The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้งานช่าง ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sahachai_anek, 2022-03-17 09:01:30

แผนการจัดการเรียนรู้งานช่าง ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้งานช่าง ม.1

คำนำ

แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง เคร่อื งมือช่าง สาหรับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จัดทาข้ึนเพ่ือใชเ้ ป็นแนวทาง
ในการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ งความรูเ้ บ้อื งต้นเกยี่ วกับงานช่างพ้ืนฐาน รายวิชา
ง 21101 งานชา่ ง 1 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เพ่ือใหน้ ักเรยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ /
ตวั ชีว้ ัดทก่ี าหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ผจู้ ัดทาจึงได้ศึกษาสาระการ
เรยี นรพู้ ้ืนฐานให้เขา้ ใจอย่างถ่องแท้ และนาปญั หาท่พี บจากประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการอบรม
เทคนิคและวธิ ีการสอน การวัดผลประเมนิ ผล จติ วทิ ยาการเรยี นรู้ ตลอดจนความรทู้ ี่ได้จากการศึกษาคน้ ควา้
ด้วยตนเอง มาจัดทาแผนการจัดการเรยี นรูใ้ นครงั้ น้ี

ผูจ้ ดั ทาขอขอบคุณ ผบู้ ริหารโรงเรยี น ผู้เชีย่ วชาญ และคณะครูกลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
ที่ให้ความอนเุ คราะห์ ตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะ ข้อแนะนาในการปรบั ปรุง แก้ไข พฒั นาแผนการจัดการ
เรยี นรูเ้ ลม่ นจ้ี นสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี และผู้จดั ทาหวงั เป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง เครอ่ื งมือ
ช่างน้ี จะเป็นประโยชน์สาหรับครผู ู้สอนตลอดจนเปน็ แนวทางในการจัดกจิ กกรมการเรียนร้ขู องกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้การงานอาชพี ต่อไป

นายสหชัย เอนก
ผูจ้ ัดทา

สารบญั หนา้

เรือ่ ง ก

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 ค
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ค
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี 1
ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2
คาอธิบายรายวชิ า 3
โครงสรา้ งรายวชิ า 4
ตารางโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ 7
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1
บนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 9
ภาคผนวก 10
11
- แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 13
- ใบงานที่ 1.1 14
- ใบงานท่ี 1.2 15
- แบบประเมนิ ผลการตอบคาถามในช้นั เรียน 16
- แบบประเมนิ ใบงาน / ช้นิ งาน 17
- แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 19
- แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 21
- บันทึกคะแนน 26
- สื่อประกอบกิจกรรมก่อนเรยี น
- ใบความรู้ เรอ่ื ง เครือ่ งมือช่าง
- สอ่ื POWERPOINT เร่ือง เครื่องมือช่าง



หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551
วสิ ัยทศั นข์ องหลกั สตู ร

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ม่งุ พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี
ความสมดลุ ทง้ั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกยึดม่ันในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง
เจตคติ ท่จี าเปน็ ตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน
พน้ื ฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

หลกั การ

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน มหี ลกั การสาคญั ดงั น้ี
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคูก่ ับความเปน็ สากล
๒. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ปี ระชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและ
มคี ณุ ภาพ
๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของท้องถิน่
๔. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่มีโครงสร้างยดื หย่นุ ทง้ั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้
๕. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาที่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้และประสบการณ์

จุดหมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุขมีศักยภาพ
ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ดังน้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชวี ิต
๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มสี ขุ นิสัย และรกั การออกกาลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อมมีจิต
สาธารณะท่ีมุ่งมนั่ ทาประโยชน์และสรา้ งสิง่ ท่ดี งี ามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข



สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน มุ่งใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการดงั น้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด
ปญั หาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลือกรบั หรือไม่รับข้อมลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วธิ ีการส่อื สาร ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอ่ื การตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมกี ารตดั สินใจที่มปี ระสิทธภิ าพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่เี กิดขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชวี ติ ประจาวัน การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนร้อู า่ งต่อเนอ่ื ง การทางาน การการอยู่รว่ มกันในสังคมด้วย
การสร้างเสริมสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรบั ตัวใหท้ ันกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ื่นในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พ่มิ เติมให้สอดคล้องตามบริบทและ
จดุ เนน้



สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

สาระท่ี ๑ การดารงชีวิตและครอบครวั
มาตรฐาน ง๑.๑ เขา้ ใจการทางาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทกั ษะ

การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทางานรว่ มกันและทักษะ
การแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ยั ในการทางาน มจี ิตสานึก
ในการใชพ้ ลังงานทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ มเพ่ือการดารงชีวติ และครอบครัว

สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง ๒.๑ เขา้ ใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรอื

วิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยอี ย่างมคี วามคดิ สร้างสรรค์ เลอื กใช้เทคโนโลยใี นทาง
สร้างสรรค์ต่อชีวติ สงั คม สิ่งแวดลอ้ มและมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยที ย่ี งั่ ยืน

สาระท่ี ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคณุ คา่ และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูล การ

เรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ประสทิ ธผิ ลและมีคุณธรรม

สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทักษะทีจ่ าเปน็ มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื

พฒั นาอาชีพ มคี ุณธรรมและมเี จตคตทิ ี่ดีต่ออาชพี

ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
มาตรฐาน ง๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ

การจดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทางานร่วมกนั และทักษะ
การแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลักษณะนสิ ัยในการทางาน มจี ิตสานกึ
ในการใช้พลังงานทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการดารงชีวติ และครอบครวั

ง ๑.๑ (ม. ๑/๑) วิเคราะหข์ ้ันตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
ง ๑.๑ (ม. ๑/๒) ใช้กระบวนการกลุม่ ในการทางานดว้ ยความเสยี สละ
ง ๑.๑ (ม. ๑/๓) ตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาการทางานอยา่ งมเี หตผุ ล

คาอธบิ ายรายวิชา ๑
รายวชิ า งานชา่ ง 1
รหสั วชิ า ง 21๑01
กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี จานวน 1 หนว่ ยกิต

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
เวลา ๒0 ชวั่ โมง

ศกึ ษาและวิเคราะหว์ ิธีการเลือกใชเ้ คร่อื งมือช่าง วสั ดชุ ่างพ้ืนฐาน ลักษณะของงานช่าง ความ
เปน็ มา หลกั การ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านช่างให้เกิดความปลอดภยั การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น เรียนรงู้ านสี
เบื้องตน้ เกย่ี วกับอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานสี ขน้ั ตอนทคี่ วรรู้ในการทาสีบ้านใหม่ การเตรียมพนื้ ผวิ เพื่อการ
ทาสี เทคนิคการเลอื กสที าบ้าน แนวคดิ ในการเลือกใช้สี ข้ันตอนการทาสีผนังดว้ ยแปรงทาสี การเลือกใชส้ ีให้
เหมาะกบั ห้องต่าง ๆ ภายในบ้าน การสร้างลวดลายดว้ ยสี มคี วามเข้าใจงานเบ้ืองต้นเกย่ี วกับโครงสรา้ งของไม้
การจาแนกชนิดของไม้ การเลือกไม้ทีม่ ีคุณภาพและเหมาะสม ผลิตภณั ฑ์จากไม้ เคร่อื งมือชา่ งไม้ประจาบา้ น
เครือ่ งมือกลที่ใชใ้ นงานไม้ การต่อไมแ้ ละการเข้าไม้เบื้องตน้ ศึกษางานแก๊สเบ้ืองต้นเก่ยี วกบั แก๊สธรรมชาติและ
แกส๊ หุงตม้ การใชแ้ กส๊ หงุ ต้ม ใหป้ ระหยัดและปลอดภัย เขา้ ใจหลักการซ่อมแซมอุปกรณแ์ ละเครอื่ งมือเคร่ืองใช้
บารุงรกั ษาเครื่องเรือนและเครอ่ื งใช้ ซ่อมแซมอปุ กรณแ์ ละเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะการทางานเป็นกล่มุ และทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา
ในการทางานอย่างมเี หตุผล

เพื่อใหน้ ักเรียนมลี ักษณะนสิ ยั ท่ดี ีในการทางาน เรยี นรู้ มีคุณธรรม ความเสียสละ ความขยัน
อดทน ซ่ือสัตย์ ความรบั ผดิ ชอบ และนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวันได้

มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด

ง ๑.๑ ม. ๑/๑ ง ๑.๑ ม. ๑/๒ ง ๑.๑ ม. ๑/๓

ผลการเรียนรู้
1. บอกความสาคัญและประโยชนข์ องงานชา่ ง
2. เลอื กใช้เครื่องมือในงานชา่ งได้ถูกต้อง ปลอดภัย
3. บอกวิธปี ฏิบัติงานเพ่อื ให้เกิดความปลอดภัยในงานชา่ งไดอ้ ย่างถูกต้อง
4. บอกขนั้ ตอนการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ได้ถูกต้อง
5. เลอื กใช้ เครอื่ งมือในงานสีเบ้ืองตน้ ได้ถูกต้อง
6. เลอื กใช้ เครอ่ื งมือในงานไม้เบ้ืองต้นไดถ้ ูกต้อง
7. เลอื กใช้ เครอ่ื งมือในงานแกส๊ เบ้ืองต้นไดถ้ ูกต้อง
8. ปฏิบัติ บารงุ รักษา เครือ่ งเรอื นและเคร่ืองใช้ ไดถ้ กู ต้อง
9. ซ่อมแซม ดัดแปลง อปุ กรณ์และเคร่อื งมือเครื่องใชไ้ ด้อยา่ งถูกต้อง



โครงสรา้ งรายวิชา

กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี โรงเรยี น..................................

วชิ า งานชา่ ง 1 (ง 21๑01) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1

เวลา ๒0 ชว่ั โมง / ภาค จานวน 1 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

อัตราสว่ นนา้ หนักคะแนน 80 : 20

ลาดับท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ผลการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
เรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

1. ความร้เู บื้องตน้ ข้อ 1,2 - ความหมายและประโยชนข์ องงานช่าง ๒ 10
๒ 10
เก่ยี วกบั งานช่าง - ลกั ษณะของงานช่างและวสั ดุชา่ งพนื้ ฐาน ๔ 15

2. ความปลอดภัยใน ข้อ 3,4 - ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานช่าง ๔ 15

งานช่าง - การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ในงานช่าง ๓ 15

3. งานสเี บอ้ื งตน้ ข้อ 5 - งานสีเบือ้ งต้น ๔ 15

- การเตรียมพน้ื ทแี่ ละเทคนิคการเลือกสี 2 20
๒0 100
- แนวคดิ การเลือกใชส้ แี ละเทคนคิ การทาสี

- การสรา้ งลวดลายและการใช้สีทีเ่ หมาะสม

4. งานไม้เบื้องตน้ ขอ้ 6 - งานไม้ (โครงสร้างไม)้

- การจาแนกและการเลือกไม้

- ผลิตภณั ฑจ์ ากไม้

- เครื่องมือไมใ้ นการต่อและเข้าไม้

5. งานแก๊สเบ้ืองต้น ขอ้ 7 - แก๊สธรรมชาตแิ ละแก๊สหงุ ต้ม

- ความปลอดภยั และข้อพึงปฏิบัติ

การใชแ้ ก๊สหุงต้ม

6. การซอ่ มแซม บารุง ข้อ 8,9 - หลักการซ่อมอปุ กรณ์และเคร่ืองมือเครื่องใช้

รกั ษาอุปกรณ์และ - การบารุงรักษาเคร่อื งเรือน เคร่อื งใช้

เครื่องมือ เคร่ืองใช้ - การซอ่ มแซมบา้ นเรือน

- การดดั แปลงแก้ไขอุปกรณภ์ ายในบา้ น

สอบวดั ผลกลางภาคเรียนและสอบวัดผลปลายภาคเรียน

รวมตลอดภาคเรยี น



ตารางโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา งานช่าง 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา ๒0 ชว่ั โมง

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด วธิ สี อน / เวลา
การเรยี นรู้ กระบวนการจัด (ชัว่ โมง)

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 - ความหมายและประโยชน์ของงานช่าง การเรียนรู้ ๒
ความรเู้ บ้ืองตน้ - ลักษณะของงานช่างและวสั ดชุ า่ งพน้ื ฐาน บรรยาย/อธิบาย ๒
เกยี่ วกบั งานช่าง ๔
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 - ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงานชา่ ง ถาม-ตอบ
ความปลอดภัยในงาน - การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ในงานช่าง ๔
ชา่ ง บรรยาย/อธบิ าย
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 - งานสีเบือ้ งต้น ถาม-ตอบ ๓
งานสเี บ้อื งต้น - การเตรยี มพืน้ ท่ีและเทคนิคการเลอื กสี ลงมอื ปฏิบัติ ๔
- แนวคดิ การเลือกใชส้ แี ละเทคนิคการทาสี
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 - การสร้างลวดลายและการใชส้ ที ่ีเหมาะสม บรรยาย/อธบิ าย
งานไม้เบ้ืองตน้ - งานไม้ (โครงสรา้ งไม้) ถาม-ตอบ
- การจาแนกและการเลือกไม้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 - ผลติ ภัณฑ์จากไม้
งานแก๊สเบ้ืองตน้ - เคร่ืองมือไม้ในการต่อและเข้าไม้ บรรยาย/อธิบาย
- แกส๊ ธรรมชาตแิ ละแกส๊ หงุ ต้ม ถาม-ตอบ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 - ความปลอดภัยและข้อพึงปฏิบัติ ลงมอื ปฏบิ ัติ
การซ่อมแซม การใชแ้ กส๊ หงุ ต้ม
บารงุ รักษาอปุ กรณ์ - หลกั การซ่อมอปุ กรณแ์ ละเครื่องมือเคร่ืองใช้ บรรยาย/อธิบาย
และเคร่ืองมือ - การบารุงรกั ษาเครอ่ื งเรอื น เครอื่ งใช้ ถาม-ตอบ
เคร่อื งใช้ - การซ่อมแซมบ้านเรือน ลงมอื ปฏิบตั ิ
- การดดั แปลงแก้ไขอปุ กรณภ์ ายในบ้าน
บรรยาย/อธิบาย
สอบกลางภาค ถาม-ตอบ
สอบปลายภาค ลงมือปฏบิ ัติ

รวม 1
1
๒0



แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1

รหัส ง 21๑01 วชิ า งานช่าง 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 หนว่ ยการเรียนรเู้ ร่อื ง ความรู้เบือ้ งตน้ เก่ียวกบั งานช่างพื้นฐาน

เรื่อง เคร่ืองมือช่าง เวลา 1 ชว่ั โมง จานวน 1 หนว่ ยกิต

ครูผสู้ อน นายสหชยั เอนก

1.มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ การดารงชวี ิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะการ

จดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานรว่ มกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพื่อการดารงชีวิตและ
ครอบครวั

ตัวชวี้ ัด ง ๑.๑ (ม. ๑/๑) วิเคราะหข์ ้ันตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
ง ๑.๑ (ม. ๑/๒) ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทางานดว้ ยความเสียสละ
ง ๑.๑ (ม. ๑/๓) ตัดสนิ ใจแก้ปญั หาการทางานอย่างมเี หตผุ ล

2.สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและประโยชน์ของเครือ่ งมอื ช่าง
2. เครอื่ งมือชา่ ง และการใช้งาน

3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ในการดารงชวี ิตประจาวนั ของมนุษยจ์ ะมีความสัมพนั ธก์ บั งานช่าง เชน่ ชา่ งซ่อมรถยนต์ ชา่ งไฟฟ้า ชา่ ง

บารุงรักษา ซ่ึงงานชา่ งประเภทตา่ ง ๆ ทาให้มนุษยม์ ีชีวติ และความเป็นอยู่ทสี่ ะดวกสบายมากข้ึน ซ่ึงการมี
ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับงานชา่ งจงึ มีความจาเป็นและสาคัญอย่างย่งิ
4.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. นกั เรียนอธบิ ายความหมายและประโยชน์ของเคร่ืองมือชา่ งแตล่ ะชนดิ ได้ (K)
2. นกั เรียนสามารถเลือกเครอ่ื งมือชา่ งใหเ้ หมาะสมกบั งาน (P)
3. นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ (A)

5. คาถามสาคญั (Big Question)
“หากนักเรียนได้ทาชั้นวางหนงั สือโดยใชไ้ ม้เป็นวัสดใุ นการทา
ขนาดของชัน้ วางหนงั สอื สงู 1 เมตร กวา้ ง 0.5 เมตร

นกั เรยี นจะเลือกใช้เคร่ืองมือใดบ้าง เพ่ือนามาใชใ้ นการสร้างชน้ิ งานชนิดนี้”

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 และปรับปรุง 2560
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. ม่งุ ม่ันในการทางาน



7. ทักษะการคดิ
1. การคิดวิเคราะห์
2. การคิดสังเคราะห์

8. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

9. ภาระงาน/ช้นิ งาน/รอ่ งรอย/หลกั ฐานการเรียนรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรยี น / ใบกิจกรรม
2. สงั เกตพฤตกิ รรมมีส่วนร่วมในช้นั เรียน

10. การออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน
ในคาบเรียนน้ีใชก้ ิจกรรมการเรยี นรแู้ บบย้อนกลับ (Backward Design)
ขน้ั นา (๑๐ นาท)ี
๑. ครูสนทนาและทักทายนักเรียน แล้วให้คาถามกระตุ้นนักเรียน ความหมายและประโยชน์ของ
เครือ่ งมอื ชา่ ง นกั เรยี นรว่ มแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย
๒. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ขั้นสอน (๓๐ นาที)
๓. นกั เรยี นออกมาทากจิ กรรมกอ่ นเรียนหน้าห้อง โดยใชส้ ือ่ การเรยี นการสอน เรื่อง เครื่องมือชา่ ง
๔. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ เคร่ืองมือช่าง ประโยชน์ของเครื่องมือช่าง การใช้งาน
และประโยชน์ของเคร่ืองมือช่างแต่ละประเภท
๕. ครูอธิบายการใช้เคร่ืองมือช่างประเภทใดก็ตาม นักเรียนควรจะต้องรู้และบอกความสาคัญของ
เคร่ืองมือชา่ ง
๖. นักเรยี นศึกษาคน้ คว้าและทา ใบงานที่ ๑.๑
๗. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน เพื่อร่วมกันศึกษาค้นคว้าและทาใบงานท่ี ๑.2 โดยให้
นักเรยี นศึกษาหาความรู้ได้จากหนังสอื เรยี น วิชางานช่าง ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ หนา้ ที่ 5 - 12
๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลหน้าชั้นเรียน และครูให้คาช้ีแนะเพิ่มเติมให้กับ
นกั เรยี น
ขั้นสรปุ (๑๐ นาท)ี
ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ เน้ือหา ความหมายและประโยชนข์ องงานชา่ ง

11. ระบเุ ทคนคิ การสอนทใี่ ช้ในการจัดการเรยี นร้ไู ดม้ ากกวา่ 1 รายการ
1. ใช้บรรยาย
2. ใช้กรณตี วั อย่าง



12. สื่อและแหลง่ เรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานงานช่าง ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ หน้าท่ี 5 - 12
2. สอื่ ประกอบการสอน เร่อื ง เครื่องมือชา่ ง
3. ใบความรู้ เรอ่ื ง เคร่ืองมือช่าง
4. ส่ือ POWERPOINT ประกอบการสอน เรอ่ื ง เคร่อื งมือช่าง

13. การวดั ประเมนิ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารวดั

ดา้ นความรู้ (K) แบบประเมนิ ใบงาน สามารถตอบคาถามใน
ช้นิ งานที่ 1.1 ใบงานได้ถูกต้องตามเกณฑ์
นกั เรยี นอธิบายความหมายและ นักเรียนทาใบงานที่ 60% ข้นึ ไป
แบบสังเกต
ประโยชน์ของเคร่อื งมอื ชา่ งแต่ 1.1 เร่อื ง การใช้ พฤติกรรมการ นกั เรียนมรี ะดับคณุ ภาพ
ทางานกลุ่ม พฤติกรรมการทางาน
ละชนดิ ได้ เครื่องมือชา่ ง รายบุคคลระดับดีขึน้ ไป
แบบประเมนิ
ดา้ นกระบวนการ (P) คณุ ลักษณะอนั พงึ นักเรยี นมีระดับคุณภาพ
ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สามารถเลอื กใช้เคร่ืองมือชา่ ง นกั เรยี นทาใบงานที่ ระดบั 2 ขน้ึ ไป

ให้เหมาะสมกับงาน 1.2 เรอ่ื ง การเลอื กใช้

เครอ่ื งมอื ช่าง

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

(A) สงั เกตพฤติกรรมใน

นักเรียนมีวนิ ัย ชั่วโมงเรียนและการทา

นักเรียนมีความใฝเ่ รียนรู้ กิจกรรม

นกั เรียนมีมงุ่ มัน่ ในการทางาน



บันทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง ความรูเ้ บ้อื งต้นเกีย่ วกับงานช่าง

1. ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
- ดา้ นความรู้ (K)
............................................................................................................................................ ............
...................................................................................................................... ...................................
............................................................................................................................. ............................
- ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
............................................................................................................................. ...........................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
- ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
............................................................................................................................. ...........................
................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ............................

2. ปญั หาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................. ..............................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงชอ่ื ...........................................................
(นายสหชัย เอนก)
ครูผสู้ อน



ภาคผนวก



แบบทดสอบก่อนเรียน

เรื่อง เครื่องมอื ช่าง

====================================================================

คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสดุ เพยี งข้อเดียว
====================================================================

1.ข้อใดเป็นเคร่อื งมือทีใ่ ชต้ ่อท่อเขา้ กับข้อตอ่ ท่อ ค. ชโลมดว้ ยนา้ ส้มสายชูก่อนเก็บเขา้ ท่ี

หรอื ถอดท่อออกจากข้อต่อ ง. ควรแต่งใบเลื่อยทกุ คร้งั พยายามไม่ใหฟ้ ัน

ก. คมี ล็อก ข. ตะไบกลม ใบเลือ่ ยเปลี่ยนจากรปู เดิม

ค. ประแจจับท่อ ง. เล่ือยตดั เหลก็ 6.เครื่องมือในขอ้ ใดเหมาะสมกับช่างไฟฟา้ ทใ่ี ชใ้ น

2.เครอื่ งมือท่ีใชส้ าหรบั การใช้งานหนกั เชน่ การตดั การตอกตะปู เดนิ สายไฟมากทสี่ ุด

ทอ่ นไม้ขนาดใหญ่ คือ เคร่ืองมือในขอ้ ใด ก. ค้อนหงอน ข. ค้อนแบบพิเศษ

ก. เล่อื ยบังตอ ข. เลอ่ื ยลันดา ค. ค้อนชา่ งไฟฟา้ ง. ค้อนปอนด์

ค. เล่ือยตัดเหลก็ ง. เลอื่ ยโครงเหล็ก 7.วธิ กี ารวัดขว้ั ไฟฟ้าวา่ มีไฟฟ้ารวั่ ไหลหรือไม่

3.ก่อนใชเ้ คร่ืองมือชา่ ง ควรปฏบิ ตั ิตนอย่างไร ใช้อปุ กรณห์ รือเครื่องมือชนดิ ใด

ก. ศกึ ษาวิธกี ารใชใ้ ห้ดีก่อน ก. สิว่ ข. ไขควงเช็คไฟ

ข. ใส่ถงุ มือทุกครง้ั เพ่ือความปลอดภัย ค. ประแจ ง. คมี ปากนกแก้ว

ค. ทาความสะอาดขณะเคร่ืองจักรทางานอยู่ 8.คีมในข้อใดทใี่ ชใ้ นงานถอดแหลมลอ็ กลูกสบู

ง. ดูว่าแพงหรอื ไม่ ถ้าซ้ือมาราคาแพงแสดงว่า หรอื ลอ็ กเพลาในงานช่างยนต์

คุณภาพต้องดี ก. คีมปากขยาย ข. คีมลอ็ ก

4.สว่านไฟฟา้ เหมาะสมกับงานชนดิ ใด ค. คมี ปากยาว ง. คีมถอดแหวน

ก. ขนั ตะปู ข. ต่อฟิวส์ 9.ค้อนชนิดใดเหมาะสาหรับใช้เคาะโลหะเพื่อ

ค. ใสส่ วติ ช์ ขึ้นรปู

ง. สามารถเจาะทง้ั ไม้ โลหะ และผนังคอนกรตี ก. ค้อนยาง ข. คอ้ นหวั กลม

5.เมื่อใชง้ านเลื่อยเสร็จแล้วควรเก็บบารุงรักษา ค. คอ้ นปอนด์ ง. ค้อนหงอน

อย่างไร 10.คอ้ นชนิดใดเหมาะกบั ชา่ งไม้

ก. วางเลือ่ ยให้ถูกแดดจดั ก. คอ้ นหงอน ข. คอ้ นยาง

ข. อยา่ ปลอ่ ยใหใ้ บเล่ือยเปยี กนา้ ควรเกบ็ ไว้ใน ค. คอ้ นชา่ งไฟ ง. ค้อนหัวกลม

ท่ีแห้ง ไม่ชื้น

๑๐

ใบงานที่ 1.1 การใชเ้ ครอ่ื งมอื ช่าง
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกบั งานช่าง

คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเขียนวธิ ีการใชเ้ ครอื่ งมืองานชา่ งให้สัมพันธก์ ับรูปภาพ ให้ถูกต้อง

วิธีการใชเ้ ครอ่ื งมือ
............................................................................
............................................................................
............................................................................

วธิ ีการใช้เครื่องมือ
............................................................................
............................................................................
............................................................................

วธิ ีการใช้เครื่องมือ
............................................................................
............................................................................
............................................................................

วิธีการใช้เครือ่ งมือ
............................................................................
............................................................................
............................................................................

วิธกี ารใชเ้ ครื่องมือ
............................................................................
............................................................................
............................................................................

๑๑

ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ชา่ ง
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั งานช่าง

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นจับกลุ่ม กล่มุ ละ ๔-๕ คน เพือ่ ร่วมกันระดมความคิดแกป้ ัญหาตามโจทย์ที่ตัง้ ไว้

หากนกั เรยี นได้ทาชนั้ วางหนังสอื โดยใช้ไม้เป็นวสั ดใุ นการทา ขนาดของชนั้ วางหนงั สือ
สูง 1 เมตร กว้าง 0.5 เมตร นกั เรียนจะเลือกใช้เครื่องมือใดบ้าง
เพือ่ นามาใชใ้ นการสร้างช้ินงานชนิดน้ี

ชื่อกลุม่ .............................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

๑๒

เคร่อื งมือท่ีใช้
ในการวดั และประเมินผล

๑๓

แบบประเมนิ การตอบคาถามในชั้นเรียน

ช่ือ-นามสกลุ ........................................................................................................ เลขท่ี ..............
รายวชิ า......................................................รหสั วชิ า...............................ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่.............................

คาชี้แจง ใหค้ รทู าเครื่องหมาย ลงในชอ่ งระดบั คะแนนตามเกณฑก์ ารประเมนิ

ประเด็นการประเมิน ระดบั คะแนน หมายเหตุ
๓๒๑

๑. การตอบคาถามแสดงใหเ้ ห็นถึงความหมายและประโยชนข์ องงานชา่ ง

๒. การตอบคาถามแสดงให้เหน็ ถึงการร้จู กั วิธกี ารใช้เคร่อื งมอื ชา่ งได้อยา่ ง
ปลอดภยั

๓. การตอบคาถามแสดงให้เห็นถงึ การเห็นคณุ ค่าของการปฏบิ ตั งิ านช่าง

คะแนนรวม

ลงช่ือ……………………………….ผู้ประเมนิ
(………………………….……)
…………/…………/………..

เกณฑ์การประเมนิ แบบประเมนิ ใบงาน/ชิ้นงาน

ประเดน็ การประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน / ระดบั คุณภาพ

๑. การตอบคาถามแสดงใหเ้ หน็ ถึงความหมายและ ๓ ๒๑
ประโยชนข์ องงานช่าง
ตอบถูกและอธิบาย ตอบถกู แต่ไม่ ให้ความร่วมมอื

เหตุผลได้ สามารถอธบิ ายได้ ในการตอบ

คาถาม

๒. การตอบคาถามแสดงให้เหน็ ถงึ การรจู้ ักวธิ กี ารใช้ ตอบถูกและอธบิ าย ตอบถูก แต่ไม่ ให้ความร่วมมอื

เคร่ืองมอื ชา่ งไดอ้ ยา่ งปลอดภยั เหตผุ ลได้ สามารถอธบิ ายได้ ในการตอบ

คาถาม

๓. การตอบคาถามแสดงให้เหน็ ถึงการเห็นคณุ คา่ ของ ตอบถูกและอธบิ าย ตอบถกู แต่ไม่ ให้ความรว่ มมือ

การปฏิบัติงานช่าง เหตุผลได้ สามารถอธบิ ายได้ ในการตอบ

คาถาม

เกณฑ์การตัดสินระดบั คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

8 - 9 ดมี าก
6 - 7 ดี
4 - 5 ปานกลาง

2 - 3 พอใช้
1 ควรปรับปรงุ

๑๔

แบบประเมนิ ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ความรู้เบือ้ งตน้ เกยี่ วกับเครือ่ งมือช่าง

กลุ่มที่...............เรอ่ื ง................................................................................................................................
รายวชิ า............................................................รหัสวชิ า....................................ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่.................

คาชแี้ จง ใหค้ รผู ูส้ อนทาเครือ่ งหมาย ลงในช่องระดบั คะแนนตามเกณฑก์ ารประเมนิ

ประเด็นการประเมนิ ๕ ระดบั คะแนน ๑ รวม หมายเหตุ
๔๓๒
๑. รปู แบบของใบงาน/ช้ินงาน
๒. ความถูกต้องของขอ้ มูล เนือ้ หาสาระ
๓. ความตรงต่อเวลา

คะแนนรวม

เกณฑ์การประเมนิ แบบประเมนิ ใบงาน/ชิ้นงาน

ประเดน็ การ เกณฑ์การใหค้ ะแนน / ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน
๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๑. รปู แบบ รูปแบบของงานถูกตอ้ งตาม รูปแบบของงาน รปู แบบของงาน รูปแบบของงานไม่
ของใบงาน/ กาหนด มคี วามเปน็ ระเบียบ รูปแบบของงาน ถูกต้องตามกาหนด ถกู ต้องตามกาหนด ถกู ต้องตามกาหนด
ชน้ิ งาน เรยี บร้อย ตกแตง่ อยา่ ง ถกู ต้องตามกาหนด มี มคี วามเปน็ ระเบยี บ บางสว่ น
สวยงาม แสดงถึงความคดิ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย เน้ือหาสาระ
๒. ความถกู ตอ้ ง ริเรม่ิ สร้างสรรค์ เรียบร้อย แสดงถงึ เนอ้ื หาสาระถกู ตอ้ ง ไมถ่ กู ตอ้ ง
ของขอ้ มูล ความคิดรเิ ร่ิม เนื้อหาสาระ เพยี งบางส่วน
เน้ือหาสาระ เน้อื หาสาระถกู ต้องครบถว้ น สร้างสรรค์ สว่ นมากถกู ตอ้ ง
ละเอยี ดชัดเจน และมกี าร
สบื ค้นขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ เนือ้ หาสาระถกู ต้อง
นอกเหนือ ครบถว้ น ละเอยี ด
จากบทเรียน ชัดเจน

๓. ความตรงตอ่ ส่งงานภายในระยะเวลาที่ สง่ งานชา้ กวา่ กาหนด สง่ งานช้ากวา่ สง่ งานช้ากวา่ สง่ งานช้ากว่า
กาหนด ๓ วนั กาหนดเกนิ
เวลา กาหนด ๑ วนั กาหนด ๒ วัน ๓ วนั ขนึ้ ไป

เกณฑ์การตัดสินระดบั คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๓ – ๑๕ ดมี าก
๑๐ – ๑๒ ดี
๗–๙
ปานกลาง
๔–๖
๑–๓ พอใช้
ควรปรบั ปรงุ

๑๕

แบบประเมนิ ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง การเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือชา่ ง

กลุ่มที่………..ชัน้ ……………….

คาชแี้ จง

ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ลงในชอ่ ง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน

ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
32 1
1 การแสดงความคดิ เห็น  
2 การยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน
3 การทางานตามหน้าท่ีทไ่ี ด้รบั มอบหมาย  
4 ความมีน้าใจ  
5 การตรงต่อเวลา  

 

รวม

ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมนิ
............/.................../................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 3 คะแนน
2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 1 คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ

14–15 ดมี าก
11–13 ดี
8–10
ต่ากว่า 8 พอใช้
ปรับปรุง

๑๖

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม (ครปู ระเมินนักเรยี น)

คาช้แี จง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วใสค่ ะแนนลงในช่องให้ตรงกบั ความเปน็ จริง
โดยใหข้ ีด  ลงในชอ่ งคะแนนพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก

รายการ พฤติกรรมที่แสดงออก คะแนน หมายเหตุ
ประเมนิ 321
1. มกี ารวางแผนการทางานและจดั ระบบการทางาน
1. มวี นิ ยั 2. ทางานตามข้นั ตอนตา่ งๆ ท่ีได้วางแผนไว้ 3 หมายถงึ นักเรยี น
3. ตรวจความถกู ต้อง ความเรียบรอ้ ย หรือคณุ ภาพของงาน แสดงพฤตกิ รรมนั้นอยา่ ง
2. ใฝ่เรยี นรู้ 4. มคี วามกระตอื รอื รน้ และสนใจในการแสวงหาความรู้ สม่าเสมอ
5. ชอบสนทนา ซกั ถาม ฟงั หรอื อา่ นให้ความรู้เพม่ิ ข้ึน
3. มุ่งมั่นในการ 6. มีความสุขทีไ่ ดเ้ รยี นร้ใู นส่งิ ท่ีตนเองตอ้ งการเรยี นรู้ 2 หมายถงึ นกั เรยี น
ทางาน 7. มคี วามตั้งใจในการทางานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย แสดงพฤตกิ รรมนน้ั เปน็
8. ส่งงานตรงเวลาทก่ี าหนด ครง้ั คราว

คะแนนรวม 1 หมายถงึ นักเรยี น
คะแนนเฉลีย่ แสดงพฤติกรรมนน้ั
น้อยครง้ั

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ เฉลย่ี 3.00 - 2.34 2.33 – 1.67
3 = ดีมาก 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ
ชว่ งคะแนน
ระดับคุณภาพ

สรปุ ผลประเมิน ( เขียนเคร่ืองหมาย  ลงใน ) 3 21
ระดบั คุณภาพท่ีได้

หมายเหตุ การหาคะแนนเฉล่ยี หาไดจ้ ากการนาเอาคะแนนรวมในแต่ละชอ่ งมาบวกกันแล้วหารด้วยจานวน
ขอ้ จากนัน้ นาคะแนนเฉลยี่ ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตักสินคุณภาพและสรปุ ผลการประเมิน

แบบบันทึกคะแนน

๑๗

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

ใบงานท่ี 1.1 ใบงานท่ี 1.2

ลา ัดบที่ ชอ่ื นักเรยี น คะแนน คะแนนที่ คะแนน คะแนน
เต็ม (3) ได้ เต็ม (2) ทไี่ ด้
1

1

2
3
4

5
6

7
8
9

10
11

12
13
14

15
16

17
18
19

20
21

22

๑๘

การใช้สอื่ นวัตกรรม
เทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู้

๑๙

ส่ือประกอบการเรียนการสอน

๒๐

ใบความรู้
เรื่อง เครอื่ งมอื ชา่ ง

๒๑

เครือ่ งมือชา่ ง

เครอ่ื งมอื งานชา่ งพ้นื ฐาน เปน็ ปจั จยั ท่ีสาคัญอย่างหน่ึงในการปฏิบัตงิ านช่าง เพราะวา่ เครื่องมือเป็นส่ิง
ทจี่ ะชว่ ยผ่อนแรงในการทางานของช่าง และชว่ ยใหก้ ารทางานสาเร็จตามเปา้ หมาย ผลงานทีอ่ อกมาดี สวยงาม
เปน็ ที่ต้องการของผใู้ ช้ โดยเราจะต้องรูจ้ ักการใชง้ านเครื่องมืออย่างถูกวธิ ี และเหมาะสมกบั ชนิดของงานที่จะ
ทา ฉะนัน้ ในการเลือกใช้เครื่องมือจึงถือเป็นกระบวนการอย่างหน่งึ ที่สาคัญในการทางานช่าง เคร่อื งมือในงาน
ช่างพ้นื ฐานมีมากมายหลายชนิด

ประโยชน์ของเครอื่ งมือช่าง
1. ชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านเกดิ ความสาเรจ็ และมีคุณภาพ
2. ทาใหก้ ระบวนการทางานมีประสิทธภิ าพมากขึ้นและเกิดประโยชน์สงู สดุ

ค้อน (Hammer)
ใชส้ าหรบั การตอก เคาะ หรือทุบบนวสั ดอุ ่ืน เช่น การตอกตะปหู รือการทุบทาลายวตั ถุ มีรูปรา่ งและ

โครงสร้างทห่ี ลากหลายรองรับการใช้งาน
 ค้อนหวั กลม หวั กลมมน หน้าคอ้ นแบน ใชเ้ พื่อตอก ตดั รูปะเก็น
 คอ้ นแบบพิเศษ ทาจากวสั ดุหลายประเภท เช่น ค้อนตะกวั่
 ค้อนหงอนชา่ งไม้ ด้านหน่ึงหน้าเรียบใช้ตอกตะปู อกี ด้านมีหงอนไว้ถอนงานเฉพาะท่ี
 คอ้ นช่างไฟฟ้า ทาจากโลหะ หน้าค้อนดา้ นหน่งึ เปน็ สเ่ี หล่ยี ม อีกดา้ นแบนเรยี บ
 คอ้ นปอนด์ หวั คอ้ นเปน็ แทง่ สี่เหล่ยี มขนาด 1.5-3 ปอนด์ ยาว 60-100 ซม. ใช้ตเี หล็ก ตอกหมุด เปน็ ต้น

คอ้ นหัวกลม คอ้ นแบบพเิ ศษ

ค้อนช่างไฟฟา้ คอ้ นหงอนช่างไม้
คอ้ นปอนด์

๒๒

คีม (Pliers)
ใช้สาหรบั การจับยึดหรอื ตัดช้ินงาน ซึง่ มีรปู ร่างและขนาดแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะการใชง้ าน

 คมี ปากขยาย เหมาะสาหรับงานเครือ่ งมือกล งานช่างยนต์ งานท่ัวไป
 คีมปากยาว เหมาะสาหรับใชใ้ นงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์
 คีมล็อก ใชส้ าหรับจบั หรอื บบี ชิ้นงานทต่ี อ้ งการความแน่นมากๆ
 คมี ถอดแหวนลอ็ ก ใช้ในงานถอดแหลมลอ็ กลกู สบู หรือล็อกเพลา

คมี ปากขยาย คีมปากยาว

คมี ล็อก คมี ถอดแหวนล็อก

ไขควง (Screwdriver)
ใชส้ าหรบั การขันสกรเู ข้าหรือออก ทางานโดยการสง่ แรง (Torque) จากการหมนุ ทด่ี า้ มจับไปที่ปลาย

ของไขควงจึงทาใหส้ กรหู มุนตามเกลยี ว
 ไขควงปากแบน ใชง้ านกับสกรเู กลียวปลอ่ ยอย่างเดียว
 ไขควงปากแฉก ใช้กบั หัวสกรู 4 แฉกได้อย่างเดยี ว
 ไขควงหัวคลตั ช์ ใช้กับสกรูหัวคลตั ช์
 ไขควงเชค็ ไฟ คลา้ ยไขควงปากแบนแต่สามารถเชค็ กระแสไฟฟา้ ได้

ไขควงปากแบน ไขควงปากแฉก ไขควงหัวคลตั ซ์ ไขควงเชค็ ไฟ

๒๓

ประแจ (Wrech)
รูปรา่ งของประแจจะแตกต่างจะแตกตา่ งกนั ออกไปตามลักษณะการใช้งาน

 ประแจปากตาย ปลายประแจมลี ักษณะเป็นรปู ตวั ยทู ้ัง 2 ข้าง
 ประแจแหวน ปลายประแจมลี ักษณะเป็นวงแหวนท้ัง 2 ขา้ ง
 ประแจแหวนปลายผา่ ปลายประแจมีลักษณะคลา้ ยประแจแหวน แต่จะผ่าเพื่อให้สอดเข้าท่อได้
 ประแจปากผสมหรอื ประแจรวม ปลายประแจมีลักษณะเปน็ ปากตายและแหวนในตัวเดียวกัน
 ประแจกระบอก ปลายประแจมีลกั ษณะเปน็ ทรงกลมเหมอื นกระบอก
 ประแจวดั แรงบดิ มลี กั ษณะเป็นด้ามต่อ โดยใชค้ ู่กับประแจกระบอก
 ประแจเลื่อน คล้ายกับประแจปากตาย ปากสามารถเล่ือนปรับขยายได้

ประแจปากตาย ประแจแหวน ประแจแหวนปลายผ่า ประแจปากผสมหรือประแจรวม

ประแจกระบอก ประแจวัดแรงบดิ ประแจเล่ือน

ตลบั เมตร (tape measure)

ใช้สาหรบั วัดระยะมลี ักษณะเป็นตลบั สเี่ หล่ียมขนาดพอจับมอื ตัวตลับทาด้วยโลหะหรือพลาสตกิ ส่วน
แถบวักทาดว้ ยเหลก็ บางเคลือบสี ปลายแถบวดั จะมีขอเก่ยี วเล็กๆ ติดอยู่

ตลับเมตร

๒๔

เล่อื ย (Saw)
ช่ือเรยี กตามลักษณะการใช้งานและลกั ษณะรปู รา่ ง ในการช่างพื้นฐานจะกลา่ วถงึ เลื่อยท่ใี ชก้ ันทว่ั ๆ ไป

ประกอบไปดว้ ย 2 ส่วน คอื ส่วนทเี่ ป็นใบเล่ือยซึ่งทาดว้ ยเหล็กบาง มฟี ันคล้ายกับสว่ิ เล็กๆ เรียงกันตลอดความ
ยาว และสว่ นที่เปน็ ดา้ มมือทาจากไมห้ รือพลาสติก
 เลื่อยลนั ดา แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ

1) เลอ่ื ยลนั ดาชนิดตดั ใช้ตดั ขวางเส้ียนไม้ ปลายของฟนั จะแหลม เวลาตัดต้องทแยงใบเล่ือยทามมุ กับ
ชน้ิ งานประมาณ 15 – 30 องศา

2) เลื่อยลันดาชนิดโกรก ใชส้ าหรบั เลื่อยหรือผ่าตามเสย้ี นไม้

 เล่อื ยโครงเหล็กหรอื เลอื่ ยคันศร เหมาะสาหรบั การใชง้ านหนัก เช่น การตดั ท่อนไม้ขนาดต่างๆ หรือใชต้ ดั
ต้นไม้ เลอื่ ยโครงเหล็กตัวโครงเป็นเหล็กกลวงน้าหนกั เบา ใบเลื่อยถูกออกแบบมาเป็นพเิ ศษเพ่ือให้ใบเล่ือย
สามารถตดั ได้ทง้ั 2 ทาง
 เลอ่ื ยตดั เหล็ก โครงเลื่อยเหลก็ มรี ูปรา่ งลักษณะทีแ่ ตกต่างกัน แลว้ แตบ่ ริษัทผูผ้ ลิต แต่ช่วงท่ใี สใ่ บเลื่อยจะมี
ระยะห่างเทา่ กนั มรี แู ละสลกั สาหรบั ยึดให้ใบเลื่อยตงึ และปรบั ระยะไดต้ ามขนาดความยาวของใบเลื่อย

 เลอื่ ยบังตอ เหมาะสาหรบั งานตัดหัวไมเ้ พ่อื ทาเดือยตอ่ ต่าง ๆ ด้านสันของใบเล่ือยมีครอบเหลก็ แข็ง กนั ใบ
เล่อื ยบิดตวั ขณะเลอื่ ย ทาใหไ้ ด้รอยตดั ที่มแี นวเที่ยงตรง ใบเล่อื ยยาว 8, 14

เลอื่ ยลนั ดา เลือ่ ยโครงเหลก็

เลื่อยตัดเหลก็ เล่ือยบังตอ

๒๕

ส่อื POWERPOINT
เร่อื ง เครื่องมือชา่ ง

14/03/65

เครอื่ งมือ
ในงานช่าง

เครื่องมือชา่ ง

เคร่อื งมือชา่ งเปน็ สงิ่ สาคัญในการปฏบิ ตั ิงาน
เครอื่ งมือมีหลายประเภทจงึ จาเปน็ จะตอ้ งรู้จกั การ
เลอื กใช้ วิธกี ารใช้ และการบารงุ รักษา เพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ
ความเสียหาย

ประโยชนข์ องเครอ่ื งมือชา่ ง

1. ชว่ ยให้การปฏบิ ัติงานเกดิ ความสาเรจ็ และมีคุณภาพ
2. ทาให้กระบวนการทางานมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ และเกดิ
ประโยชน์สูงสุด

1

14/03/65

คอ้ น (Hammer)

ใช้สาหรบั การตอก เคาะ หรอื ทบุ บนวสั ดอุ น่ื เช่น การ
ตอกตะปูหรือการทบุ ทาลายวตั ถุ มรี ปู รา่ งและโครงสร้างท่ี
หลากหลายรองรับการใชง้ าน

 ค้อนหัวกลม หัวกลมมน หน้าค้อนแบน ใช้เพื่อตอก ตัดรูปะเกน็
 คอ้ นแบบพเิ ศษ ทาจากวสั ดหุ ลายประเภท เช่น ค้อนตะก่วั
 ค้อนหงอนชา่ งไม้ ด้านหนึง่ หน้าเรียบใช้ตอกตะปู อีกด้านมีหงอนไวถ้ อน

งานเฉพาะที่
 ค้อนช่างไฟฟ้า ทาจากโลหะ หน้าคอ้ นด้านหนึง่ เป็นสเ่ี หลี่ยม อีกด้านแบน

เรียบ
 คอ้ นปอนด์ หวั คอ้ นเป็นแท่งสเี่ หลี่ยมขนาด 1.5-3 ปอนด์ ยาว 60-

100 ซม. ใชต้ ีเหลก็ ตอกหมดุ เปน็ ต้น

ค้อน

คอ้ นหวั กลม

คอ้ นแบบพิเศษ

ค้อนหงอนช่างไม้ ค้อนปอนด์
ค้อนชา่ งไฟฟ้า

2

14/03/65

คมี (Pliers)

ใชส้ าหรบั การจับยึดหรอื ตดั ชนิ้ งาน ซึง่ มรี ปู รา่ งและขนาด
แตกต่างกันตามลกั ษณะการใช้งาน

 คีมปากขยาย เหมาะสาหรับงานเครื่องมอื กล งานช่างยนต์ งานทว่ั ไป
 คีมปากยาว เหมาะสาหรบั ใชใ้ นงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์
 คมี ลอ็ ก ใชส้ าหรบั จับหรอื บบี ชิ้นงานท่ตี อ้ งการความแนน่ มากๆ
 คีมถอดแหวนล็อก ใช้ในงานถอดแหลมล็อกลูกสูบหรือลอ็ กเพลา

คีม คีมปากขยาย

คมี ลอ็ ก

คีมปากยาว

คีมถอดแหวนล็อก

3

14/03/65

ไขควง (Screwdriver)

ใชส้ าหรบั การขนั สกรเู ขา้ หรอื ออก ทางานโดยการส่งแรง
(Torque) จากการหมนุ ที่ด้ามจบั ไปทปี่ ลายของไขควงจงึ
ทาใหส้ กรหู มุนตามเกลยี ว

 ไขควงปากแบน ใช้งานกบั สกรูเกลยี วปลอ่ ยอยา่ งเดยี ว
 ไขควงปากแฉก ใช้กบั หัวสกรู 4 แฉกไดอ้ ย่างเดียว
 ไขควงหัวคลตั ช์ ใชก้ ับสกรหู วั คลตั ช์
 ไขควงหวั คลปิ หนีบ คลา้ ยไขควงปากแบนแตส่ ามารถหนีบชน้ิ งานได้

ไขควง

ไขควงปากแฉก

ไขควงหัวคลัตช์
ไขควงปากแบน

4

14/03/65

ประแจ (Wrech)

รูปรา่ งของประแจจะแตกต่างจะแตกต่างกนั ออกไปตาม
ลกั ษณะการใชง้ าน

 ประแจปากตาย ปลายประแจมีลกั ษณะเปน็ รปู ตวั ยทู ั้ง 2 ขา้ ง
 ประแจแหวน ปลายประแจมลี กั ษณะเป็นวงแหวนทัง้ 2 ขา้ ง
 ประแจแหวนปลายผา่ ปลายประแจมีลกั ษณะคล้ายประแจแหวน แตจ่ ะ

ผ่าเพ่ือให้สอดเข้าท่อได้
 ประแจปากผสมหรอื ประแจรวม ปลายประแจมีลักษณะเปน็ ปากตาย

และแหวนในตวั เดียวกนั
 ประแจกระบอก ปลายประแจมลี กั ษณะเป็นทรงกลมเหมือนกระบอก
 ประแจวัดแรงบดิ มลี ักษณะเปน็ ดา้ มตอ่ โดยใช้คู่กบั ประแจกระบอก
 ประแจเล่อื น คลา้ ยกับประแจปากตาย ปากสามารถเลื่อนปรบั ขยายได้

ประแจ ประแจปากตาย

ประแจกระบอก ประแจวดั แรงบดิ

ประแจเลอ่ื น

ประแจแหวนปลายผา่

5


Click to View FlipBook Version