป็นผลให้ประเทศ
ต้องสูญเสียปัจจัยการผลิตในส่วนท่ีเป็นกาลังทางด้านบุคคลและกาลังทรัพย์ เป็นจานวนมาก
รวมทั้งก่อให้เกิดอาชญากรรม ตลอดจนทำลายวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมและ ประเทศชาติ

ความหมายของสารเสพติด

ยาเสพติด หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุใดๆ ซึ่งเมื่อ
เสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยการกิน ดม สูบ ฉีด หรือ
ด้วยวิธีการใด ๆ แล้วจะทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ

รวมตลอดถึงพืชที่เป็นหรือใ
ห้ผลผลิตเป็นหรืออาจใช้ผลิต

เป็นยาเสพติด และสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย

ประเภทของสารเสพติด

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
ได้แบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้

ประเภท ประเภท

ยาเสพติดให้โทษทั่วไป มี 102 รายการ ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงมี 38 รายการ
เช่น ใบโคคา โคคาอีน โคเดอีน ยาสกัดเข้มข้นของต้ม เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน แมทแอมเฟตามีน

ฝืนแห้ง เมทาโดน มอร์ฟิน ฝีนยา (ยาบ้า) เอ็กซ์ตาซี และแอลเอสดี


ประเภท

ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นต้นตำรับยาและมียาเสพติดให้


โทษประเภท 2 ผสมอยู่ คือ ยารักษาโรคที่มียาเสพติด

ประเภท 2 เป็นส่วนประกอบอยู่ในสูตร เช่น ยาแก้ไอ
ยาแก้ท้องเสีอเล็กน้อย

ประเภท


สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ
ประเภท 1 หรือ 2 มี 32 ราย เช่น อาเซตี

แอนไฮไดรด์ อาเซติล คลอไรด์

ประเภท

ยาเสพติดให้โทษที่ไม่เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึง
4 มี 4 รามคารค่อ,กัญชาขีชาระท่อม

พืชฝืน ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืช
กระท่อม และพืชเห็ดขี้ควาย

ประเภทของสารเสพติด

แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท

ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝืน มอร์ฟิน
เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท



ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่

แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอื่น


ประเภทหลอนประสาท ได้แก่


แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย

ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ
อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้พร้อมๆ กัน

ได้แก่ กัญชา

ความผิดปกติที่เกิดจากสารเสพติด

ภาวะเป็นพิษ

iNTOXICATION

ตามเกณฑ์การวินิจฉัย DSM-5 ประกอบด้วย
1) มีอาการและอาการแสดงอย่างเฉพาะเจาะจงของสาร จากการที่เพิ่งใช้สารนั้น
2)มีพฤติกรรมหรือจิตใจเปลี่ยนแปลงผิดปกติอย่างมีนัยสำคัญทางคลินิกที่เกี่ยว
กับภาวะเป็นพิษของสารนั้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเฉพาะเกิดขึ้นไม่
นาน ขณะหรือหลังเสพสารนั้น
3)อาการไม่ได้เกิดจากภาวการณ์เจ็บป่วยทางกายอื่น และไม่สามารถอธิบายด้วย
ความผิดปกติทางจิตอื่นได้ดีกว่า

ภาวะถอนสารเสพติด

substance withdrawal

ตามเกณฑ์การวินิจฉั
ย DSM-5 ประกอบด้วย

1) มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมร่วมกับและความคิดอย่างเฉพาะเจาะจงจาก

การหยุดหรือลดใช้สารนั้นหลังจากการเสพสารนั้นอย่างมากเป็นเวลานาน


2) อาการและอาการแสดงอย่างเฉพาะเจาะจงของสารก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน

อย่างมีนัยสำคัญทางคลินิก หรือมีความบกพร่องทางสังคม การงาน การทำหน้าที่

ด้านอื่นที่สำคัญ และ

3) อาการไม่ได้เกิดจากภาวการณ์เจ็บป่วยทางกายอื่น และไม่สามารถอธิบายด้วย

ความผิดปกติทางจิตอื่นได้ดีกว่า
ความผิดปกติทางจิต
mental disorder

โรคจิต เช่น อาการหลงผิด ประสาทหลอน การย้ำคิดย้ำทำ
อารมณ์สองขั้วความผิดปกติของการนอนหลับ โรคซึมเศร้า
ปัญหาการตอบสนองทางเพศผิดปกติความวิตกกังลผิดปกติ

ความผิดปกติของการรู้คิด (neurocognitive disorder)
อาการเพ้อ (delirium)

โรคสมองติดยา

การใช้ยาเสพติดจะมีผลต่อสมอง 2 ส่วน คือ สมองส่วนนอกหรือเรียกว่าสมองส่วนคิด และสมองส่วนที่อยู่ชั้นใน
หรือสมองส่วนอยาก สมองส่วนคิดจะทำหน้าที่ควบคุมสติปัญญาใช้ความคิดแบบมีเหตุผล ขณะที่สมองส่วนอยาก
จะเป็นศูนย์ควบคุมมณ์ ความรู้สึก เวลาคนเราเสพยาเสพติด ตัวยาจะไปกระตุ้นทำให้สมองสร้างสารเคมี ชื่อโดปามีน
ซึ่งเป็นสาเกิดความรู้สึกมีความสุข แต่ยาเสพคิดทำให้สมองสร้างโดปามีนมากว่าที่ธรรมชาติกำหนด จนทำให้รู้สึก
เป็นสุขมากขึ้นกว่าปกติแบบผิดธรรมชาติ สมองจึงมีการปรับตัวด้วยการลดการหลั่งสารเคมีนั้นลงเมื่อหมดฤทธิ์
ของยาเสพติดจึงเสมือบว่าร่างกายมีอาการ ขาดสารโดปามีนทำให้มีอาการหงุดหงิดหรือซึมเศร้า ส่งผลให้ผู้เสพยา

พยายามแสวงหายามาใช้ซ้ำในขณะเดียวกันเมื่อใช้ยาเสพติดบ่อยๆ จะทำให้สมองส่วนคิดถูกทำลาย
การใช้ความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลจะเสียไป แล้วสมองส่วนอยากจะอยู่เหนือสมองส่วนคิด จนทำอะไรตามใจ


ตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล




Prefrontal Cortex Brain Reward Patihway

สมองส่วนความคิด
สมองส่วนความยาก

คิดด้วยสติปัญญา ความมีเหตุผล การคิด ควบคุมอารมณ์ ความยาก ดื้อต่อสิ่ง
ตัดสินใจแย่ลงขาดความยับยั้งชั่งใจ กระตุ้น เร้าตามธรรมชาติ ไวต่อยาเสพติด


Click to View FlipBook Version