The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pamikar, 2021-04-21 04:42:31

CPL E-Book Ver. Plant Eng

CPL E-Book Ver. Plant Eng

โรงไฟฟ้าพลงั ความร้อน
(Thermal Power Plant)

1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหนั ไอนา้
โรงไฟฟา้ พลังความร้อนกังหันไอนา้ คือ โรงไฟฟ้าท่ีใช้ความร้อนจากเชือเพลิงชนดิ ต่างๆ ท้าให้นา้ กลายเป็นไอน้า

ไปขบั เครื่องกงั หนั ใหห้ มุนและใหพ้ ลังงานกลออกมาหมนุ เคร่อื งก้าเนดิ ไฟฟ้าเป็นพลงั งานไฟฟ้า
2. สว่ นประกอบของโรงไฟฟ้าพลงั ความร้อนกงั หันไอนา้

อปุ กรณห์ ลักในโรงไฟฟา้ ไดแ้ ก่
1.หมอ้ กา้ เนิดไอนา้
2.เคร่ืองกงั หนั ไอนา้
3.เครื่องกา้ เนดิ ไฟฟา้
3. การท้างานของโรงไฟฟ้าพลงั ความร้อนกังหนั ไอน้า
การท้างานของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนมีขันตอนตา่ ง ๆ ดังนีคอื
1. เผาไหม้เชอื เพลงิ
2. นา้ ความร้อนไปตม้ น้าให้กลายเปน็ ไอมีอณุ หภูมิ และความดนั สูง
3. เปล่ยี นพลังงานกลจากเครอื่ งกังหันไอน้าไปหมนุ เครื่องกา้ เนิดไฟฟ้า เปลีย่ นเปน็ พลงั งานไฟฟา้
โดยมอี ุปกรณ์ที่ประกอบการทา้ งานดงั นคี ือ

3.1) หม้อน้า (Boiler)
3.2) ถังกกั เกบ็ ของน้า แยกไอน้า (Deaerator)
3.3) เครื่องแยกไอนา้ (Boiler Drum)
3.4) แผงท่อรบั ความร้อน (Economizer)
3.5) เครือ่ งอุ่นอากาศ (Air Heater)
3.7) เครอ่ื งดกั ฝ่นุ แบบไฟฟา้ สถิตย์ (Electrostatic Static Precipitator : ESP)
3.7) เครื่องกังหนั ไอน้า (Steam Turbine)
3.8) เครอื่ งก้าเนดิ ไฟฟ้า

1

3.1 หมอ้ น้า (Boiler)
หม้อน้า คือตัวเตา ซึ่งเป็นท่อเหล็กทนต่อความดัน และอุณหภูมิสูง ประกอบกันเปน็ ผนังทัง 4 ด้านของตัว

เตาคล้ายปี๊บ ภายในท่อเหล่านีจะมีนา้ ไหลวนอยบู่ ริเวณส่วนบนของเตามแี ผงท่อน้าแขวนลอยอยู่ แผงท่อน้านีเป็นท่อ
ทีร่ ับไอน้าทีอ่ อกจากเครื่องแยกไอน้า มารบั ความร้อนจากการเผาไหม้เชือเพลิงอีกครังเพื่อให้ไอนา้ มีอุณหภูมิสูงขึน
และส่งไอนา้ ที่มอี ณุ หภูมิ ความดันสงู ออกจากหมอ้ นา้ ไปยังท่อไอนา้ เพ่ือหมนุ กังหันไอน้าตอ่ ไป

รูปท่ี 1 หม้อนา้ (Boiler)
ท่ีมา โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พิษณโุ ลก
3.2 ถังอุ่นน้า และแยกไอนา้ (Deaerator)
ถงั รบั ความร้อนเพ่อื เพ่ิมอุณหภูมิให้กบั นา้ และเป็นอุปกรณ์ท่ีดึงก๊าซซึ่งละลายในนา้ ก่อนป้อนเขา้ Boiler ออก
ก่อนที่จะเข้าสู่หม้อน้า(boiler) ระบบไอน้ากระบวนการดึงก๊าซออกจากระบบนีเป็นส่ิงส้าคัญมาก เพ่ือก้าจัดค่า
ออกซิเจน และปรับค่าPH เพราะหากน้าป้อนมีก๊าซออกซิเจนละลายอยู่ ก็จะท้าให้เกิดการกัดกร่อน (เกิดออกไซด์
ของเหลก็ หรือสนิม) ภายในท่อหม้อน้า (Boiler) ระบบทอ่ และอุปกรณ์ตา่ งๆ

รูปท่ี 2 เครื่องแยกไอน้า (Boiler Brum)
ที่มา http://ihears.blogspot.com

2

3.3 เครื่องแยกไอน้า (Boiler Drum)
เครื่องแยกไอน้าเป็นอุปกรณ์ท่ีแยกไอน้าออกจากน้า ลักษณะเปน็ เครื่องแยกไอน้ารปู แคปซูลที่สามารถทน

ความดัน และอุณหภูมิสูง ภายในเครื่องแยกไอน้านีจะมีอุณหภูมิต่างๆ ท่ีท้าหน้าท่ีแยกไอน้าออกจากน้าโดยอาศัย
หลักการแรงหนีศนู ยก์ ลางและการเปล่ียนทิศการไหล

รปู ที่ 3 เครื่องแยกไอน้า (Boiler Brum)
ท่มี า โรงไฟฟา้ โคลเวอร์ พิษณุโลก

3.4 แผงท่อรบั ความร้อน (Economizer)
แผงท่อรับความร้อน คือแผงท่อน้าซึ่งท้าให้น้าท่ีเข้าไปในหม้อน้ามีอุณหภูมิสูงขึนชันหนึ่งก่อน แผงท่อรับ

ความรอ้ นนีจะติดตังอยู่ช่องสุดท้ายก่อนทีก่ ๊าซร้อนที่เกดิ จากการเผาไหม้(Flue gas) จะออกจากตัวหม้อน้า เพ่ือรับ
ความร้อนจากก๊าซร้อน(Flue gas) และถ่ายเทให้กับน้าก่อนที่เข้าหม้อน้า(Boiler) เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพกับตัว
หม้อน้า

รูปท่ี 4 แผงท่อรบั ความรอ้ น (Economizer)
ทม่ี า https://www.slideshare.net

3

3.5 เครื่องอุ่นอากาศ (Air Pre Heater)
เครือ่ งอุ่นอากาศ เป็นอปุ กรณท์ เ่ี พ่ิมอุณหภูมใิ ห้กบั อากาศก่อนที่อากาศจะเข้าไปช่วยในการเผาไหม้เชือเพลิง

เครื่องอุ่นอากาศนีท้างาน โดยการรับความร้อนของก๊าซร้อน(Flue gas) ที่ออกจากหม้อน้า และถ่ายความร้อน
ดงั กล่าวใหก้ ับอากาศซง่ึ มากจากพัดลมเปา่ อากาศ(Primary air fan) ซงึ่ จะทา้ ใหอ้ ากาศมีอุณหภูมสิ งู ขนึ และเป็นการ
เพ่มิ ประสิทธภิ าพของหม้อน้า(Boiler)

รปู ที่ 5 เครือ่ งอ่นุ อากาศ (Air Pre Heater) รูปที่ 6 แผงทอ่ เคร่ืองอ่นุ อากาศ (Air Pre Heater)
ทีม่ า https://www.slideshare.net ทมี่ า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พิษณุโลก

3.6 เครื่องดักฝุ่นแบบไฟฟ้าสถติ ย์ (Electrostatic Static Precipitator(ESP.)
เครื่องก้าจัดฝุ่นดว้ ยไฟฟ้าสถิตย์ คอื ป้อนไฟฟ้ากระแสรง DC. เข้าไปโดยจ่ายไฟบวกจ่ายเข้าที่ Plate และไฟ

ลบเข้าท่ี Coil ส่วน Fry Ash หรือขีเถ้าลอยท่ีเกิดจากการเผาไหม้เชือเพลิงใน Boiler จะมีประจุไฟฟ้าบวก และ
ประจุลบอยู่ในขีเถ้าเบา พอลอยผ่านระบบของ ESP. ขีเถ้าลอยประจุบวกก็จะไปติดกับ Coil , ส่วนขีเถ้าลอยประจุ
ลบก็จะไปติดกับ Plate เมอื่ ขเี ถา้ เหล่านีเกาะแล้วก็จะมี Hammer เคาะเป็นชว่ งเวลา(Timer) ทา้ ให้ขเี ถา้ ร่วงหลน่ ไป
ใน Hopper และถกู ล้าเลียง

รปู ท่ี 7 เครอ่ื งดกั ฝุ่นแบบไฟฟา้ สถติ ย์ (ESP)
ทมี่ า โรงไฟฟา้ โคลเวอร์ พษิ ณุโลก

4

3.7 เครือ่ งกงั หนั ไอน้า (Steam Turbine)
เครื่องกังหันไอน้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้าของ ของเหลวที่ได้รับความร้อนจนเปล่ียนสถานะเป็นไอน้าท่ี

เหมาะสม หรือเรียกว่าไอดง(Superheat steam) มาขับใบพัดที่ยึดกับเพลาของกังหันไอน้าให้หมุน เพ่ือเปลี่ยน
พลังงานความรอ้ น ความดัน และความเรว็ ของไอนา้ ให้เป็นพลงั งานกลเพื่อไปขับเคร่ืองจักรตอ่ ไป เช่น เครื่องก้าเนิด
ไฟฟา้ ฯลฯ

เคร่ืองกงั หนั ไอนา้ ประกอบด้วย 4 สว่ นใหญๆ่ คอื
1) ระบบควบคมุ (Governor System)
2) เพลาหมนุ และใบพดั (Rotor & Moving Blade)
3) ตวั ถงั และใบพดั (Casing & Stationary Blade)
4) เครอ่ื งควบแน่น (Condenser)

รปู ท่ี 8 เครื่องกงั หนั ไอน้า (Steam Turbine)
ทีม่ า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พิษณโุ ลก

3.8 เครอื่ งกา้ เนิดไฟฟ้า (Generator)
เครอื่ งกา้ เนดิ ไฟฟา้ จะติดตงั อยูใ่ นแนวและระดับเดียวกับเคร่ืองกงั หนั ไอนา้ โดยเพลาของเคร่ืองก้าเนดิ ไฟฟ้า

ตอ่ โดยชดุ เกียรท์ ดรอบเข้ากับเพลาของเครอื่ งกังหันไอน้า ดังนนั เมือ่ เครื่องกังหนั ไอน้าหมนุ ก็จะท้าใหเ้ พลาของเครอ่ื ง
ก้าเนิดไฟฟ้าหมนุ ไปดว้ ย ที่เพลาของเคร่ืองก้าเนดิ ไฟฟา้ มตี ัวน้าพันอย่กู ับแกนเหล็กไฟฟา้ กระแสตรงจะถกู จา่ ยใหก้ ับ
ตัวน้านี ดังนันจะเกิดสนามแม่เหล็กขึนท่ีเพลาของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า เมื่อเพลาของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าหมุน
สนามแม่เหล็กก็หมุนไปด้วย สนามแมเ่ หล็กนีจะหมุนไปตัดกับตวั น้าอีกชุดหนึ่งซึ่งพันอยู่กบั แกนเหล็กติดอยู่รอบ ๆ
ตัวถังของเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า เม่ือตัวน้านีถูกสนามแม่เหล็กจากเพลาหมุนตัดจะเกิดการเหน่ียวน้า และเกิด
กระแสไฟฟ้าไหลในตัวน้าที่ติดอยู่กับตัวเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึนจะส่งเข้าไปยังหม้อแปลงไฟฟ้า
แรงดันสูงเพื่อจ่ายให้กับสายส่งแรงสูงต่อไป นอกจากที่กล่าวมานี เคร่ืองก้าเนิดไฟฟ้ายังประกอบด้วยอุปกรณ์อ่ืนๆ
อีกมาก เช่น ระบบระบายความรอ้ น ระบบควบคุม ฯลฯ

5

รปู ท่ี 9 เครื่องกา้ เนิดไฟฟา้ (Generator)
ทม่ี า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พษิ ณุโลก

รปู ที่ 10 เคร่ืองก้าเนดิ ไฟฟา้ (Generator)
ท่ีมา โรงไฟฟ้า RTB

4. หลกั การทา้ งานระบบเผาไหม้
การท้างานของระบบหม้อน้าในโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ขันแรกน้าบริสุทธ์ิท่ีปราศจากแร่ธาตุ (Deminerize

Water) จะถูกสูบเข้าไปสหู่ ม้อน้าโดยรักษาระดับนา้ ในหม้อนา้ ให้เหมาะสม จากนนั จะจุดเชือเพลงิ ภายในเตา ความ
ร้อนที่เกิดจากการเผาไหม้เชือเพลิงจะส่งผ่านไปยังน้าท่ีอยู่ในท่อผนังเตา น้าในท่อผนังเตาจะมีอุณหภูมิสูงขึน และ
เกิดการไหลเวียนพร้อมกับการถ่ายเทความร้อนของน้า น้าจะมีอุณหภูมิสงู ขึนเรือ่ ยๆ จนกลายเปน็ ไอนา้ ท้าให้มีความ
รอ้ นและแรงดันสูงขึนด้วย น้าทีม่ ีอุณหภูมิสูงจนกลายเป็นไอน้าจะไหลเข้าสู่แผงท่อไอน้า เมื่อรับความรอ้ นจากก๊าซ
ร้อนท่ีเกิดจากการเผาไหม้เชือเพลิงอีกครังหนึ่งจนไอน้ามีอุณหภูมิ และความดันสูง(Super steam) ขึนพอเหมาะ
จากนันไอน้าท่มี อี ณุ หภมู ิและความดนั สูง(Super steam) นีจะไหลออกจากหมอ้ นา้ ผา่ นไปยังท่อน้าเพื่อไปหมุนกงั หัน
ไอนา้ ต่อไป

ความร้อนท่เี กิดจากการเผาไหม้เชือเพลงิ ภายในเตาจะสง่ ผา่ นไปยังนา้ ในท่อผนงั เตาด้วยการแผ่รังสีการน้า และ
การพาความร้อน สว่ นก๊าซรอ้ นที่เกิดจากการเผาไหม้(Flue gas) จะไหลผา่ นแผงท่อนา้ ไอนา้ (Super heat) และแผง
ทอ่ รับความร้อน(Economizer) ซึ่งในช่วงนกี ็จะถ่ายเทความร้อนให้กับไอน้า และน้าในแผงท่อรับความร้อน ท้าให้
อณุ หภมู ขิ องก๊าซรอ้ นทอี่ อกจากตวั หม้อน้าต่า้ ลง ในขันสดุ ทา้ ยกอ่ นท่ีก๊าซดงั กล่าวจะไหลออกสูป่ ล่องควันนนั กา๊ ซจะ

6

ผ่านไปยังเครื่องอุ่นอากาศ (Air Pre Heater) เพื่อถ่ายเทความร้อนให้กับอากาศที่จะมาใช้ในการเผาไหม้ ท้าให้
อากาศมีอณุ หภูมสิ งู ขึน แต่ก๊าซร้อนทอ่ี อกจากเคร่ืองอุ่นอากาศจะมีอณุ หภูมติ ่้าลง ทงั นีเพอ่ื เปน็ การเพิ่มประสทิ ธิภาพ
ในการเผาไหม้ และประสิทธิภาพของหมอ้ น้า

รูปที่ 11 กระบวนการท้างานในโรงไฟฟา้ เบอื งต้น
ที่มา นายศภุ กฤต อนิ ทญาติ

5. หลักการท้างานของกังหนั ไอนา้
การท้างานของเครื่องกังหันไอน้า ไอน้าท่ีมีอุณหภูมิ และความดันสูง(Super steam) จากท่อน้าไอน้า(Main

steam) จะไหลเข้าสู่เครอ่ื งกังหนั ไอน้า(Turbine) ผ่านทางวาล์วของระบบควบคุม เพ่ือควบคุมการไหลของไอน้าที่
จะไปหมุนกังหันไอน้าให้เหมาะสมกับความเร็วรอบหรือภาวะท่ีต้องการ จากนันไอน้าก็จะไหลเข้าสู่ตัวกังหันไอน้า
(Turbine) ซ่ึงประกอบด้วยตัวถัง โดยมีเพลาหมุน และใบพัดติดตังอยู่ภายในตัวถัง เพลานีจะถูกรองรับด้วยแบริ่ง
(Bearing) เม่ือไอน้าไหลเข้ามาในตัวกังหนั ไอน้า ความดันของไอน้าจะลดลงและเกิดการขยายตัวของไอน้าขึน การ
ขยายตัวนีจะทา้ ใหป้ ริมาตรของไอน้าเพิม่ ขึน มีผลให้ความเรว็ การไหลของไอน้าในตวั กังหันสงู ขึน ไอน้าท่ีความเร็วสูง
นจี ะไปปะทะกับใบพัด(Moving Blade) ทต่ี ดิ อยู่กับเพลา ทา้ ให้เกดิ แรงผลักดนั ใหเ้ พลาของกงั หันหมนุ แตเ่ นอื่ งจาก
ใบพัดในตัวกงั หันไอนา้ ได้ถูกออกแบบไว้เป็นชดุ ๆ จ้านวนหลายชุดติดตังอยู่บนเพลาหมุนเดียวกัน ดังนันไอน้าทไ่ี หล
ผ่านจากใบพัดชุดแรก จะไหลผ่านใบพัดที่ติดตังอยู่กับตัวถงั (Stationary Blade) และไปปะทะกับใบพัดชุดหลังๆ
ไปเร่ือยๆ ท้าให้เราได้พลังงานในรูปพลังงานกลจากลักษณะการหมุนของเพลากังหันน่ันเอง เม่ือไอน้าผ่านชุดของ
ใบพัดจนครบ ความดันและอุณหภูมิของไอน้าจะลดลง ไอน้าก็จะไหลออกจากกังหันเข้าสู่เครื่องควบแน่น ซ่ึงมี
ลักษณะเป็นห้องสีเ่ หลี่ยมขนาดใหญ่ สร้างด้วยเหล็กที่มีความแข็งแรงพอทจ่ี ะรับการกระแทกของไอน้าได้ ภายในท่อ
จะมที ่อโลหะ เช่น ทองเหลืองสอดขวางอยู่เป็นจ้านวนมากภายในท่อนีจะมีนา้ ท่ีใช้ระบายความรอ้ นไหลอยู่ ดังนัน
เม่ือไอน้าไหลเข้าสู่เครื่องควบแน่น ไอน้าจะถ่ายเทความร้อนผ่านท่อให้น้าในท่อ และตัวไอน้าเองก็จะควบแน่น
เปล่ยี นสถานะเป็นนา้ บริสุทธอิ์ กี ครังหนง่ึ ในขณะไอนา้ เปลี่ยนสถานะเปน็ น้านนั ปริมาตรของไอนา้ จะลดลงอย่างมาก

7

ท้าให้ความดนั ในเครอ่ื งควบแนน่ ต้่ากว่าบรรยากาศ ซงึ่ เป็นผลในด้านการไหลของไอน้า และประสิทธภิ าพของเครื่อง
กงั หันไอน้าจะสูงขึนด้วย ส่วนน้าบริสุทธ์ิ(Deminerize Water) ท่ีไดร้ ับจากการควบแน่นของไอน้าจะถูกสูบวนกลับ
เข้าหม้อน้าอีก การท้างานของระบบกังหันที่กล่าวมานีเป็นเพียงคร่าวๆ เท่านัน ในการท้างานจริงจะมีระบบอื่น ๆ
อกี เชน่ เครื่องอุ่นน้า ป้ัมน้ามนั ความดนั สงู เครือ่ งดดู อากาศ เปน็ ตน้

รูปที่ 12 กระบวนการท้างานกงั หันไอน้าเบืองต้น
ท่ีมา Training SSPC

6. ระบบผลิตน้าในโรงไฟฟา้
Demineral Water น้า DMW คือ น้าที่ผ่านขบวนการขจัด อิออนของสารละลายทังหมด ท้าให้ได้น้าบริสุทธ์ิท่ี
ปราศจากเกลือแร่ ไม่มีสารใดๆ หลงเหลืออยู่ในน้า มีเพียงแต่โมเลกุลของน้าบริสุทธ์ กระบวนการผลิตน้าดีมินมี
ดงั ตอ่ ไปนี

รปู ท่ี 13 กระบวนการท้าน้าดมี ิน
ท่ีมา โรงไฟฟา้ โคลเวอร์ พิษณุโลก

8

6.1 ถังตกตะกอน (Clarifier Tank)
ถังตกตะกอน ท้าหน้าที่ให้น้าท่ีมีความขุ่นจากตะกอนเป็นเนือเดียวกับน้า เช่น น้าแม่น้า, อ่างเก็บน้า ซ่ึงไม่

สามารถท้าให้ตกตะกอนได้ เม่อื ทงิ ไวเ้ ปน็ เวลานาน ดังนันจึงตอ้ งใชส้ ารเคมีชว่ ยในการตกตะกอน
1) Polymer เพือ่ ช่วยให้ตะกอนรวมตวั ใหม้ ีขนาดใหญ่มากขึน
2) PAC หรือ Poly Aluminum Chloride ผสมกับน้าผ่านเข้าถังตกตะกอน เม่ือน้าผ่านถังตกตะกอน

จะได้ทนี่ า้ ใสออกมา
3) ฆ่าเชือดว้ ยคลอรนี
เมือ่ ได้นา้ Clear Water จงึ น้ามาผ่านเคร่อื งกรองทราย (Sand Filter) อีกครัง เพอ่ื กรองเอาสารแขวนลอย

ขนาดเล็ก ท่อี าจจะตกคา้ งอย่อู อกไปเพ่ือได้นา้ ประปาต่อไป

รปู ที่ 14 Clarifier Tank
ที่มา โรงไฟฟา้ โคลเวอร์ พษิ ณุโลก
6.2 Reverse Osmosis (R.O.)
Reverse Osmosis (R.O.) เป็นกระบวนการผลิตน้าโดยใช้แรงดันสูงฉีดน้าให้ซึมผ่านตัวฟอกคุณภาพสูง
Membrane ท่ีประกอบไปด้วยรูพรุนขนาดเล็กจ้านวนมาก มีความละเอียดสูงถึง 0.0001 ไมครอน จึงได้น้าที่ใส
สะอาดปราศจากสารแขวนลอยต่างๆ

รูปที่ 15 Membrane
ทม่ี า โรงไฟฟ้า CPX

9

6.3 ระบบ EDI (Electrodeionization)
ระบบ Electrodeionization (EDI) เป็นเทคโนโลยีท่ีผสานหลักการแลกเปลี่ยนไอออนด้วยเรซิน และ

หลักการแยกไออนด้วยไฟฟ้าเข้าด้วยกัน ระบบ EDI เป็นระบบผลิตน้าบริสทุ ธิ์ทสี่ ามารถท้างานได้อย่างต่อเน่ืองโดย
ไม่ต้องหยุดเครื่องเพือล้างคืนรูปสารกรองระบบ EDI มีประสทิ ธิภาพในการแยกไอออนในน้าได้ถึง 95-99% โดยใช้
หลักการไฟฟ้าเพื่อสร้างให้เกิดความต่างศักย์ท่ีขัวปลายทังสองข้างของแผ่น anode และ cathode ภายในระบบ
ประกอบด้วยเยื่อเมมเบรนที่มีเรซินบรรจุอยู่ระหว่างกลาง วางเรียงซ้อนสลับประจุกันเป็นห้องๆ เมอ่ื เกิดความต่าง
ศกั ย์ขึนที่ปลายทังสองข้างของแผ่นขัว anode และ cathode ไอออนในน้าจะเคล่ือนท่ีไปยังขัวตรงข้าม โดยมีเยื่อ
เมมเบรนประจุบวกท่ียอมให้ประจุบวกไหลผ่าน ในขณะทีเ่ ยอื่ เมมเบรนประจุลบจะยอมให้ประจุลบไหลผ่านเทา่ นัน
เรซินที่อยู่ระหวา่ งเยอื่ เมมเบรนท้าหน้าที่ชว่ ยในการดูดจับไออนต่างๆ ให้ดียิ่งขึน ผลท่ีได้คือไอออนบวกและไอออน
ลบท่ีปนเปือ้ นมากับน้าจะถูกแยกไปอยู่รวมกันในห้องทีม่ ีความเข้มข้นสูง และไดส้ ่วนท่ีเป็นน้าสะอาดแยกไว้ในห้อง
แยกกันซึ่งสามารถดึงออกมาใช้งานได้ต่อไป

/
รปู ท่ี 16 EDI (Electrodeionization)
ทมี่ า http://www.waterwisesys.com

6.4 หอระบายความร้อน (Cooling tower)
Cooling Tower คอื หอระบายความรอ้ นของนา้ ท้าหน้าทใ่ี นการระบายความร้อนใหก้ บั Condenser และ

เครอื่ งจกั รต่างๆ โดยน้าน้าท่ีมีอุณหภูมสิ ูงจาก Condenser หรอื เคร่ืองจักร มาฉีดให้เปน็ ฝอย(Spray nozzle) แล้ว
ปล่อยลงมาจากด้านบน ขณะท่ีน้าไหลลงมา จะเคล่ือนท่ีสวนทางกับอากาศที่ถูกดูดจากพัดลมอยู่เหนือหอระบาย
ความรอ้ น ท้าให้อณุ หภมู ิของน้าจะลดลง และไหลลงสดู่ ้านลา่ ง

รปู ท่ี 17 หอระบายความรอ้ น (Cooling tower)
ทีม่ า โรงไฟฟา้ โคลเวอร์ พิษณโุ ลก

10

รูปท่ี 18 การท้างานหอระบายความรอ้ น (Cooling tower)
ท่ีมา https://naichangmashare.com

7. ระบบล้าเลยี ง (Conveyor)
ระบบการขนสง่ ทีป่ ระกอบด้วยเครอ่ื งกลทีส่ ามารถเคลอื่ นย้ายวสั ดุจากสถานที่หน่งึ ไปยงั อีกท่ีหน่ึง ถกู ออกแบบมา

สา้ หรับอ้านวยความสะดวกในการขนสง่ หรอื ขนยา้ ยผลิตภัณฑ์ วัสดุหลากหลายชนิด ระบบล้าเลยี งสามารถใช้งานได้
หลากหลายรปู แบบ แลว้ แตผ่ อู้ อกแบบ และลกั ษณะงานการขนย้าย

ระบบล้าเลียงในโรงไฟฟ้าท่ีใช้ในการท้างาน สว่ นใหญ่จะใช้ในงานลา้ เลยี งเชอื เพลิงเพื่อปอ้ นเข้าสู่หม้อน้า (Boiler)
เพื่อเผาไหม้ภายในเตา และใช้ในงานล้าเลียงขีเถ้าทห่ี ลงเหลอื จากการเผาไหม้เชอื เพลงิ สามารถแบง่ ระบบล้าเลยี งท่ี
ใชง้ าน ดังต่อไปนี

7.1 ระบบล้าเลียงรางสไลด์ (Moving floor)
ระบบลา้ เลียงวสั ดุด้วยรางสไลดไ์ ฮดรอลิกส์เคลือ่ นที่ คือระบบล้าเลียงวสั ดุที่เคลอื่ นที่ด้วยระบบไฮดรอลิกส์

ส้าหรับการเคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหน่ึงไปยังจดุ หน่ึงจ้านวนมาก ช่วยอ้านวยความสะดวกในการขนถ่ายวัสดุโดยไม่
จ้าเปน็ ต้องมีบคุ คลชว่ ย

รูปท่ี 19 ระบบลา้ เลยี งรางสไลด์ (Moving floor)
ทมี่ า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พิษณโุ ลก

11

7.2 ระบบโซ่ลา้ เลียงแนวเอยี ง (Incline chain)
ระบบโซ่ล้าเลียงแนวเอียง (Incline chain) คือ เคร่ืองมือในการขนถ่ายวัสดุปริมาณมวลในทิศทางเดียว

อย่างต่อเนอ่ื ง ในแนวเอยี ง ขบั เคล่ือนด้วยมอเตอร์ตน้ ก้าลงั โดยใช้โซ่ (Chain) เป็นตวั กลาง ในการล้าเลียงนีจะมีแผ่น
เพลทที่ยึดติดกบั โซ่ (Chain) โดยลา้ เลยี งจากส่วนล่าง ของตน้ ทางวัสดุไปยังสว่ นหัวทเ่ี ปน็ ตา้ แหนง่ ปลายทาง

รูปท่ี 20 ระบบโซล่ ้าเลยี งแนวเอียง (Incline chain)
ที่มา โรงไฟฟา้ โคลเวอร์ พษิ ณุโลก

7.3 ระบบลา้ เลยี งแบบสกรูคู่ (Double screw)
ระบบล้าเลียงแบบสกรูคู่ (Double screw) คือ การขนถ่ายวัสดุปริมาณมวลในทิศทางแนวแกนราบ

(แนวแกน X) โดยขบั เคล่อื นด้วยมอเตอร์ต้นกา้ ลงั เพือ่ ควบคุมขับเคล่ือนวสั ดเุ ชอื เพลงิ และมกิ ส์ผสมผสานเชือเพลิง
กนั ก่อนเข้าหม้อน้า (Boiler) เพ่ือไปเผาไหมต้ ่อไป

รูปที่ 21 ระบบลา้ เลยี งแบบสกรูคู่ (Double screw)
ทม่ี า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พิษณโุ ลก

12

8. เชือเพลงิ ชีวมวล
เชือเพลิงชีวมวล หมายถึงวัสดุเหลือทิงทางการเกษตร หรือพืชพลังงานที่ปลูกขึนมา เพื่อน้าไปใช้เป็นเชือเพลงิ ใน

ประเทศไทย เชือเพลิงชีวมวลเกือบทังหมดเป็นอย่างแรกพืชเศรษฐกิจหลายชนิดในประเทศไทย เช่น ข้าว อ้อย
ขา้ วโพด และมันส้าปะหลงั มีการเพาะปลูกในปริมาณมากจึงมีเศษวัสดุเหลอื ทิงในปริมาณมาก เช่นกันในอดีตวัสดุ
เหล่านีนิยมน้าไปผลติ ปุ๋ย หรือน้าไปแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลค่า แต่กม็ ีปริมาณไม่นอ้ ยที่ถูกก้าจัดโดยการเผาทิงในปัจจุบัน
ได้มีความตระหนักว่าวัสดุเหลอื ทิงทางการเกษตรเหล่านมี ีศักยภาพทจี่ ะเป็นเชอื เพลิงชวี มวลสา้ หรับการผลติ ไฟฟ้าได้
ถ้ามลู ค่าของวสั ดุในฐานะเชือเพลงิ ชีวมวลมีคา่ สูงเม่อื เทยี บการใชป้ ระโยชนใ์ นด้านอื่น

เชอื เพลงิ ท่ใี ช่ในโรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พษิ ณโุ ลกแบ่งได้ 2 ประเภท ดงั นี
1) เชือเพลงิ หนัก
2) เชือเพลิงเบา

คำนวณ นำ้ หนกั เชอื้ เพลิงบนฐำนควำมรอ้ น Guarantee 10,000 kJ/kg

E ชนดิ เชอื้ เพลงิ หนว่ ย W1 LHV1 M1 LHV2 M2 W2
1,663.589
E1 ไมส้ บั RB020001 Ton 1,899.150 8,939 45.02 8,759.65 45.89 787.227

E2 ไม-้ ไมส้ บั โรงสบั (สบั Urraco) RB020102 Ton 880.260 8,939 45.02 8,943.12 45.00 -
312.522
E3 ไมท้ อ่ น FA020001 Ton - 8,939 45.02 7,912.38 50.00
-
E4 ใบออ้ ย RA060001 Ton 199.750 16,795 9.20 15,645.68 14.64 -
190.808
E5 ฟางขา้ ว RA010001 Ton - 13,650 10.00 14,075.69 7.61 44.441

E6 ซงั ขา้ วโพด RA070003 Ton - 15,898 10.25 10,017.77 39.10

E7 เปลอื กขา้ วโพด RA070001 Ton 215.350 12,532 27.06 8,860.39 45.00

E8 เปลอื กไมส้ บั FB020004 Ton 66.570 6,557 55.59 6,675.77 55.00

รูปท่ี 22 ตารางค้านวณน้าหนกั เชือเพลงิ บนฐานความร้อน Guarantee 10,000 kJ/kg

ทม่ี า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พษิ ณโุ ลก

8.1 เชอื เพลงิ หนกั
เชือเพลงิ หนกั คือชีวมวลทีม่ นี ้าหนัก และใช้ระยะเวลาในการเผาไหม้ ลักษณะของการเผาไหม้เชอื เพลงิ หนกั นี

จะเผาไหมอ้ ยู่บรเิ วณใต้ตระกบั เตา หรอื ก้นเตา (Boiler) ตวั อย่างเชน่ ไม้สบั เปลอื กไม้ ข้อไผ่

รปู ที่ 23 ตัวอย่างเชอื เพลิงหนัก (ชวี มวล)
ทม่ี า โรงไฟฟ้า โคลเวอร์ พษิ ณุโลก

13


Click to View FlipBook Version