The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasom1028, 2021-01-27 23:08:38

การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส

การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส

Keywords: การแแบ่งเซลล์

การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ
MITOSIS

การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ (MITOSIS)

คือ การเพิ่มจานวนของเซลล์ร่างกาย (Somatic
Cell) ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular Organism)
เช่น พืช สัตว์และมนุษย์ และเป็นการแบ่งเซลล์เพ่ือการ
สืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (Unicellular Organism)
และการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในพืช ซึ่งการแบ่งเซลล์แบบไม
โทซิสเป็นการเพิ่มจานวนเซลล์จาก 1 เซลล์ด้ังเดิมเพิ่ม
จานวนข้ึนเป็น 2 เซลล์ โดยท่ีเซลล์เกิดใหม่ยังคงมี
คุณสมบัติเหมือนเซลล์ต้นแบบทุกประการ ทั้งชนิดและ
จานวนของโครโมโซม (Chromosome) ซ่ึงการแบ่งตัว
แบบไมโทซิสน้ี สามารถจาแนกออกเป็น 5 ระยะหรือท่ี
เรยี กกนั ว่า “วฏั จกั รเซลล”์ (Cell Cycle) ไดด้ งั นี้

ระยะอนิ เตอรเ์ ฟส (INTERPHASE)

เป็นระยะพักและเตรียมการแบ่งเซลล์ กิจกรรม
ของเซลล์ในระยะนี้มีการเจริญเติบโตเต็มที่ มี
กระบวนการเมทาบอลิซึม (Metabolism) สูงเซลล์
สะสมวัตถุดิบสาหรับการสังเคราะห์สารต่าง ๆ และที่
สาคัญคือ การสังเคราะห์สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ
(DNA) เพิ่มขึ้น ทาให้มีการจาลองตัวของโครโมโซม
เพ่ิมข้ึน 1 ชุดเพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการแบ่งตัวของ
นิวเคลยี สและไซโทพลาซมึ ในขัน้ ตอนต่อไป

ระยะโพรเฟส (PROPHASE)

โครงสร้างของโครโมโซมจะปรากฏให้เห็นเป็นรูป
ตัวเอกซ์ (X) ชัดเจนขึ้นโดยในเซลล์ของสัตว์มีการ
เคลื่อนที่ของเซนทริโอล (Centriole) ซึ่งเคล่ือนตัวไป
อยู่บริเวณข้ัวตรงข้ามท้ัง 2 ด้านของเซลล์ ก่อนสร้าง
เส้นใยโปรตีนท่ีเรียกว่า “ไมโทติกสปินเดิล” (Mitotic
Spindle) หรือ “สปินเดิลไฟเบอร์” (Spindle Fiber)
ไปยึดเกาะเซนโทรเมียร์ (Centromere) หรือบริเวณ
จุดกง่ึ กลางของโครโมโซม ซึ่งในเซลล์พืชจะมีขั้วตรงกัน
ข้าม (Polar Cap) ทาหน้าที่แทนเซนทริโอล โดยใน
ปลายระยะนี้เย่ือหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
และนิวคลีโอลัส (Nucleolus) ภายในเซลล์จะค่อย ๆ
สลายตัวไป

ระยะเมทาเฟส (METAPHASE)

เ ป็ น ร ะ ย ะ ท่ี เ ส้ น ใ ย ส ปิ น เ ดิ ล ห ด ตั ว แ ล ะ ดึ ง ใ ห้
โครโมโซมมาเรียงตัวอยู่ร่วมกันในแนวก่ึงกลางของ
เซลล์ และเป็นช่วงเวลาท่ีโครโมโซมมีการหดตัวลงส้ัน
ท่ีสุด เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการแบ่งตัวและการ
เคล่ือนที่ ส่งผลให้ระยะเมทาเฟสเป็นช่วงเวลาท่ี
เหมาะสมแก่การนับจานวน ศึกษารูปร่าง และความ
ผิดปกตขิ องโครโมโซม (Karyotype) โดยโครโมโซมเริ่ม
มีการเคลอื่ นทีแ่ ยกออกจากกันในช่วงปลายของระยะนี้

ระยะแอนาเฟส (ANAPHASE)

เป็นระยะท่ีเส้นใยสปินเดิลหดสั้นลงจนทาให้
โครมาทิด (Chromatid) หรือ แท่งแต่ละแท่งในคู่
โครโมโซมถูกดึงแยกออกจากกันไปอยู่บริเวณขั้วใน
ทิศทางตรงกันข้ามโครโมโซมภายในเซลล์จะเพ่ิม
จานวนขึ้นเป็น 2 เท่า ซ่ึงถือเป็นกระบวนการแบ่งตัว
เพื่อสร้างเซลล์ใหม่ข้ึน 2 เซลล์ ซึ่งระยะแอนาเฟสเป็น
ระยะท่ีใชเ้ วลาสัน้ ทสี่ ุดในขน้ั ตอนทงั้ หมด

ระยะเทโลเฟส (TELOPHASE)

เป็นระยะที่โครมาทิดซ่ึงแยกออกจากกันหรือที่
เรียกว่า “โครโมโซมลูก” (Daughter Chromosome)
เกิดการรวมกลุ่มกันบริเวณขั้วตรงข้ามของเซลล์
จากนัน้ โครโมโซมลกู แตล่ ะแทง่ จะคลายตัวออกเป็นเส้น
ใยโครมาทิน (Chromatin) ขณะเดียวกันเส้นใยสปิน
เดิลจะละลายตัวไป เกิดนิวคลีโอลัสและเยื่อหุ้ม
นิวเคลยี สข้นึ อกี ครง้ั ลอ้ มรอบเสน้ ใยดังกล่าว ดังนั้นตอน
ปลายของระยะนี้ จะเห็นเซลล์มีนิวเคลียสเพิ่มขึ้นเป็น
2 สว่ น

นางสาวกมลศรี โตะ๊ งาม รหัสนักศกึ ษา
60191420119

นางสาวฐิตารยี ์ เรือปา่ โสมสกลุ รหัสนกั ศกึ ษา
60191420123
สาขาชวี วทิ ยา

มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ ินทร์


Click to View FlipBook Version