“การพัฒนาทักษะชีวิตสู่การสร้าง soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model” รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) ด้านการพัฒนานวัตกรรมเชิงวัฒนธรรมสู่การสร้าง Soft Power ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขตศรีนครเตา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ค ำน ำ การจัดท ารายงานพัฒนานวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอน เป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ซึ่ง โรงเรียนดอนแรดวิทยา ได้พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้ “การพัฒนาทักษะชีวิตสู่การสร้าง soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model ” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีเป้าหมาย และใช้ความมุ่งมั่นในการ พัฒนาทักษะอาชีพ เสริมสร้างการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การปฏิบัติต่อยอดความสามารถเดิม และส่งเสริม ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ค้นคว้าในสิ่งที่ตนเองสนใจ ด้วยกิจกรรมด้านอาชีพ โรงเรียนดอนแรดวิทยามีแนวทาง ขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านกระบวนการท างานที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษา กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมพัฒนานักเรียน โครงการพัฒนาคุณภาพนักเรียน เป็นต้น ซึ่ง กระบวนการพัฒนาที่เน้นการสร้างการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมโรงเรียนจัดผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่ม เวลารู้และ กิจกรรมพัฒนานักเรียนเป็นหลัก โดยผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดและสนใจ สามารถเรียนรู้ได้ อย่างเต็มตามศักยภาพ จนกระทั้งผลงานของนักเรียนได้รับการเผยแพร่ การยอมรับ จนเกิดผลเป็นที่ประจักษ์ต่อ สารณชนทั่วไป คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้คงจะช่วยอ านวยความสะดวกให้กับคณะกรรมการ ประเมินผลงานที่ปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Practice) ได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้ค าแนะน าที่เป็นประโยชน์และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Best Practice “การพัฒนาทักษะชีวิตสู่การสร้าง soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model” นี้จะเป็นแบบอย่าง และเป็น ประโยชน์ต่อผู้เรียน และผู้ที่สนใจเป็นอย่างยิ่ง นายสุดใจ ศรีใหญ่ ผู้อ านวยการโรงเรียนดอนแรดวิทยา
สำรบัญ เรื่อง หน้ำ 1 ความส าคัญของนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) __________________________ 1 2 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน___________________________________________ 3 3 ขั้นตอนการด าเนินงาน ___________________________________________________________ 3 4.ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่ได้รับ __________________________________________________ 9 5 ปัจจัยความส าเร็จ_______________________________________________________________10 6.บทเรียนที่ได้รับ_________________________________________________________________10 7.การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ_________________________________________10 ภาคผนวก ______________________________________________________________________11-15
รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) ประเภทของนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ การพัฒนานวัตกรรมเชิงวัฒนธรรมสู่การสร้าง Soft Power ชื่อวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ “การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model” โรงเรียน ดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (7) ชื่อ-สกุล ผู้บริหารสถานศึกษา นายสุดใจ ศรีใหญ่ จ านวนครูทั้งหมด 21 คน จ านวนนักเรียนทั้งหมด 225 คน 1. ความส าคัญของนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) แนวทางการพัฒนาทักษะชีวิตตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนานักเรียนให้ตระหนักถึง การพัฒนาทักษะชีวิต นักเรียนให้มีภูมิคุ้มกันโดยก าหนดให้มีการพัฒนาภูมิคุ้มกันให้กับเด็กในเรื่อง การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและ ผู้อื่น การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น โดยมุ่งให้นักเรียนแต่ละชั้นปีได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนานักเรียนเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต โดยเน้นนักเรียนให้เกิดพฤติกรรมตามจุดเน้นซึ่ง ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ก าหนดองค์ประกอบ ทักษะชีวิตส าคัญ ที่จะสร้างและพัฒนาเป็นภูมิคุ้มกันชีวิตให้แก่เด็กและเยาวชนในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรียมพร้อม ส าหรับอนาคตไว้ 4 องค์ประกอบ คือองค์ประกอบที่ 1 : การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น องค์ประกอบ ที่ 2 : การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์องค์ประกอบที่ 3 : การจัดการกับอารมณ์และ ความเครียดและ องค์ประกอบที่ 4 : การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น โดยประเด็นส าคัญ สอดคล้องกับเป้าหมายของ การพัฒนาคนในศตวรรษที่ 21 ที่สถานการณ์โลกมีความแตกต่างรวมทั้งระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้ สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นอาจกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ควรมุ่งเน้นไปเพื่อการเตรียมความพร้อมทรัพยากร มนุษย์ให้มีความพร้อม หรือ Education for All หมายถึง การจัดการศึกษาทั่วถึงท าให้เกิดความเสมอภาคให้นักเรียน ทุกคนที่สามารถ เข้าถึงการศึกษาได้ปัจจุบันการด าเนินการจัดการศึกษาตามแนวคิดนี้ยังมีความเหลื่อมล้ าขาดความ เสมอภาคที่นักเรียนบางส่วนยังไม่สามารถ เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้เท่าเทียมกัน ตามการเปลี่ยนแปลงการจัด การศึกษาในวิถีใหม่ (New Normal Transformation) ได้ปรับเปลี่ยนแนวคิดเป็น All for Education ที่มี Soft Power ใช้พลังความร่วมมือโดยไม่ใช้การบังคับให้ท าตาม โดยการด าเนินการของ Soft Power เพื่อจัดการเรียนรู้ในลักษณะ Co-people หรือความร่วมมือของภาครัฐ เอกชน ชุมชน ร่วมมือกันในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักเรียน เพื่อสร้าง Passion ให้นักเรียนมีเป้าหมายและใช้ความมุ่งมั่น ในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ผ่านวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ ส าคัญ (Objective and Key results) ของการจัดการเรียนรู้ว่าการสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ให้ทันกับสถานการณ์ที่จะ เกิดขึ้นใหม่ได้ซึ่ง Soft Power คือ พลังดึงดูดความสนใจในการสร้างนวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้การสร้างความมีส่วน
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 2 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ร่วมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางความคิดและการปฏิบัติรวมพลังกันสร้างสรรค์นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ที่ตอบ ค าถามว่าต้องปรับเปลี่ยนอะไรบ้างเพื่อเตรียม นักเรียนไปสู่สังคมอนาคต รวมทั้งการต่อยอดความสามารถเดิม (Up skills) ให้สูงขึ้น การเสริมสร้างขีดความสามารถใหม่ (Re-skills) การเปลี่ยนแปลง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งระบบการประเมินผล ต้อง เปลี่ยนแปลงส่วนใด อะไรคือนวัตกรรมสร้างสรรค์ที่ต้องท าให้ เกิดขึ้น จากข้อมูลข้างต้น สอดคล้องกับการจัด การศึกษาของโรงเรียนดอนแรดวิทยาซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยม ขนาดเล็กประจ าต าบล จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาที่ 1-6 ซึ่งมีเป้าหมายทางการศึกษาเมื่อจบหลักสูตรให้นักเรียนมีทักษะอาชีพที่ สอดคล้องกับความศรัทธา ความชอบ ความถนัดของนักเรียน โดยจากผลการตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับประเด็นความ มุ่งหวังในการใช้ชีวิต พบว่า นักเรียนขาดแรงบรรดาลใจในการเลือกอาชีพในอนาคต ซึ่งส่งผลให้ขาดความกระตือรือร้น ในการพัฒนาตนเอง ขาดเป้าหมายที่ชัดเจนในด้านอาชีพ และมีแรงถดถอยในการเรียนรู้ (กลุ่มบริหารงานวิชาการ. โรงเรียนดอนแรดวิทยา,2565) จากผลการส ารวจดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนดอนแรดวิทยาจึงได้ท าการศึกษา และ วิเคราะห์ถึง ปัจจัยการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ของ Soft Power การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและเปิดใจกว้าง เช่น ความสามารถในการฟังผู้อื่นและตั้งค าถามด้วยความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ความสามารถ ในการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจาก Big Data ความคิดริเริ่มบุกเบิกอยู่เสมอ ไม่รอให้มีคนบอกให้ท า เมื่อลงมือปฏิบัติ แล้วไม่ล้มเลิก มองเห็นอุปสรรค ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการและสามารถสื่อสารให้กับเพื่อนร่วมเครือข่าย เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวอาจสรุปได้ว่า การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนบรรยากาศ All for Education ใน บริบท Soft Power ทางด้านวัฒนธรรม ค่านิยม บทบาทการสร้างประชาธิปไตยและการเคารพสิทธิศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ใน New Normal ซึ่งเรียบง่ายไม่ซับซ้อนอยู่บนพื้นฐาน ความพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มี ความรู้ และ คุณธรรมจริยธรรมโดยมีต้นแบบของผู้ที่มีความสามารถที่หลากหลายที่สามารถพัฒนาต่อยอดความเป็น มนุษย์ที่มีความพร้อมในศตวรรษที่ 21 โดยการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งเน้นการเสริมสร้าง วัฒนธรรมการท างาน ที่เน้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด (Co-people) โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลลัพธ์ในกิจกรรมนั้นเป็นบุคคลต้นแบบ ที่มีความสามารถหลากหลายในทักษะชีวิตเฉพาะด้าน โรงเรียนดอนแรดวิทยาจึงได้พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโดย ใช้การพัฒนาทักษะชีวิตสู่การสร้าง soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ วัฒนธรรมร่วมด้วย สร้างสรรค์นวัตกรรม แบ่งปันทรัพยากร ใช้เทคโนโลยีสนับสนุน Soft Power กับการเรียนรู้
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 3 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: 2.วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน 2.1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนมีเป้าหมายและใช้ความมุ่งมั่นในการพัฒนาทักษะอาชีพ 2. เพื่อเสริมสร้างการเปลี่ยนแปลงทางความคิดและต่อยอดความสามารถเดิม 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ค้นคว้าในสิ่งที่ตนเองสนใจ ด้วยกิจกรรมด้านอาชีพ 2.2 เป้าหมาย เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนดอนแรดวิทยา ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 80 ของจ านวน นักเรียนทั้งหมด เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองในด้านทักษะอาชีพตามความถนัดและสนใจ 2. นักเรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาชีพตามความถนัดและสนใจ 3. นักเรียนมีทักษะในด้านอาชีพตามความถนัดและความสนใจ 3.ขั้นตอนการด าเนินงาน การพัฒนาทักษะชีวิตให้นักเรียนมีความสามารถที่จะจัดการกับปัญหาต่าง ๆ รอบตัวในสภาพ สังคมปัจจุบันและเตรียมความพร้อมส าหรับการปรับตัวในอนาคต โรงเรียนดอนแรดวิทยามีแนวทางขับเคลื่อนเพื่อให้ เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านกระบวนการท างานที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมพัฒนานักเรียน โครงการพัฒนาคุณภาพนักเรียน เป็นต้น ซึ่ง กระบวนการพัฒนาที่เน้นการสร้างการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมโรงเรียนจัดผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และ กิจกรรมพัฒนานักเรียนเป็นหลัก โดยครูได้หารือกันผ่านชุมชมทางวิชาชีพ (PLC) โดยมีแนวทางในการด าเนินการดังนี้ ออกแบบกิจกรรมที่ขับเคลื่อนด้วย IDOLS Model ศึกษาส ารวจรวบรวมข้อมูล ก าหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด วิเคราะห์ปัญหา สะท้อนคิด สรุปบทเรียนร่วมกัน น าสู่การปฏิบัติ ลงสู่ผู้เรียน DO สรุปข้อเสนอแนะ/เผยแพร่ผลงาน Do Check 1 2 4 6 7 Act Plan 5 3
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 4 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ตัวป้อน Input กระบวนการ Process ผลผลิต Output นักเรียน ครู ผู้บริหาร ความคาดหวังหรือเป้าหมาย ตัวชี้วัด ทรัพยากร ระยะเวลา กลุ่มของนักเรียนประกอบอาชีพมีรายได้ ตามความสนใจของกลุ่ม กิจกรรมเน้นทักษะกระบวนการด้านทักษะชีวิตสู่การพัฒนาด้านอาชีพ จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับชีวิตจริง พัฒนาต้นแบบตัวบุคคลให้เป็นที่ยอมรับของ นักเรียน ให้บทบาทกับบุคคลต้นแบบในการสร้างวัฒนธรรมที่ส่งผลด้านอาชีพ จากแผนภาพกระบวนการพัฒนาทักษะชีวิต ด้วยกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และกิจกรรมพัฒนานักเรียน ตามกรอบของกระบวนการ PDCA มีรายละเอียดของการด าเนินงาน ดังนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหา จากเอกสารบันทึกการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) กิจกรรม ลดเวลาเรียนปีการศึกษา 2564 พบปัญหาที่ซ้ า ๆ สรุปเป็นประเด็นของปัญหาด้านนักเรียนได้แก่ความไม่สนใจในการท า กิจกรรม การท างานเป็นทีมเกิดความล้มเหลว แรงจูงใจในการท ากิจกรรมไม่มี กิจกรรมไม่ท้าทายกับนักเรียน นักเรียน แกนน าในการท ากิจกรรมมีน้อย ครูมีเทคนิคในการจัดกิจกรรมที่จะกระตุ้นความสนใจได้ไม่ดี เป็นต้น คณะครูจึงได้น า ปัญหามาท าการวิเคราะห์ โดยการเสนอปัญหาจากประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาของครูน า สรุปด้วยแผนภูมิ ก้างปลา ดังนี้ จากแผนภูมิการสะท้อนสภาพปัญหาพบว่า “นักเรียนไม่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement Motive) ส่งผลให้การพัฒนาตนเองด้านทักษะอาชีพไม่ประสบความส าเร็จ วิธีการสร้างแรงบันดาลใจที่ส่งผลให้การ พัฒนาตนเองให้มีทักษะชีวิต ส่งผลต่อทักษะอาชีพต้องท าอย่างไร” สาเหตุของปัญหามาจากหลาย ๆ ปัจจัย อาทิเช่น กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียน ครู และผู้บริหาร เมื่อวิเคราะห์ปัญหาตามวิธีระบบ (System Approach) แสดงได้ตามผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้ ขาดการพัฒนาตนเอง ด้านทักษะอาชีพ Item 3 กระบวนการจัดกิจกรรม Feedback
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 5 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: 2. ก าหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด ข้อมูลที่ได้จาการวิเคราะห์ปัญหามีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย แต่ละปัจจัย ส่งผลให้คุณภาพของนักเรียนลดลง คณะครูได้ร่วมกันก าหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดขึ้นใหม่ในปีการศึกษา 2565 ดังนี้ เป้าหมาย ตัวชี้วัด นักเรียนมีทักษะชีวิต ที่ส่งผลต่อทักษะด้านอาชีพ ตามความสนใจของนักเรียน นักเรียนแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองได้นักเรียนมีผลผลิตและ จ าหน่ายได้ นักเรียนท างานเป็นทีมได้ 3. ศึกษาส ารวจรวบรวมข้อมูล จากการศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจพบว่าแรงจูงใจ (Motivation) คือ แรงขับ เคลื่อนที่อยู่ภายในตัวบุคคล ที่จะกระตุ้นให้บุคคลนั้นเกิดการกระท า แรงขับดังกล่าวเกิดจากความต้องการพื้นฐาน (Needs) แรงผลัก/พลังกดดัน (Drives) หรือความปรารถนา (Desires) อันเนื่องมาจากสิ่งล่อใจ (Incentives) ความ คาดหวัง (Expectancy) หรือการตั้งเป้าหมาย (Goal Setting) ท าให้บุคคลพยายามดิ้นรนเพื่อให้บรรลุผลส าเร็จตาม วัตถุประสงค์ ซึ่งแรงจูงใจอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติหรือจากการเรียนรู้ก็ได้ องค์ประกอบของทักษะชีวิต มี 4 องค์ประกอบ คือ 1) การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น นักเรียนมีพฤติกรรม อาทิเช่น ค้นพบความถนัด ความสามารถของตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเองและผู้อื่น 2) การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ นักเรียนมีพฤติกรรม อาทิเช่น ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เผชิญอย่างมีเหตุผลและรอบคอบ 3) การจัดการกับ อารมณ์และความเครียด 4) การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น ค้นพบกระบวนการในการสร้างรูปแบบการขับเคลื่อนการ พัฒนาทักษะชีวิตด้านอาชีพอาศัยเครื่องมือ 4 ประการ ได้แก่ การค้นหาความต้องการ (Need finding) การมองหาโครง หรือแบบแผนที่ส าคัญ (framing) เป็นกระบวนการสร้าง “โครง” ด้วยการท าความเข้าใจคุณค่าทางวัฒนธรรม การ ผสมผสานอย่างสร้างสรรค์ (Creative combination) จากการค้นหาความต้องการมารวมกับแบบแผนหรือโครง ด้วย การหารือร่วมกันของคณะครู จะท าให้ได้ทางเลือกต่าง ๆ มากมาย ความคิดที่หลากหลายจึงสามารถสร้างทางเลือกที่ เหมาะสมได้ และการสร้างตนแบบ (Prototyping) จากการศึกษาแนวทางของการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียน ครูท า การส ารวจความต้องการในการท ากิจกรรมนักเรียน พบความสนใจของนักเรียนโรงเรียนดอนแรดวิทยา ดังต่อไปนี้ กรอบกิจกรรม กิจกรรมที่สนใจ จ านวนนักเรียนที่ สนใจ (คน) คิดเป็นร้อยละ ด้านอาหาร ขนมไทย,พืชผัก,ขนมอบ,เลี้ยงสัตว์ 79 35.27 ด้านกีฬา ตระกร้อ,ฟุตบอล,กรีฑา 48 21.43 การประดิษฐ์และการแต่งกาย ดอกไม้จากริบบิ้น,ผ้าใยบัว,ผ้าไหม 47 20.98 วัฒนธรรมท้องถิ่น บุญบังไฟ,งานบุญในท้องถิ่น 32 14.29 การแสดงและดนตรี ขับร้องเพลงลูกทุ่ง,ลูกกรุง,ละคร 18 8.04 รวม 224 100
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 6 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ประกอบการ ท าเป็นอาชีพ ท าการค้า จ าหนายผลผลิต เลือกกิจกรรมตามที่ตนเองชอบ สืบค้น ฝึกฝน ฝึกหัด เกิดความ ช านาญ รักในการท างานร่วมกับผู้อื่น รักในอาชีพตนเอง Interest Sell Occupation Drill Like I : ความสนใจ D : ฝึกฝน O : เป็นอาชีพ L : ความชอบ S : ขายได้ IDOLS New IDOLS Life Skill เป็นกลุ่มนักเรียนต้นแบบด้านอาชีพ ทักษะเห็นคุณค่า ในตนเองและ ผู้อื่น ทักษะการคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ผู้อื่น การจัดการกับ อารมณ์และ ความเครียด ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น 4. ออกแบบกิจกรรมที่ขับเคลื่อนด้วย IDOLS model การจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิตด้านทักษะ อาชีพ ของโรงเรียนดอนแรดวิทยา ปีการศึกษา 2565 ได้ด าเนินการจัดกิจกรรมมาแล้ว 1 ปีการศึกษา มีการพัฒนา รูปแบบการด าเนินการมาแล้วหลายรอบ โดยคณะครูผู้รับผิดชอบจนได้เป็นแนวทาง ต่อไปนี้ จากกรอบการด าเนินการครูผู้จัดกิจกรรมเห็นโครงหรือแบบแผนการด าเนินงานร่วมกัน ซึ่งสามารถขยายความ แนวคิดของ IDOLS Model ได้ว่า I : interest หมายถึง ความสนใจในการเลือกท ากิจกรรมของนักเรียน นักเรียนมี โอกาสได้เลือกท ากิจกรรมตามที่ตนเองสนใจ D:Drill หมายถึง การเรียนรู้ การสืบค้นในเรื่องที่ตนเองสนใจ แล้วฝึกหัด ฝึกฝนให้เกิดความช านาญ โดยมีครูหรือปราชญ์ ชาวบ้าน คอยให้ค าแนะน า O : Occupation หมายถึง เป็นอาชีพ หมายถึง การหัดเป็นผู้ประกอบการ ลงมือท า เพื่อผลิตเป็นผลผลิตของตนเอง L: Like หมายถึง การเรียนรู้ถึงคุณค่า ประโยชน์ในการท างานร่วมกับผู้อื่น รักในการท างานด้านอาชีพ S:Sell หมายถึง การฝึกเป็นผู้ประกอบการ การผลิต และการจ าหน่ายสิ้นค้า 5. น าสู่การปฏิบัติ จากรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิตด้านทักษะอาชีพ ของโรงเรียนดอน แรดวิทยา ปีการศึกษา 2565 ด้วยรูปแบบ IDOLS Model นักเรียนได้ฝึกหัดกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจใน หลากหลายกิจกรรมดังนี้
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 7 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: 1.กลุ่มกิจกรรมด้านอาหาร 1.1. กลุ่มผลิตและแปรรูป “ผักสลัดไฮโดรโปนิกส์ ม.5/2” จ านวน 28 คน เป้าหมายของกลุ่มคือการจ า หนายและแปรรูปผักสลัด ซึ่งได้ท าการจ าหน่ายในรูปของผักสดจ าหน่าย 2 ต้น 10 บาท และแปรรูปเป็นสลัดโลจ าหน่าย กล่องละ 25 บาท (นายปรีชา ทองมา ผู้รับผิดชอบกิจกรรม) 1.2.กลุ่มผลิตสวนครัว “ผักสวนครัวปลูกง่ายขายคล่อง ม.6” จ านวน 25 คน เป้าหมายของกลุ่มคือ การ ผลิตผักสวนครัวเพื่อบริโภคและจ าหน่าย (นายวัฒนา แข่งขัน ผู้รับผิดชอบกิจกรรม) 1.3.กลุ่มอาหารพื้นบ้าน “มดแดงของฉัน ม.3/2” จ านวน 18 คน เป้าหมายของกลุ่มคือ การเก็บผลผลติและ การแปรรูปไข่มดแดง เช่น ก้อยไข่มดแดง ไข่เจียวไข่มดแดง ต้มปลาไส่ไข่มดแดง (นางขนิษฐา พงษ์สุริย ผู้รับผิดชอบ กิจกรรม) 1.4.กลุ่มอาหารพื้นบ้าน “เห็ดโคนหลังโรงเรียน ม.3/1” จ านวน 17 คน เป้าหมายของกลุ่มคือ การเพาะเชื้อ เห็ดโคน การเก็บเกี่ยวและจ าหน่าย (นายพนม ดวงเอก ผู้รับผิดชอบกิจกรรม)
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 8 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: 1.5.กลุ่มอาหารพื้นบ้าน “หมู่ด าอินทรีย์และไก่พันธ์พื้นเมือง” ม.4 จ านวน 18 คน เป้าหมายของกลุ่มคือ เพาะเลี้ยงไก่บ้านและจ าหน่าย (นายวิมลพันธ์ พรมพิสัย ผู้รับผิดชอบกิจกรรม) 1.6.กลุ่มอาหารพื้นบ้าน “ปลาไหล ปูนาและหอยนา” ม.2 จ านวน 18 คน เป้าหมายของกลุ่มคือ การผลิตผัก สวนครัวเพื่อบริโภคและจ าหน่าย (ครูวัฒนา แข่งขัน ผู้รับผิดชอบกิจกรรม) 1.7 กลุ่มขนมหวาน “ท าง่ายขายสะดวก” ม.1-3 จ านวน (นางบังอร ทองมา ผู้รับผิดชอบกิจกรรม) 2. ด้านกีฬา 2.1.กลุ่มกีฬาและกรีฑา “กีฬาเพื่ออาชีพ” จ านวน 45 คน เป้าหมายของกลุ่มคือ การฝึกซ้อมและการแข่งขัน กรีฑา กีฬาระดับชาติ (นายทีรากรณ์ จารัตน์ ผู้รับผิดชอบกิจกรรม) 3.การประดิษฐ์และแต่งกาย จ านวน 34 คน เป้าหมายของกลุ่มคือการประดิษฐ์ดอกไม้จากผ้าใยบัวและริบบิ้น เพื่อจัดช่อและจ าหน่าย (นางบังอร ทองมา และนางสาววิมลนาฏ วิทูรางกูร) กลุ่มงานประดิษฐ์
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 9 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: 4.วัฒนธรรมท้องถิ่น โรงเรียนส่งเสริมการเรียนรู้ความเป็นท้องถิ่นของตนเอง นักเรียนได้เข้าร่วม กิจกรรมงานบุญประเพณีต่าง ๆ เช่น งานบุญปังไฟ งานบุญผเวชเทศมหาชาต เป็นต้น 6. สะท้อนคิด สรุปบทเรียนร่วมกัน คณะครูได้ร่วมกันทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) เพื่อทบทวนวิธีการท างานทั้งด้านความส าเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งนี้ไม่ใช่การค้นหาคนที่ท าผิดพลาดไม่ใช่การ กล่าวโทษ แต่เป็นการทบทวนเพื่อร่วมกันสะท้อน และทบทวนกระบวนการต่าง ๆ น าบทเรียนที่ได้จากความส าเร็จและ ปัญหาที่เกิดขึ้นมาจัดท าและพัฒนากระบวนการท างานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น โดยมีการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การท างาน แบ่งวิธีการเป็น 2 ลักษณะ คือ การท า AAR ส าหรับผู้ร่วมกิจกรรม และการท า AAR ส าหรับผู้ จัดกิจกรรม โดยใช้ 5 ค าถาม ประกอบด้วย 1) เป้าหมายหรือความคาดหวังของท่าน 2) เป็นไปตามเป้าหมายหรือ ความคาดหวังหรือไม่ เพราะอะไร 3) สิ่งที่เกินเป้าหมายหรือความคาดหวัง เพราะอะไร 4) สิ่งที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือความคาดหวัง หรือปัญหาที่พบ เพราะอะไร 5) ท่านจะกลับไปท าอะไรต่อ หรือปรับปรุงการท างานอย่างไร 7. สรุปข้อเสนอแนะ/เผยแพร่ผลงาน ครูที่รับผิดชอบการด าเนินการจัดท ารายงานผลการด าเนินงานต่อ ผู้อ านวยการและร่วมแลกเปลี่ยนผลงานกับคณะครู 4.ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่ได้รับ 4.1 ผลที่เกิดกับนักเรียน นักเรียนมีความช านาญในการท างานอาชีพตามที่นักเรียนสนใจและมีรายได้จากการ ขายผลผลิต สามารถท างานร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข สามารถเป็นต้นแบบด้านงานอาชีพให้กับบุคคลที่สนใจ และได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น มีความสามารถในการแข่งขันทั้งในระบบจังหวัดและในระดับประเทศ มีโอกาสเข้า ศึกษาต่อระดับสูงขึ้น มีสามารถในการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวัน และมีแนวทางในการศึกษา ค้นคว้าการประกอบอาชีพได้ด้วยตนเอง ตามความถนัดความสนใจ 4.2 ผลที่เกิดกับสถานศึกษา โรงเรียนมีแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิต การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ด้านอาชีพที่ได้รับการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ได้รับการยอมรับและเกิดความเชื่อมั่นจากผู้ปกครอง ชุมชน ด้านการจัดการเรียนการสอนด้านทักษะชีวิต การส่งเสริมอาชีพ การท างานให้กับผู้เรียน มีนักเรียนต้นแบบด้านอาชีพที่ หลากหลาย สามารถถ่ายทอดให้กับชุมชนได้ และมีแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการ ของบริบทชุมชน ส่งเสริมการแต่งกายด้วยผ้า พื้นเมือง
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 10 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: 4.3 ผลที่เกิดกับชุมชน ชุมชนมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพที่มีความหลากหลายของโรงเรียนเพื่อการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้มีเยาวชนคนต้นแบบในการพัฒนาตนเองให้มีอาชีพที่สุจริต เป็นแบบอย่างให้เยาวชนอื่นอื่น ๆ ในชุมชนได้ศึกษา ส่งผลให้ชุมชนเกิดการพัฒนาต่อยอดความยังยืนต่อไป 4.4 ประโยชน์ที่ได้รับจากการน านวัตกรรมไปใช้ โรงเรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องการจัดกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต ที่มุ่งเน้นการประกอบ อาชีพให้กับนักเรียน โรงเรียนต้องยึดหลักความถนัดหรือความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก โรงเรียนต้องมีข้อมูลความสนใจ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล น าข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ วางแผนการจัดกิจกรรมโดยมุ่งเป้าหมายให้ไปถึงการมีรายได้ให้ เกิดกับผู้เรียนให้ได้และเป็นจริง จะสามารถเข้าถึงความต้องการในชีวิตของความเป็นจริง 5.ปัจจัยความส าเร็จ สิ่งที่ท าให้การด าเนินงานครั้งนี้ประสบความส าเร็จประกอบด้วยคณะครูมีความเข้าใจเป้าหมายการ ด าเนินงานชัดเจน ผู้บริหารให้การสนับสนุนส่งเสริมและก ากับติดตามอย่างต่อเนื่อง การระดมงบประมาณและทรัพยากร ที่เป็นวัสดุส าหรับการฝึกหัดเพียงพอไม่สร้างความเดือดร้องให้ครูกับนักเรียน ปราชญ์ในท้องถิ่นให้การแนะน าและเข้ามา เป็นวิทยากร การประสานงานระหว่างชุมชนและโรงเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 6.บทเรียนที่ได้รับ รูปแบบการขับเคลื่อนทักษะชีวิตที่ส่งผลถึงคุณลักษณะด้านอาชีพของนักเรียน ตามกรอบที่โรงเรียน ได้ด าเนินการมี5 ประการคือ 1) I : interest จัดกิจกรรมตามความสนใจ 2) D:Drill มีกิจกรรมให้นักเรียนได้ฝึกหัด ฝึกฝนด้วยตนเอง 3) O : Occupation จัดกิจกรรมให้นักเรียนเป็นผู้ประกอบการจริง ๆ 4) L: Like นักเรียนเกิดความรัก ชอบในสิ่งที่ท าและได้ท าในสิ่งที่ชอบ 5) S:Sell คือสิ่งส าคัญที่นักเรียนมีทักษะการค้าขาย โดยไม่เขินอาย ได้เงินจากการ กระท าของตนเอง ซึ่งหมายถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมตามกรอบ IDOLS Model ส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมที่มีพลังในการ ขับเคลื่อนคุณภาพชีวิตของนักเรียนโดยที่ไม่มีการบังคับ ผู้เรียนได้เรียนรู้และเล็งเห็นถึงประโยชน์ของสิ่งที่ได้ท าด้วย ตนเอง ผู้เรียนเกิดวัฒนธรรมการพึงพาตนเอง ช่วยเหลือตนเองได้ และสามารถเป็นผู้ประกอบการและค้าขาย ก่อให้เกิด เป็นพลังอันละมุน (Soft power) ที่ช่วยดึงดูดให้นักเรียนมีความสนใจและเข้าเรียนรู้ในกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้เกิด คุณภาพแก่นักเรียน 7.การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ การเผยแพร่ มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่าน Facebook ตาม QRCODE ต่อไปนี้ และเว็บไซต์ https://anyflip.com/uaxhm/zvem/ การได้รับการยอมรับ โรงเรียนเบิดพิทยาสรรค์ เชิญบุคลากรเป็นวิทยากรด้านอาชีพให้กับนักเรียนของ โรงเรียน, อบต ดอนแรด ให้งบประมาณสนับสนุนด้านอาชีพจ านวน 20,000 รางวัลที่ได้รับ จากการพัฒนานักเรียนตามกระบวนการดังกล่าว ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลระดับชาติด้าน กรีฑาจ านวน 2 คน, งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 70 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน 1 และเหรียญทองแดง 1
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 11 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ภาคผนวก แผนการด าเนินงานเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามรูปแบบ IDOLS Model ค าสั่งให้ด าเนินงานพัฒนาทักษะชีวิต โดยกิจกรรมด้านทักษะอาชีพ ปี 2565
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 12 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ตัวอย่าง แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บุคลากรได้รับการพัฒนา
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 13 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ภาพการปฏิบัติงานตามกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามรูปแบบ IDOLS Model ผลงานการเข้าร่วมการจ าหน่ายสินค้า ตลาดเขียว ตามโครงการของ สพม.สุรินทร์
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 14 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: เกียรติบัตรการเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา-กรีฑา ประจ าปี 2565 เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามรูปแบบ IDOLS Model
Best Practices -- การพัฒนาทักษะชีวิต สู่การสร้าง Soft power ด้านอาชีพ โดยใช้ IDOLS Model 15 รายงานนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่ดี(Best Practices) โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขต ศรีนครเตา (๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ :: ผลงานผลผลิต เกียรติบัตรการเข้าร่วมการแข่งขันงานศิลปะหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ประจ าปีการศึกษา 2565 บุคลากร ได้รับการยอมรับให้เป็นวิทยากรด้านอาชีพ
โรงเรียนดอนแรดวิทยา สหวิทยาเขตศรีนครเตา เรียนรู้การผลิต และจ าหน่าย ท าในสิ่งที่รัก รักในสิ่งที่ท า https://anyflip.com/uaxhm/zvem/