อาหารและการย่อยอาหาร
1.1 อาหารและการยอ่ ยอาหาร
อาหารทส่ี ่งิ มชี วี ติ นำเขา้ สู่ร่างกาย มีท้งั อาหารท่ีเปน็ โมเลกุลขนาดเลก็
เชน่ กลโู คส และ กรดอะมิโน ซ่งึ เซลลส์ ามารถนำไปใชไ้ ด้ สำหรบั สารอาหาร
ที่มโี มเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ลพิ ิด ร่างกายจะต้องมี
กระบวนการทำให้เปน็ สารโมเลกุลขนาดเลก็ ก่อน จงึ สามารถนำไปใชไ้ ด้
เรียกกระบวนการน้ีวา่ การยอ่ ยอาหาร (digestion)
1.1.1 การยอ่ ยอาหารของจุลินทรีย์
1. การย่อยอาหารของราและแบคทเี รยี
1.1 รา เน่อื งจากรามผี นงั เซลล์ จึงไมส่ ามารถนำสารโมเลกลุ ใหญ่เขา้
สู่เซลลไ์ ด้ การย่อยอาหารจึงเปน็ การย่อยภายนอกเซลล์
(Extracellular digestion) โดยส่งนำ้ ยอ่ ยหรือเอนไซมอ์ อกมายอ่ ยสาร
โมเลกุลใหญ่ให้เป็นสารโมเลกลุ เลก็ กอ่ น แลว้ จึงดูดซึมสาร โมเลกุลเลก็ เขา้ สู่
เซลล์ การย่อยสารโมเลกุลใหญ่โดยราและแบคทีเรีย จะขนึ้ อยกู่ ับเอนไซม์
อย่างเฉพาะเจาะจง เชน่ ยีสตเ์ จริญได้ดใี นอาหารพวกน้ำตาลเพราะยีสตม์ ี
เอนไซม์อินเวอรเ์ ทส ในการย่อยสลายนำ้ ตาล
ภาพที่ 1.1 ภาพเชื้อราบนขนมปังแสดงโครงสร้างของรา
ทีม่ า :http://www.rogers.k12.ar.us/users/ehutches/tigerbreadmold
1.jpg
ภาพท่ี 1.2 ภาพแสดงเชอื้ ราท่เี พิม่ จำนวนมากขึน้ บนขนมปัง
ท่มี า :www.dkimages.com/discover/previews/758/330848.JPG
1.2 แบคทีเรีย แบคทเี รยี มีการย่อยอาหารโดยส่งนำ้ ยอ่ ยออกมายอ่ ยสาร
โมเลกุลใหญ่ใหเ้ ปน็ สารโมเลกุลเลก็ ก่อนแล้วจงึ ดูดซึมสารโมเลกลุ เลก็ เขา้ สู่
เซลล์ จัดว่าเปน็ การย่อยภายนอกเซลล์
(Extracellular digestion) แบคทีเรยี บางชนิดสามารถยอ่ ยสารอินทรยี ท์ ่ี
มีโครงสร้างสลับซับซ้อนได้ แต่บางชนิดอาจจะย่อยได้เฉพาะสารอนิ ทรยี ์ทมี่ ี
โมเลกลุ ขนาดเลก็
ภาพท่ี 1.3 ภาพแสดงรูปร่างของแบคทีเรยี ชนดิ ต่างๆ
ภาพท่ี 1.4 แสดงโครงสร้างของแบคทีเรยี
ทมี่ า : www.norcalblogs.com
2. การย่อยอาหารของโพรโทซวั โพรโทซวั เป็นโพรตีสตเ์ ซลล์เดียวสร้าง
อาหารเองไมไ่ ด้ ไมม่ ผี นังเซลล์ แต่สามารถเคลอ่ื นทไี่ ด้ ไม่มรี ะบบทางเดิน
อาหารและระบบย่อยอาหารโดยเฉพาะ อาศยั ส่วนตา่ งๆ ของเซลล์ชว่ ยใน
การนำอาหารเขา้ สเู่ ซลล์ อาหารท่ีเข้าไปภายในเซลล์จะอยู่ใน ฟูดแวควิ
โอล (Food vacuole) ภายในไซโทพลาสซึมจากนนั้ ไลโซโซมภายในเซลล์
จะย่อยอาหารซ่ึงเป็นการยอ่ ยภายในเซลล์ (Intracellular
digestion) กากอาหารจะถกู กำจัดออกโดยการแพร่ เชน่ อะมบี า พารามี
เซียม และยกู ลีนา
2.1 อะมีบา อะมีบาเปน็ โพรโทซัวทเี่ คลอื่ นทด่ี ้วย เทา้ เทยี ม อาหารของ
อะมีบาประกอบ ดว้ ยเศษสารอนิ ทรยี ์ เซลล์ แบคทีเรยี สาหรา่ ยและ
ส่งิ มีชีวิตเลก็ ๆ อะมีบานำอาหารจากส่ิงแวดล้อมเข้าสู่เซลล์โดยวธิ ี ฟาโกไซ
โทซสี โดยย่ืนซูโดโพเดียม (Pseudopodium) ออกไปโอบลอ้ มอาหารทำให้
อาหารตกเขา้ ไปอยูภ่ ายในเซลล์แล้วทำให้มีลกั ษณะเปน็ ถงุ เรยี กวา่ ฟดู แวควิ
โอลตอ่ จากนน้ั ไซโทพลาสซึมของอะมบี าจะสร้างน้ำย่อย ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
กรดเกลอื (HCl) ออกมายอ่ ยอาหารภายในฟูดแวควิ โอล การเคลอ่ื นไหว
ของไซโทพลาสซมึ จะทำให้สารอาหารต่างๆ ถูกลำเลียงไปทว่ั ๆ เซลล์ สว่ น
กากอาหารท่ีเหลือขนาดเลก็ จะถูกขบั ออกทางเยือ่ หุม้ เซลล์โดยการแพร่
ภาพท่ี 1.5 แสดงอาหารเขา้ สู่เซลลข์ องอะมบี าโดยEndocytosis การย่อย
อาหาร (Digestion) และอาหารออกจากเซลลข์ องอะมีบาโดยExocytosis
ภาพท่ี 1.6 ภาพแสดงอะมบี าย่นื ซูโดโพเดียม (Pseudopodium) ออกไป
โอบลอ้ มอาหาร
ทำใหอ้ าหารตกเขา้ ไปอยู่ภายในเซลลแ์ ล้วทำให้มีลกั ษณะเปน็ ถุง
เรียกว่าฟดู แวคิวโอล
2.2 พารามเี ซียม พารามเี ซียมเป็นโพรโทซัวทเี่ คลอื่ นทด่ี ว้ ย ขนเซลล์
(Cilia) อาหารของพารามีเซยี มก็คล้ายกับของอะมีบา พารามีเซยี มจะรบั
อาหารจากสง่ิ แวดลอ้ มเขา้ สู่เซลล์ทางร่องปา (Oral groove) โดยซีเลยี ที่
อยบู่ รเิ วณ รอ่ งปากชว่ ยโบกพดั อาหารเขา้ ไปจนถึงปาก (Mouth) ทอ่ี ยูป่ ลาย
สุดของชอ่ งน้ี อาหารนัน้ จะถูกนำเขา้ เซลลอ์ ยู่ในฟดู แวคิวโอล ขณะที่ฟูดแว
ควิ โอลเคลื่อนทไี่ ปจะมกี ารย่อยอาหารเกดิ ขึน้ โดยเอนไซม์จากไลโซโซม ทำให้
ฟดู แวควิ โอลมีขนาดเลก็ ลงเร่ือย ๆ สารอาหารทไี่ ด้จากการย่อยก็จะกระจาย
และแพรไ่ ปไดท้ ่ัวทุกสว่ นของเซลล์ ส่วนทเ่ี หลอื จากการย่อยกจ็ ะถูกขบั ออก
จากเซลล์ในรปู ของกากอาหารต่อไป
ภาพท่ี 1.7 ภาพซ้ายแสดงการเคลอื่ นท่ีของฟูดแวคิวโอลในพารามเี ซยี ม
อะมีบาและพารามีเซียมมีวิธกี ารกนิ อาหารทแี่ ตกตา่ งกนั คืออะมบี าจะ
นำอาหารเข้าสเู่ ซลล์โดยวธิ ีการฟาโกไซโทซสี และพโิ นไซโทซสี เพราะไม่มี
อวัยวะทที่ ำหน้าท่เี ป็นทางนำอาหารเข้าสเู่ ซลล์โดยเฉพาะ แต่ของพารามี
เซยี มมขี นเซลลท์ บ่ี ริเวณรอ่ งปากและร่องปากทำหน้าทเี่ ปน็ ทางเขา้ ออกของ
อาหารท่ีมีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงกว่า
2.3 ยูกลนี า ยูกลีนาไดอ้ าหารโดยวธิ ีการสงั เคราะห์ด้วยแสง
เน่ืองจากมี โครมาโทฟอร์(Chromatophore)ซึง่ เป็นรงควตั ถุ จึง
สังเคราะห์แสงได้ นอกจากน้ียังดำรงชพี ดว้ ยการย่อยสารอาหารท่อี ยู่
รอบๆตัวแลว้ สง่ เขา้ ร่องปาก ตัวยกู ลนี าจะรับอาหารจากสิ่งแวดล้อมท่ีมี
อนิ ทรียส์ ารละลายอยใู่ นปรมิ าณสูงได้ 2 วธิ ี คือ
2.3.1 การดูดเอาอินทรียส์ ารผ่านเยื่อหุ้มเซลลเ์ ขา้ สู่ภายในเซลล์โดยตรง
2.3 2 ใช้ช่องบรเิ วณรอบ ๆ โคนแฟลกเจลลมั (Gullet ) ซง่ึ ทป่ี ลายบนสดุ
ของช่องนีจ้ ะมีปาก (Mouth) เปิดอยู่ อาหารที่ลอยอยู่ในนำ้ จะผา่ นเขา้ สู่ชอ่ ง
น้ี แลว้ เขา้ สู่ภายในเซลล์
ภาพท่ี 1.8 ภาพบนซา้ ยแสดงภาพถ่ายจากกลอ้ งจุลทรรศน์ ภาพขวาแสดง
โครงสรา้ งของยูกลีนา ทม่ี า : www.cartage.org.lb
1.1.2 การย่อยอาหารสงิ่ มชี ีวติ เซลล์เดยี ว
โปรโทซัว (protozoa) เปน็ สง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี วที่มี
ลักษณะคล้ายกบั สัตวเ์ พราะสร้างอาหารเองไมไ่ ด้ ไมม่ ผี นงั เซลล์แตส่ ามารถ
เคลื่อนทไี่ ด้ โปรโทซัวไม่มีระบบทางเดนิ อาหารและระบบย่อยอาหาร
โดยเฉพาะแต่อาศัยส่วนตา่ งๆ ของเซลล์ช่วยในการนำอาหารเขา้ สู่เซลลแ์ ล้ว
จึงมีการยอ่ ยอาหารภายในเซลลซ์ ึง่ เรียกวา่ การยอ่ ยภายในเซลล์
(intracellular digestion) เชน่ อะมีบาและพารามเี ซียม ส่วนกากอาหารที่
เหลอื จากการย่อยก็จะถกู ดนั ใหผ้ ่านเยอ่ื หมุ้ เซลล์ออกไปขา้ งนอกในทสี่ ดุ
การย่อยอาหารของอะมบี า (amoeba) อะมีบาเป็นโปร
โทซัวทีเ่ คลือ่ นทด่ี ว้ ยขาเทียม อาหารของอะมีบาประกอบด้วยเศษ
สารอนิ ทรีย์ เซลล์แบคทเี รยี สาหร่ายและส่งิ มชี วี ติ ขนาดเล็กอืน่ ๆ การได้รบั
อาหารของอะมีบาเปน็ ไปอย่างงา่ ยๆ เนอ่ื งจากเปน็ สงิ่ มีชีวติ เซลลเ์ ดยี ว จะใช้
วิธีฟาโกไซโทซิส ( phagocytosis) โดยใช้ขาเทยี ม หรือ ซูโดโปเดยี ม
(pseudopodium) ออกไปโอบล้อมอาหารทำใหม้ ลี กั ษณะเปน็ ถุงหลดุ เข้า
ไปอยู่ภายในเซลล์ เรยี กถงุ ทเ่ี ก็บอาหารน้วี า่ ฟูดแวคิวโอล (food
vacuole) ซ่ึงการกินโดยย่นื ส่วนของขาเทยี มออกไปโอบลอ้ มอาหารนี้ จะ
พบในเซลล์เมด็ เลือดขาวด้วย จากนัน้ ฟดู แวคิวโอลจะเขา้ รวม
กับ lysosome ซง่ึ นำ้ ย่อยท่อี ย่ภู ายในส่วนใหญ่จะเป็นกรดเกลือ (HCl) เพื่อ
ทำการยอ่ ยอาหารในฟดู แวควิ โอล การเคลอื่ นไหวของไซโทพลาซึมจะทำให้
สารอาหารตา่ งๆ ถกู ลำเลียงไปทั่วเซลล์ ส่วนทีเ่ หลอื จากการยอ่ ยจะถกู ขบั
ออกทางเยือ่ ห้มุ เซลล์โดยการแพร่ หรือเอกโซไซโทซีสตอ่ ไป
ภาพท่ี 1.1 การย่อยอาหารของอะมีบา
ท่ีมา https://www.google.com/search?q
การย่อยอาหารของยกู ลีนา (euglena) ในเซลลข์ องยกู ลีนามี
โครมาโทฟอร์ (Chromatophore) ซงึ่ เปน็ รงควัตถทุ ่ีมีคลอโรฟีลลเ์ อและ
คลอโรฟีลลบ์ อี ยู่ด้วย ยูกลีนาจงึ สังเคราะหด์ ้วยแสงได้ นอกจากนี้ยังดำรงชีวติ
แบบ saprophytic cell ไดด้ ้วยโดยย่อยสารอาหารท่ีอยู่รอบ ๆ ตัว และสง่
เข้าร่องปาก
การย่อยอาหารของพารามีเซียม (paramecium) พารามี
เซยี มเป็นโปรโทซวั ทเ่ี คลือ่ นท่ีด้วยขนเซลล์ หรือซเิ ลยี (cilia) อาหารของ
พารามีเซียมคลา้ ยกับของอะมีบา การไดร้ ับอาหารของพารามีเซียมโดยอาศยั
การพดั โบกของซิเลยี ทบ่ี ริเวณร่องปาก (oral groove) ให้อาหารตกลงสู่รอ่ ง
ปาก จนถึงคอหอยและถกู สร้างเป็นฟูดแวควิ โอลข้นึ ฟูดแวคิวโอลนีจ้ ะ
เคลอ่ื นท่ไี ปรอบๆ เซลลโ์ ดยการไหลเวียนของไซโทพลาซึมและมกี ารย่อย
อาหารเกดิ ขน้ึ ด้วย ทำใหฟ้ ูด แวคิวโอลมีขนาดเลก็ ลงเรือ่ ยๆ และสารอาหาร
ท่ีได้จากการยอ่ ยก็จะแพร่ออกจากฟูดแวควิ โอล และกระจายไปได้ท่ัวทุก
ส่วนของเซลล์ สว่ นที่เหลอื จากการย่อยก็จะขับออกจากเซลล์ในรปู ของกาก
อาหารตอ่ ไป
การนำสารอาหารเข้าไปในเซลล์ (ingestion) กระบวนการยอ่ ยสลาย
สารอาหาร (digestion) และกระบวนการกำจัดของเสียออกจากเซลล์ของ
พารามีเซยี มคลา้ ยกับวธิ ีการของอะมบี า แต่พารามีเซียมมีซิเลยี บรเิ วณร่อง
ปาก ทำหน้าทเ่ี ป็นตำแหนง่ ของการนำสารอาหารเขา้ สูเ่ ซลล์ทีแ่ นน่ อนกว่า
1.1.3 การยอ่ ยอาหารของสตั ว์
1. การย่อยอาหารของสัตว์บางชนดิ ทไี่ ม่มกี ระดกู สันหลัง
1.1 การย่อยอาหารของสัตวบ์ างชนิดที่ไมม่ ที างเดนิ อาหาร
ฟองนำ้ (Sponge) เปน็ สตั วใ์ นไฟลมั พอริเฟอรา ไมม่ ปี ากและ
ทวารหนักที่แท้จริง ทางเดนิ อาหารเป็นแบบรา่ งแห (Channel
network) ซงึ่ ไม่ใช่ทางเดินอาหารท่ีแทจ้ รงิ เป็นเพียงรเู ปดิ เล็กๆ ขา้ ง
ลำตัว เรียกวา่ ออสเทยี (Ostia) ทำหนา้ ท่เี ปน็ ทางนำ้ ไหลเขา้ สลู่ ำตัวฟองน้ำ
เปน็ การนำอาหารเขา้ สู่ลำตัว สว่ นรูเปิดด้านบนลำตัว เรียกว่า ออส
คิวลมั (Osculum) ทำหนา้ ท่เี ป็นทางนำ้ ออก ผนงั ดา้ นในมีเซลล์พิเศษ
เรียกวา่ เซลล์โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกพัดเซลล์อยู่
ตลอดเวลา ทำให้เกิดการไหลเวยี นของอาหาร ตัวเซลลโ์ คแอนโนไซตน์ ำ
อาหารเข้าสู่เซลล์โดยฟาโกไซโทซีส (Phagocytosis) เกดิ เปน็ ฟดู แวควิ โอล
และมกี ารยอ่ ยอาหารภายในฟดู แวควิ โอลนอกจากนย้ี งั พบเซลล์ บรเิ วณใกล้
กับเซลลโ์ คแอโนไซต์มีลกั ษณะคลา้ ยอะมบี า เรยี กว่า อะมโี บ
ไซต์ (Amoebocyte) สามารถนำสารอนิ ทรีย์ขนาดเล็กเข้าสูเ่ ซลล์และยอ่ ย
อาหารภายในเซลล์แล้วสง่ อาหารที่ยอ่ ยแล้วไปยงั เซลลอ์ นื่ ได้
ภาพท่ี 2.1 แสดงโครงสรา้ งภายในของฟองนำ้ เซลล์โคแอโนไซดใ์ นการจบั
อาหารแบบฟาโกไซโทซสี ย่อย แลว้ สง่ อาหารตอ่ อะมีโบไซต์
ทมี่ า : www.mun.ca/biology/scarr/Porifera.htm
1.2 การย่อยอาหารของสัตว์บางชนดิ ทม่ี ที างเดินอาหารไม่สมบรู ณ์
(Incomplete digestive tract) เปน็ ทางเดนิ อาหารท่ีมที างเปิดทาง
เดยี ว คือ มีปากแตไ่ ม่มที วารหนัก ปากทำหนา้ ทเ่ี ป็นทางเข้าของอาหาร
และทางออกของกากอาหาร ระบบทางเดินอาหารยังไม่พัฒนามากนกั
ไฮดรา เป็นสัตว์ในไฟลัมไนดาเรีย มีทางเดนิ อาหารเป็นแบบปากถงุ
(One hole sac) ไฮดราใชอ้ วยั วะคล้ายหนวด เรยี กว่าหนวดจบั
(Tentacle) ซงึ่ มีอยรู่ อบปาก อาหารของไฮดราคือ ตัวอ่อนของ
กุ้ง ปู และไรนำ้ เล็กๆ และใชเ้ ซลล์ที่มีเนมาโทซสิ ต์
(Nematocyst) หรือเข็มพษิ ท่อี ย่ทู ป่ี ลายหนวดจบั ในการลา่
เหยือ่ ตอ่ จากน้ันจึงส่งเหย่อื เขา้ ปาก ทางเดนิ อาหารของไฮดราอยู่กลาง
ลำตัวเปน็ ทอ่ กลวงเรยี กว่า ช่องแกสโตรวาสควิ
ลาร์ (Gastrovascular cavity) ซ่ึงบดุ ้วยเซลลท์ รงสูง เรยี กว่าช้ันแกสโตร
โดรมสิ (Gastrodermis) เปน็ เยอื่ ชน้ั ในบุช่องว่างของลำตัวซง่ึ ประกอบดว้ ย
1. นิวทรทิ พิ เซลล์ (Nutritive cell) บางเซลลม์ ีแซ่ 2 เสน้
เรียกว่า แฟลเจลเลตเซลล์ (Flagellate cell) บางเซลลค์ ลา้ ยอะมีบา
เรยี กว่าอะมีบอยดเ์ ซลล์ (Amoebiol cell) ทำหนา้ ท่ีย่นื เทา้ เทยี มออกมา
ล้อมจับอาหาร ส่วนแฟลเจลเลตเซลล์ มีหนา้ ทีโ่ บกพัดให้เกิดการหมุนเวียน
ของนำ้ ภายในชอ่ งแกสโทรวาสควิ ลาร์ และโบกพดั ให้กากอาหารเคล่อื นท่ี
ออกทางปากตอ่ ไป
2. เซลลต์ ่อมหรือเซลล์ยอ่ ยอาหาร (Gland cell or
digestive cell) เป็นเซลล์ท่สี รา้ งน้ำย่อยและปลอ่ ยออกมา ซ่ึงการย่อย
อาหารโดยเซลลต์ ่อม จัดเป็นการยอ่ ยอาหารแบบนอกเซลล์ ส่วนการย่อย
โดยอะมบี อยดเ์ ซลลจ์ ัดเป็นการยอ่ ยอาหารแบบภายในเซลล์
ภาพท่ี 2.2 แสดงชอ่ งว่างกลางลำตัวของไฮดรา(Gastrovascular cavity)
เซลล์จับอาหารกิน
(Nematosis )และเซลลพ์ ิเศษทสี่ ร้างนำ้ ยอ่ ยของไฮดรา
ทีม่ า : www.baanlast.th.gs/web-b/aanlastle.htm
หนอนตวั แบน เปน็ สตั ว์ที่อยใู่ นไฟลมั แพลทีเฮล
มนิ ทิส (Platyhelminthes) ไดแ้ ก่
พลานาเรีย พยาธใิ บไม้ และพยาธิตวั ตืด
1. พลานาเรยี ทางเดินอาหารของพลานาเรยี เป็นแบบ 3
แฉก แตล่ ะแฉกจะมแี ขนงของทางเดนิ อาหารแตกแขนงย่อยออกไปอีก
เรียกวา่ ไดเวอร์ทิควิ ลัม (Diverticulum) ปากอยู่บรเิ วณกลางลำตัว ต่อ
จากปากเป็นคอหอย (Pharynx) มีลักษณะคลา้ ยงวงยาวหรือโพเบอ
ซสิ (Probosis) มีกล้ามเนือ้ แขง็ แรง มีหน้าท่จี ับอาหารเข้าสู่ปาก กาก
อาหารทเี่ หลอื จากการย่อยและดูดซมึ แลว้ จะถกู ขับออกทางชอ่ งปาก
เช่นเดิม การย่อยอาหารของพลานาเรียเป็นการยอ่ ยภายนอก
เซลล์ นอกจากนเ้ี ซลลบ์ ุผนังชอ่ งทางเดินอาหารยังสามารถฟาโกไซโทซสิ จบั
อาหารเข้ามายอ่ ยภายในเซลล์ได้ดว้ ย
2. พยาธิใบไม้ มที างเดินอาหารคลา้ ยพลานาเรยี แต่
ทางเดินอาหารส่วนลำไส้ไมแ่ ตกก่ิงก้านสาขา มลี กั ษณะคลา้ ยอักษรรปู ตัว
วาย (Y–shape) ทางเดนิ อาหารของพยาธิใบไม้ประกอบด้วยปากป่มุ ดูด
(Oral sucker) ที่มีปากดูดกนิ อาหารจากโฮสต์ ต่อจากปากเปน็ คอหอย
(Pharynx) ตอ่ จากคอหอยเป็นหลอดอาหารส้นั ๆซึง่ จะตอ่ กบั ลำไส้
(Intestine)
ภาพที่ 2.3 แสดงทางเดนิ อาหารของพยาธิใบไมแ้ ละอวยั วะภายในบางชนิด
ท่มี า : geocities.com
3. พยาธติ ัวตดื ไม่มรี ะบบทางเดนิ อาหาร เพราะอาหาร
ท่ีได้รบั เข้าส่รู ่างกายส่วนใหญ่ถูกแปรสภาพเรยี บร้อยแล้วโดยผถู้ ูกอาศัย ใช้
กระบวนการแพรข่ องสารอาหารทยี่ อ่ ยแล้วเขา้ สู่ร่างกาย
ภาพท่ี 2.4 ลกั ษณะของพยาธิตวั ตืด
ท่ีมา : www.kateteneyck.com
ภาพท่ี 2.5 ภาพตวั โตเต็มวัยของพยาธิตัวตดื ที่เนน้ ให้เห็นส่วนหวั โดยเฉพาะ
สว่ นทีใ่ ชเ้ กาะดดู (Sucker)
ที่มา : www.thailabonline.com/bacteria/tenia1.jpg
1.3 การยอ่ ยอาหารของสตั วบ์ างชนดิ ที่มที างเดิน
อาหารสมบรู ณ์ (Complete digestive tract)
หนอนตัวกลม เป็นสตั ว์ทีอ่ ยใู่ นไฟลมั เนมาโท
ดา (Nematoda) มีทางเดนิ อาหารเปน็ แบบชอ่ งเปิด 2 ทาง หรอื ทอ่
กลวง (Two hole tube) มคี อหอยเปน็ กลา้ มเนอื้ หนาช่วยในการดูด
อาหาร มลี ำไสย้ าวตลอดลำตวั อาหารทหี่ นอนตวั กลมกินเขา้ ไปจะถูกยอ่ ย
และดูดซึมโดยลำไส้
ทางเดินอาหารของหนอนตวั กลมเรียงตามลำดับตอ่ ไปนี้
ภาพที่ 2.6 แสดงทางเดินอาหารของหนอนตวั กลม มปี ากและทาวารหนกั
ทม่ี า : www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/animaldiversity.ht
m
ไสเ้ ดือนดิน เปน็ สัตวท์ ่อี ยใู่ นไฟลมั แอนนลิ ดิ า มีระบบทางเดนิ
อาหารเปน็ แบบชอ่ งเปดิ 2 ทาง (Two hole tube) ทางเดินอาหารของ
ไส้เดือนดินประกอบดว้ ยปาก ซง่ึ เปน็ รเู ปดิ ทางดา้ นหนา้ ของปล้องทห่ี นง่ึ ตอ่
จากปากกจ็ ะเป็นช่องปาก (Buccal cavity) คอหอยมกี ลา้ มเนือ้ หนาช่วยใน
การฮุบกิน มีกระเพาะพกั อาหารและมีกน๋ึ ชว่ ยในการบดอาหาร ลำไส้สร้าง
น้ำย่อยปล่อยออกมาย่อยอาหาร สารอาหารจะถกู ดูดซึมเข้าสู่ระบบเลอื ด
เพื่อลำเลียงไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายสว่ นสารทยี่ ่อยไมไ่ ดก้ จ็ ะถูกขบั ออก
ทางชอ่ งทวารหนักท่อี ยู่ทางสว่ นทา้ ยของลำตวั เปน็ กากอาหาร
ทางเดินอาหารของไสเ้ ดือนดนิ เรยี งตามลำดับตอ่ ไปน้ี
ภาพที่ 2.7 แสดงส่วนประกอบของทางเดนิ อาหารของไสเ้ ดอื นดิน
ท่มี า : www.anatomy.th
ก้งุ เปน็ สตั ว์ขาปลอ้ งจัดอยใู่ นไฟลัมอาร์โทโพดา ทางเดินอาหาร
เป็นแบบชอ่ งเปดิ 2 ทาง(Two hole tube) แบง่ เป็น 3 ตอน คือ
1. ทางเดินอาหารตอนหนา้ (Stomodaeum) ใชป้ ากซึ่งมีรยางค์
รอบปาก 3 คู่ ช่วยในการกนิ เค้ียวอาหารและมีต่อมนำ้ ลาย (Salivary
gland) ทำหนา้ ทสี่ ร้างน้ำย่อย มีหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ซ่งึ กระเพาะ
อาหารของกงุ้ ทำหน้าที่ 2 อย่าง คือ เป็นทีพ่ ักและบดอาหาร
2. ทางเดนิ อาหารตอนกลาง(Mesenteron) เปน็ ส่วนทีอ่ ยูถ่ ดั จาก
กระเพาะอาหาร และมีชอ่ งรับน้ำยอ่ ย ทางเดินอาหารสว่ นนจ้ี ึงทำหน้าท่ใี น
การย่อยอาหาร
3. ทางเดนิ อาหารตอนปลาย(Protodaeum) เป็นส่วนทีเ่ รียกวา่
ลำไส้ เป็นท่อเล็ก ๆ พาดไปทางดา้ นหลังของลำตวั และไปเปิดออกที่
ส่วนท้ายของส่วนทอ้ งเรยี กวา่ ทวารหนัก
ทางเดินอาหารของกุ้งเรยี งตามลำดบั ดังนี้
ภาพที่ 2.8 แสดงทางเดนิ อาหารของกุ้ง
ท่มี า : www.infovisual.info/02/img_en/025%20Internal%...
แมลง เป็นสตั วใ์ นกลุ่มขาปลอ้ งจดั อยใู่ นไฟลมั อาร์โทโพดา ทางเดนิ
อาหารเป็นแบบช่องเปดิ 2 ทาง (Two hole tube) ปากของแมลงมกี าร
เปล่ยี นแปลงและแตกตา่ งออกไป ใหม้ ีความเหมาะสมกับสภาพของอาหารท่ี
แมลงแต่ละชนดิ กนิ แตแ่ มลงมีลักษณะพน้ื ฐานของทางเดนิ อาหารที่
เหมือนกัน คือ ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพกั อาหารขนาดใหญ่
อยู่บรเิ วณทรวงอก และกระเพาะบดอาหาร(Gizzard) ชว่ ยในการกรองและ
บดอาหาร มีตอ่ มสร้างน้ำย่อย (Digestive gland) มีลกั ษณะคลา้ ยนวิ้
มอื 8 อนั ย่นื ออกมาจากทางเดินอาหารระหว่างกึน๋ และกระเพาะอาหาร
ทางเดินอาหารของแมลงเรยี งตามลำดบั ได้ดังน้ี
ภาพที่ 2.9 แสดงทางเดินอาหารของต๊ักแตน
ทม่ี า : kentsimmons.uwinnipeg
หอยกาบ เปน็ สตั ว์ที่อยูใ่ นไฟลัมมอลลัสกา มที างเดินอาหารเปน็ แบบ
ช่องเปิด 2 ทาง (Two hole tube) หอยกาบมที างเดนิ อาหารแบง่
ออกเปน็ ส่วน ๆ คือ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ไสต้ รง
และทวารหนกั การกนิ อาหารของหอยกาบ จะใช้เล
เบียลพลั พ์ (Labial palp) ขา้ งละ 1 คู่ ของปาก ช่วยพัดโบกให้อาหารตกลง
ไปในปาก
ทางเดินอาหารของหอยกาบเรยี งตามลำดับตอ่ ไปน้ี
ภาพท่ี 2.10 แสดงทางเดนิ อาหารของหอย
ท่ีมา : www.cnsweb.org/digestvertebrates
2. การย่อยอาหารของสตั ว์บางชนดิ ทม่ี กี ระดกู สันหลงั
2.1 การย่อยอาหารของปลา ปลาเปน็ สตั วม์ ีกระดูกสนั หลัง จัด
อย่ใู นไฟลมั คอร์ดาตา(Chordata) ปลามที ง้ั ปลาปากกลมซง่ึ เป็นปลาท่ไี ม่มี
ขากรรไกรขอบของปากและลน้ิ มีฟันใช้ขดู เนอื้ และดดู กินเลือดสตั วอ์ ื่น ปลา
ฉลามมปี ากอยทู่ างด้านลา่ งและมฟี ันจำนวนมาก ฉลามมีลำไส้ส้ันและ
ภายในมีล้นิ ซึง่ มีลกั ษณะเหมือนบันไดเวียน (Spiral valve) ช่วยในการถ่วง
เวลาไมใ่ ห้อาหารเคลื่อนตวั ไปเร็ว และพวกปลากระดูกแข็งมีปากซึ่งภายใน
มีฟนั รูปกรวย มีลนิ้ ขนาดเล็กย่นื ออกมาจากปากทำหนา้ ท่ีรบั สมั ผัส พวก
ปลากนิ เน้อื เช่น ปลาชอ่ น ปลานำ้ ดอกไม้ ปลาพวกน้ีจะมีลำไสส้ ัน้ ส่วนปลา
กินพชื เช่น ปลาทู ปลาสลิด จะมีลำไส้ยาว
ทางเดินอาหารของปลาเรยี งตามลำดับตอ่ ไปน้ี
ภาพที่ 2.11 ภาพแสดงทางเดนิ อาหารของปลา
ท่ีมา : สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2544. ชีววิทยา
เลม่ . บทท่ี 5 หน้า 32
ภาพที่ 2.12 แสดงล้นิ ซึง่ มลี กั ษณะเหมือนบนั ไดเวยี น (Spiral valve) ของ
ปลาฉลาม ท่ีมา : library.think.org
2.2 การย่อยอาหารของสัตวบ์ างชนิดปกี ได้แก่ นก เป็ด
ไก่ ซ่งึ เป็นสตั ว์มกี ระดกู สันหลังจดั อยู่ในไฟลมั คอรด์ าตา
(Chordata) ทางเดินอาหารประกอบด้วยปากซึ่งไม่มฟี ัน ตอ่ มนำ้ ลาย
เจรญิ ไม่ดี แตส่ ร้างเมือกสำหรบั คลกุ เคลา้ อาหารและหล่อลน่ื ได้ มีคอหอย
ส้นั หลอดอาหารยาว มีถุงพกั อาหาร(Crop) ซง่ึ ทำหน้าท่ีเกบ็ อาหารสำรอง
ไว้ย่อยภายหลงั กระเพาะอาหารแบ่งออกเปน็ 2 ส่วน คอื กระเพาะตอน
หนา้ หรือกระเพาะย่อย (Proventriculus) ทำหน้าทีส่ รา้ งนำ้ ยอ่ ย และ
กระเพาะอาหารตอนทา้ ยหรือกระเพาะบด (Gizzard) ตอ่ จากกระเพาะบด
เป็นลำไส้เลก็ ลำไสใ้ หญ่ สว่ นท้ายเป็นโคลเอกา (Cloaca) ท่ีมีทอ่ ไตและ
ทอ่ ของระบบสืบพันธุ์มาเปดิ เข้าด้วยกนั และทวารหนักซึง่ เป็นสว่ นทา้ ยสุด
ทางเดินอาหารของสตั วป์ กี เรยี งตามลำดบั ตอ่ ไปนี้
ภาพท่ี 2.13 แสดงทางเดนิ อาหารของนก
ที่มา : www.kidwings.com
ภาพที่ 2.14 แสดงทางเดนิ อาหารของไก่
ทม่ี า : www.dpi.qld.gov.au/images/AnimalIndustries_Po...
2.3 การย่อยอาหารของสตั ว์บางชนิดกนิ พชื ได้แก่ วัว ควาย
จะมีโครงสรา้ งของทางเดินอาหารแตกตา่ งจากคนและสตั ว์กินเน้ืออนื่ ๆ
อยู่ 2 ประการ คือ
1. การมีทางเดนิ อาหารท่ยี าวมากๆ ยาวถึง 40 เมตร ทำให้
ระยะเวลาในการย่อยและการดูดซึมสารอาหารนานยง่ิ ขน้ึ กระเพาะอาหาร
ของวัวและควายแบ่งออกเปน็ 4 สว่ น มีชอ่ื และลกั ษณะเฉพาะ ได้แก่
1.1 กระเพาะผ้าขร้ี ิ้วหรือรูเมน (Rumen) เป็นกระเพาะอาหาร
ทม่ี จี ลุ ินทรีย์ พวก แบคทีเรยี และ โพรโทซวั จำนวนมาก จลุ ินทรยี พ์ วก
นี้สรา้ งนำ้ ยอ่ ยเซลลูเลส ย่อยสลายเซลลโู ลสจากพืชทก่ี ินเข้าไปและ
สามารถสำรอกอาหารออกมาเคีย้ วเอ้ืองเปน็ ครงั้ คราวเพ่ือบดเสน้ ใยให้
ละเอยี ดจงึ เรียกสัตวพ์ วกนวี้ า่ สตั ว์เคีย้ วเอ้ือง
1.2 กระเพาะรงั ผึ้งหรือเรตคิ ิวลมั (Reticulum) ทำหน้าที่ยอ่ ย
นม เมอ่ื โค กระบอื ยงั เลก็ อยู่ และมจี ุลินทรีย์เชน่ เดยี วกบั กระเพาะอาหาร
ส่วนรูเมน
1.3 กระเพาะสามสิบกลบี หรอื โอมาซัม (Omasum) ทำหนา้ ที่
ผสมและบดอาหาร นอกจากนีย้ งั ดูดซึมและซับนำ้ จากรูเมนอีกดว้ ย
1.4 กระเพาะจริงหรอื อะโบมาซมั (Abomasum) มีการยอ่ ย
อาหารและจลุ ินทรีย์ไปพร้อมๆกัน แล้วจงึ ส่งต่อไปยงั ลำไส้เลก็ เพอ่ื ย่อยให้
สมบรู ณ์
เมอ่ื อาหารผา่ นเขา้ สลู่ ำไส้เลก็ ตอนตน้ จะมีการย่อยโปรตนี ไขมันและ
แปง้ จากน้ำย่อยจากตับอ่อนและนำ้ ดจี ากตับ จากนนั้ กด็ ดู ซึมเข้าสรู่ ะบบ
หมุนเวียนตอ่ ไป
ภาพที่ 2.15 แสดงทางเดนิ อาหารของวัว
ทมี่ า : www.nicksnowden.net/images/cow_cutaway_rumina
ภาพที่ 2.16 แสดงกระเพาะอาหารของววั ซง่ึ แบ่งได้
เป็น 4 สว่ น Rumen ,Reticulum , Omasum และ Abomasum
ท่ีมา : www.sheep101.info/Images/rumen.gif
ในปัจจุบนั มีการนาเอาแบคทีเรียและโพรโทซวั มาผสมในอาหารที่ใช้
เล้ียงสตั ว์ เพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพในการยอ่ ยและการดูดซึมอาหารของสัตว์
2. การมีไส้ติ่งใหญ่ ไส้ต่งิ ของสตั ว์กนิ พืชจะมขี นาดใหญ่ และเปน็
บรเิ วณทีม่ ีการย่อยอาหารโดยจลุ ินทรยี ด์ ้วย สำหรับไสต้ งิ่ ของสตั วก์ ินเน้ือจะ
มขี นาดเล็กและไมม่ ีหนา้ ทเ่ี กยี่ วกบั การย่อยอาหาร
1.1.4 การย่อยอาหารของคน
อาหารที่ส่ิงมชี ีวติ บรโิ ภคเข้าไป ไมว่ ่าจะเป็นชนิดใดก็ตาม จะนำเขา้ สู่
เซลล์ไดก้ ต็ ่อเมอื่ อยู่ในรปู ของสารอาหารทม่ี โี มเลกุลขนาดเล็ก คือ กรดอะมิ
โน น้ำตาลโมเลกลุ เดี่ยว กลเี ซอรอล และกรดไขมัน น่นั ก็คือ อาหาร
โมเลกลุ ใหญท่ ี่ส่งิ มีชีวติ รับประทานเข้าไป จำเป็นต้องแปรสภาพให้มีขนาด
เลก็ ลง การแปรสภาพของอาหารดงั กล่าวเกิดจากปฏกิ ิรยิ าเคมีทอี่ าศยั การ
ทำงานของเอนไซมย์ ่อยอาหาร โดยทัว่ ไปเรยี กว่า นำ้ ย่อย จากน้นั โมเลกุล
ของสารอาหารจะถูกดูดซึมเข้าสเู่ ซลล์ กระบวนการแปรสภาพอาหารที่มี
โมเลกลุ ใหญ่ให้มโี มเลกลุ เล็กลง เรียกวา่ การย่อยอาหาร (Digestion) ระบบ
ยอ่ ยอาหาร (Digestive System)
ระบบยอ่ ยอาหารมีหนา้ ท่ยี ่อยอาหารใหล้ ะเอียด แลว้ ดูดซึมผ่านเข้าสู่
กระแสเลือดเพือ่ ไปเลยี้ งส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย การยอ่ ยอาหาร
(Digestion) หมายถึง กระบวนการสลายอนุภาคอาหารให้มขี นาดเลก็ สุด
จนสามารถดูดซมึ เขา้ ไปในเซลล์ได้ เมอ่ื มนษุ ยร์ ับประทานอาหารเข้าสู่
รา่ งกาย จะผ่านระบบตา่ ง ๆ ดังนี้
ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เลก็ ลำไสใ้ หญ่ ของเสียออกทาง
ทวารหนัก
ขน้ั ตอนการยอ่ ยอาหาร การยอ่ ยอาหารมี 2 ขนั้ ตอน
1. การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นกระบวนการ
ทำใหอ้ าหารมีขนาดเล็กลง เพ่อื สะดวกต่อการเคลอ่ื นท่ีและการเกิดปฏิกิริยา
เคมตี ่อไป โดยการบดเคีย้ ว รวมท้งั การบบี ตวั ของทางเดินอาหาร ยงั ไม่
สามารถทำใหอ้ าหารมขี นาดเลก็ สดุ จงึ ไมส่ ามารถดูดซึมเข้าเซลลไ์ ด้
2. การยอ่ ยทางเคมี (Chemical digestion) เป็นการยอ่ ย
อาหารให้มขี นาดเล็กท่สี ดุ โดยการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมรี ะหว่าง อาหาร กบั น้ำ
โดยตรง และจะใชเ้ อนไซม์หรอื นำ้ ย่อยเข้าเรง่ ปฏกิ ิรยิ า ผลจากการย่อยทาง
เคมีเมือ่ ถึงจดุ สุดทา้ ย จะได้สารโมเลกลุ เลก็ ที่สดุ ท่ีสามารถดูดซึมเขา้ สเู่ ซลลไ์ ด้
ซง่ึ อาหารที่ต้องมกี ารย่อย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน สว่ นเกลือ
แร่ และวติ ามนิ จะดูดซมึ เขา้ สู่ร่างกายได้โดยตรง
อวัยวะท่ชี ว่ ยยอ่ ยอาหาร
1. ต่อมน้ำลาย (Salivary Gland) ผลิตน้ำยอ่ ยอะไมเลส
(Amylase) หรือไทยาลนิ (Ptyalin) ยอ่ ยแป้งใหเ้ ปน็ นำ้ ตาลมอลโทส
2. กระเพาะอาหาร (Stomach) ผลิต น้ำยอ่ ยเพปซนิ ย่อย
โปรตนี ให้เป็นโปรตีนสายสั้น (เพปไทด์) และ น้ำยอ่ ยเรนนนิ ย่อยโปรตนี ใน
นมใหเ้ ป็นโปรตีนเปน็ ลมิ่ ๆ
3. ลำไสเ้ ลก็ (Small Intestine) ผลิต นำ้ ย่อยมอลเทส ย่อย
นำ้ ตาลมอลโทสให้กลายเปน็ น้ำตาลกลโู คส น้ำยอ่ ยซูเครส ย่อยนำ้ ตาลซโู ครส
ใหเ้ ป็นนำ้ ตาลกลูโคสและน้ำตาลฟรกั โทส นำ้ ย่อยแลกเทส ยอ่ ยน้ำตาลแลก
โทสใหเ้ ปน็ นำ้ ตาลกลโู คสและน้ำตาลกาแลกโตส นำ้ ยอ่ ยอะมิโนเพปทิเดส
ย่อยโปรตีนสายสน้ั ให้เปน็ กรดอะมิโน
4. ตับ (Liver) ผลติ น้ำดี ยอ่ ยไขมนั ให้เปน็ ไขมันแตกตัวเปน็ เมด็
เล็ก ๆ
5. ตบั อ่อน (Pancreas) ผลิตนำ้ ยอ่ ยลเิ พส ยอ่ ยไขมนั แตกตัวให้
เปน็ กรดไขมันและกลเี ซอรอล นำ้ ย่อยทรปิ ซิน ย่อยโปรตนี ให้เป็นพอลิเพป
ไทด์และไดเพปไทด์ นำ้ ย่อยคาร์บอกซเิ พปพิเดส ยอ่ ยเพปไทด์ใหเ้ ป็นกรดอะ
มโิ น น้ำย่อยอะไมเลส ย่อยเชน่ เดียวกับนำ้ ย่อยอะไมเลสในปาก
ต่อมนำ้ ลาย ต่อมน้ำลาย (Silvary Gland) เปน็ ตอ่ มมที อ่ ทำหน้าท่ี
ผลิตนำ้ ลาย (Saliva) ต่อมน้ำลายของคนมีอยู่ 3 คู่ คอื
1. ต่อมน้ำลายใตล้ ้ิน (Sublingual Gland) 1 คู่
2. ต่อมนำ้ ลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1
คู่
3. ต่อมนำ้ ลายข้างกกหู (Parotid Gland) 1 คู่ ต่อมนำ้ ลายทัง้
3 คูน่ ี้ ทำหนา้ ทส่ี รา้ งนำ้ ลายที่มเี อนไซมอ์ ะไมเลส ซ่งึ เปน็ เอนไซมท์ ีย่ ่อย
สารอาหารจำพวกแป้งเทา่ น้ัน
ความสำคญั ของนำ้ ลาย
1. เปน็ ตวั หล่อล่นื และทำให้อาหารรวมกนั เปน็ กอ้ น เรียกวา่
โบลัส (Bolus)
2. ชว่ ยทำความสะอาดปากและฟนั
3. มเี อนไซมช์ ่วยยอ่ ยแป้ง
4. ชว่ ยทำให้ปมุ่ รบั รสตอบสนองต่อรสหวาน รสเคม็ รสเปรี้ยว
และรสขมไดด้ ี
การย่อยในปาก
เร่ิมต้นจากการเค้ียวอาหารโดยการทำงานร่วมกันของ ฟนั ล้นิ และ
แก้ม ซง่ึ ถือเปน็ การย่อยเชิงกล ทำให้อาหารกลายเป็นชิ้นเลก็ ๆ มพี ้ืนที่
ผิวสัมผัสกบั เอนไซม์ได้มากขนึ้ ในขณะเดยี วกนั ต่อมนำ้ ลายกจ็ ะหลัง่ น้ำลาย
ออกมาช่วยคลกุ เคล้าให้อาหารเปน็ ก้อนลื่นสะดวกต่อการกลืน เอนไซม์ใน
น้ำลาย คือ ไทยาลิน หรอื อะไมเลสจะยอ่ ยแป้งในระยะเวลาสนั้ ๆ ในขณะที่
อยู่ในช่องปากใหก้ ลายเปน็ เดกซท์ รนิ (Dextrin) ซง่ึ เป็นคารโ์ บไฮเดรตท่ีมี
โมเลกลุ เล็กกว่าแปง้ แตใ่ หญ่กว่าน้ำตาล และถูกย่อยตอ่ ไปจนเป็นน้ำตาล
โมเลกุลคู่ คือ มอลโตส
กระเพาะอาหาร
ประกอบขึน้ ดว้ ยกล้ามเนอ้ื เรียบทอ่ี ดั กนั หนามาก ด้านในมีลักษณะ
เปน็ สันช่วยในการบดอาหารใหม้ ีขนาดเลก็ ลงอีก ผนังด้านในสามารถสรา้ ง
เอนไซม์เพปซโิ นเจน (Pepsinogen) และกรดไฮโดรคลอริกหรือกรดเกลือ
(HCI) เพปซโิ นเจนจะถูกกรดเกลือเปล่ียนสภาพใหก้ ลายเป็นเอนไซม์เพปซนิ
(Pepsin) ซงึ่ มคี วามสามารถในการยอ่ ยโปรตีนใหม้ ีโมเลกุลเล็กลง เรยี ก่า
เพปไทด์ (Peptide) แตย่ ังไมส่ ามารถดูดซึมได้
การย่อยในกระเพาะอาหาร
อาหารจะถูกคลกุ เคล้าอยใู่ นกระเพาะด้วยการหดตัว และคลายตัวของ
กลา้ มเนอ้ื ที่แขง็ แรงของกระเพาะ โปรตีนจะถกู ย่อยในกระเพาะ โดยน้ำย่อย
เพปซิน ซึ่งย่อยพันธะบางชนดิ ของเพปไทด์เทา่ นนั้ ดงั นัน้ โปรตนี ท่ถี ูกเพป
ซนิ ย่อยส่วนใหญ่จงึ เป็นพอลิเพปไทด์ท่สี ้ันลง ส่วนเรนนินชว่ ยเปลยี่ นเคซีน
(Casein) ซ่ึงเปน็ โปรตนี ในน้ำนมแล้ว รวมกบั แคลเซียมทำให้มลี กั ษณะเป็น
ล่มิ ๆ จากนนั้ จะถกู เพปซินยอ่ ยตอ่ ไป
ในกระเพาะอาหาร นำ้ ยอ่ ยลิเพสไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากมี
สภาพเป็นกรด โดยปกตอิ าหารจะอยใู่ นกระเพาะอาหารนาน 30 นาทถี ึง 3
ชวั่ โมง ซึ่งขนึ้ อยูก่ ับชนดิ ของอาหารน้ัน ๆ
กระเพาะอาหารกม็ ีการดูดซมึ อาหารบางชนิดได้ แต่ปรมิ าณน้อยมาก
เชน่ นำ้ แรธ่ าตุ นำ้ ตาลโมเลกลุ เดย่ี ว กระเพาะอาหารดดู ซึมแอลกอฮอล์ไดด้ ี
อาหารโปรตีน เช่น เนือ้ วัว ย่อยยากกว่าเนือ้ ปลา ในการปรุงอาหารเพื่อให้
ยอ่ ยงา่ ย อาจใชก้ ารหมักหรือใส่สารบางอย่างลงไปในเนือ้ สตั วเ์ หล่าน้นั เช่น
ยางมะละกอ หรือสับปะรด
ลำไสเ้ ลก็
เปน็ ทางเดินอาหารสว่ นทีย่ าวมาก แบ่งเปน็ 3 สว่ น คือ ดโู อดนี ัม เจ
จูนมั และไอเลยี ม ที่ผนงั ลำไสเ้ ล็กสามารถสร้างน้ำยอ่ ยขน้ึ มาได้ ซง่ึ มีหลาย
ชนดิ นอกจากนน้ั ที่ลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม ยังได้รบั นำ้ ยอ่ ยจากตับอ่อน และ
นำ้ ดีมาจากตบั น้ำย่อยจากตับอ่อนมีหลายชนดิ ท่ีสามารถย่อยคาร์โบไฮเดรต
โปรตีนและไขมันได้
การยอ่ ยอาหารในลำไสเ้ ล็ก
1.ย่อยน้ำตาลโมเลกุลคู่ ให้เป็นนำ้ ตาลโมเลกลุ เดย่ี ว ดังน้ี
- มอลโทส โดยเอนไซมม์ อลเทส ไดก้ ลูโคส 2 โมเลกุล
- ซโู ครส โดยเอนไซมซ์ เู ครส ได้กลูโคส และฟรกั โทส
- แลกโทส โดยเอนไซม์แลกเทส ได้กลูโคส และกาแลก
โทส
2. ย่อยสารอาหารโปรตีนตอ่ จากกระเพาะอาหาร ไดแ้ ก่ เพป
ไทด์โดยเอนไซมท์ ริปซนิ ได้กรดอะมโิ น ซึ่งเปน็ โปรตีนโมเลกุลเดยี่ ว
3. ย่อยไขมนั โดยเอนไซม์ ลิเพส จะย่อยไขมนั โมเลกุลเล็ก (
emulsified fat ) ใหเ้ ป็นไขมนั โมเลกุลเดย่ี ว ไดแ้ ก่ กรดไขมนั และกลเี ซ
อรอล
การดดู ซมึ อาหารในลำไส้เล็ก
การดดู ซมึ อาหาร หมายถงึ ขบวนการท่นี ำอาหารทผ่ี ่านการย่อยจนได้
เปน็ สารโมเลกุลเดย่ี ว เชน่ กลูโคส กรดอะมโิ น กรดไขมัน กลีเซอรอล ผา่ น
ผนงั ทางเดินอาหารเข้าส่กู ระแสเลือดเพ่ือไปส่สู ว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ลำไส้
เล็ก เป็นบรเิ วณทีด่ ดู ซึมอาหารเกอื บท้งั หมดเพราะเปน็ บรเิ วณทม่ี กี ารย่อย
อาหารเกิดขึน้ อยา่ งสมบูรณ์ และโครงสร้างภายในลำไส้เลก็ ก็เหมาะแกก่ าร
ดูดซมึ คือ ผนังลำไส้เลก็ จะยาวพับไปมา และมสี ่วนยนื่ ของกลุ่มของเซลล์ที่
เรียงตัวเป็นแถวเดยี วมีลกั ษณะคล้ายนวิ้ มือ เรยี กวา่ วิลลัส (Villus) เปน็
จำนวนมาก ในแต่ละเซลลข์ องวิลลัสยังมีสว่ นยืน่ ของเย่อื หุ้มเซลล์ออกไปอกี
มากมาย เรยี กวา่ ไมโครวลิ ลัส (Microvillus) ในคน มวี ิลลสั ประมาณ 20-
40 อันตอ่ พืน้ ที่ 1 ตารางมลิ ลิเมตรหรือประมาณ 5 ล้านอนั ตลอดผนังลำไส้
ทัง้ หมด
การดดู ซมึ ในลำไส้ใหญ่
การดูดซึมอาหารท่ียอ่ ยแลว้ ส่วนใหญ่เกดิ ขนึ้ ทีผ่ นังลำไสเ้ ลก็ สว่ น
อาหารทไ่ี มถ่ ูกย่อยหรอื ย่อยไมไ่ ด้ เช่น เซลลโู ลส ก็จะถูกส่งไปยงั ลำไส้ใหญ่
สว่ นต้นของลำไสใ้ หญ่มไี สเ้ ล็ก ๆ ปลายตัน เรียกว่า ไส้ต่งิ ไสต้ ิ่งของคน
ไม่ได้ทำหน้าทอ่ี ะไรแตก่ ็อาจเกิดการอกั เสบถึงกับต้องผ่าตัดไสต้ ิ่งออกไป ซ่งึ
อาจเกดิ จากการอาหารผ่านช่องเปดิ ลงไป หรอื เสน้ เลือดทไี่ ปเลยี้ งไส้ต่งิ เกิด
การอดุ ตัน อาหารทเี่ หลอื จากการย่อยและดดู ซมึ แล้วจะผ่านเขา้ สู่ลำไส้ใหญ่
ลำไสใ้ หญม่ แี บคทเี รียอยู่จำนวนมาก ซ่ึงจะใช้ประโยชน์จากกากอาหารนี้
นอกจากนน้ั แบคเทเี รยี บางชนดิ ยังสังเคราะห์ วติ ามนิ บางชนดิ เช่น วิตามนิ
เค วิตามินบี 12 เซลล์ที่บผุ นงั ลำไสใ้ หญ่ สามารถดูดนำ้ แร่ธาตุ วติ ามนิ
และกลูโคสจากกากอาหารเข้ากระแสเลือด ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นน้ำ จึงทำให้
กากอาหารขน้ ขึ้น จนเป็นก้อนกากอาหารจะผา่ นไปถงึ ไส้ตรง ทา้ ยสดุ ของ
ไสต้ รงเปน็ กลา้ มเน้อื หรู ูดแขง็ แรงมาก มลี ักษณะเปน็ วงรอบปากทวารหนกั
ทำหน้าท่ีบีบตวั ในการขับถ่าย และผนังภายในลำไสใ้ หญจ่ ะขับเมอื กออกมา
หลอ่ ล่นื ก้อนอาหาร นำ้ ดี (Bile) สรา้ งจากตบั (Liver) แล้วถูกนำไปเก็บไว้
ท่ี ถุงน้ำดี (Gall Bladder) ไมถ่ ือว่าเปน็ เอนไซม์ เพราะจะเปลีย่ นสภาพไป
จากเดมิ เมื่อปฏิกิรยิ าส้ินสดุ ลงแลว้ (น้ำดไี มม่ นี ำ้ ยอ่ ย) มสี ่วนประกอบ 3
สว่ น คอื 1. เกลอื น้ำดี (Bile Salt) มีหน้าทตี่ ีใหไ้ ขมัน (Fat) แตก
ตวั เปน็ หยดเล็ก ๆ ไขมันทถี่ ูกตีใหแ้ ตกตัวเป็นหยดเล็ก ๆ เรยี กวา่ อีมลั ชัน่
(Emulsion) จากน้ันถกู Lipase ย่อยต่อให้เป็นกรดไขมนั และกลเี ซอรอล
2. รงควตั ถุนำ้ ดี (Bile Pigment) เกิดจากการสลายตัว
ของฮีโมโกลบนิ (Hemoglobin) โดยตับเป็นแหลง่ ทำลายและกำจดั
Hemoglobin ออกจากเซลล์ เมด็ เลือดแดงทหี่ มดอายุ โดยเก็บรวบรวม
เข้าไวเ้ ป็นรงควัตถใุ นนำ้ ดี (Bile Pigment) คือ บริ ิรูบิน (Bilirubin) จึงทำ
ให้น้ำดมี สี เี หลอื งหรือเขียวออ่ น และจะถูกเปล่ียนเปน็ สีเหลอื งแกมน้ำตาล
โดยแบคทีเรียในลำไสใ้ หญ่เกิดเปน็ ใสในอจุ จาระ
3. โคเรสเตอรอล (Cholesterol) ถา้ มมี าก ๆ จะทำให้เกิด
นิว่ ในถุงนำ้ ดี เกิดการอดุ ตนั ทท่ี ่อน้ำดี เกดิ โรคดซี า่ น (Janudice) มผี ลทำ
ใหก้ ารยอ่ ยอาหารประเภทไขมันบกพรอ่ ง