The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suwitdd4, 2019-08-14 23:43:17

SAR60

sar60

ส่วนท่ี ๑
ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสถานศกึ ษา

๑.๑ ขอ้ มลู ทัว่ ไป
ชื่อโรงเรยี น ทา่ บอ่ ท่ีตั้งเลขที่ ๑ หมู่ ๑๔ ตาบลท่าบอ่ อาเภอทา่ บอ่ จงั หวดั หนองคาย

สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต ๒๑ โทรศัพท์ ๐๔๒-๔๓๑๗๒๘ โทรสาร๐๔๒-๔๓๑๗๒๘
E-mail:[email protected] website:thaboschool.com เปดิ สอนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ
ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖

๑.๒ ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา
๑)จานวนบุคลากร

บุคลากร ผบู้ รหิ าร ครูผูส้ อน พนักงานราชการ ครูอัตราจา้ ง เจา้ หนา้ ที่อน่ื ๆ

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ๓ ๑๑๘ ๑ ๑๑

๒) วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ของบุคลากร

วุฒิการศกึ ษา ตา่ กวา่ ปริญญาตรี ประกาศนยี บตั รบัณฑิต ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก
ปริญญาตรี ๑๐๓ - ๓๒ ๓

--

วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ของบคุ ลากร

๓๒% ๓% ต่ากวา่ ปริญญาตรี
๑๐๓% ปริญญาตรี
ประกาศนยี บตั รบัณฑิต
ปริญญาโท
ปรญิ ญาเอก

๓) สาขาวชิ าท่จี บการศกึ ษาและภาระงานสอน ๒

สาขาวชิ า จานวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู ๑ คน
ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์)
๑. บริหารการศึกษา ๓
๒. คณติ ศาสตร์ ๒๐ -
๓. วทิ ยาศาสตร์ ๒๕ ๑๗.๙๕
๔. ภาษาไทย ๑๓ ๑๖.๕๔
๕. ภาษาองั กฤษ ๒๐ ๑๒.๘๕
๖. สงั คมศกึ ษาฯ ๑๒ ๑๗.๔๑
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑๖ ๑๖.๕๕
๘. ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ๙ ๑๒.๙๓
๙. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑๐ ๑๕.๔๑
๑๐. แนะแนว ๒ ๑๕.๒๕
๑๑. อน่ื ๆ ๘ ๒๑.๑๗
๑๓๘
รวม -
๑๖.๒๓

๑.๓ ขอ้ มลู นักเรียน
จานวนนกั เรยี นปีการศกึ ษา ๒,๔๗๔ คน จาแนกตามระดับชน้ั ท่ีเปิดสอน

ระดับชน้ั เรียน จานวนหอ้ ง เพศ รวม

ม.๑ ชาย หญงิ เฉล่ยี ตอ่ หอ้ ง
ม.๒ ๓๙ : ๑
ม.๓ ๑๓ ๒๔๒ ๒๖๙ ๕๑๑ ๓๗ : ๑
รวม ๔๗ : ๑
ม.๔ ๑๒ ๑๙๔ ๒๔๘ ๔๔๔
ม.๕ ๓๑ : ๑
ม.๖ ๑๑ ๒๔๘ ๒๗๖ ๕๒๔ ๓๒ : ๑
รวม ๓๙ : ๑
รวมทั้งหมด ๓๖ ๖๘๔ ๗๙๓ ๑,๔๗๗

๑๐ ๑๒๐ ๑๙๔ ๓๑๔

๑๐ ๑๐๕ ๒๒๒ ๓๒๗

๙ ๑๓๐ ๒๒๔ ๓๕๔

๒๙ ๓๖๗ ๖๖๖ ๑,๐๓๓

๖๕ ๑,๐๓๙ ๑,๔๓๓ ๒,๔๗๔

ข้อมูลนักเรยี น ณ วนั ท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐



กราฟเปรียบเทียบจานวนนกั เรยี นระดบั ชน้ั ม.๑ - ม.๖ (ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐)

เปรียบเทียบจำนวนนักเรียนระดบั ชน้ั ม.๑ - ม.๖ ปกี ารศกึ ษา๒๕๖๐
ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ปกี ารศกึ ษา๒๕๕๙

๓๔๓๑๕๓๔๗๑ ปกี ารศึกษา๒๕๕๘

ม.๖

ม.๕ ๓๓๒๓๓๗๔๒๑

ม.๔ ๓๑๔ ๓๓๕๕๑๑

ม.๓ ๓๖๑ ๔๔๒ ๕๒๔

ม.๒ ๔๔๔ ๔๙๙
๔๕๙

ม.๑ ๔๓๘ ๕๑๑
๔๘๑

๑.๔ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศึกษา

รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ีเกรดเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนแต่ละรำยวชิ ำใน

ระดบั ๓ ขึ้นไป ระดับ ม. ๑-ม.๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐

ภำษำต่ำงประเทศ ภำษำไทย ร้อยละ

รอ้ ยละ ๕๑.๐๓ ๔๙.๔๘

กำรงำนอำชีพและ คณติ ศำสตร์ ร้อยละ
เทคโนโลยี รอ้ ยละ ๓๗.๘๔

๖๓.๗๐

ศลิ ปศึกษำ ร้อยละ วิทยำศำสตร์ รอ้ ยละ
๖๕.๖๕ ๔๘.๑๓

สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ สงั คมศึกษำ รอ้ ยละ
รอ้ ยละ ๘๓.๓๔ ๕๕.๙๗



๑.๕ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐

๑.๕.๑) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ ้ันพื้นฐำน (O-NET)

๖๐.๐๐ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓

๕๐.๐๐ ๔๘.๗๕
๔๘.๗๗ ๔๘.๒๙
๔๕.๗๔

๔๐.๐๐ ๒๔.๐๖๒๖.๕๕ ๓๑.๐๐๓๒.๔๗๓๐.๗๘๓๒.๒๘ ๒๙.๔๕๓๐.๑๔๒๘.๖๙๓๐.๔๕
๓๐.๐๐ ๒๖.๓๐
๒๐.๐๐ ๒๓.๑๗

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำองั กฤษ
ภำษำไทย คะแนนเฉล่ียระดบั จงั หวดั
คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลย่ี สังกัด สพฐ.

ระดบั /รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรยี น ๔๘.๗๕ ๒๔.๐๖ ๓๑.๐๐ ๒๙.๔๕
คะแนนเฉลย่ี ระดบั จงั หวดั ๔๕.๗๔ ๒๓.๑๗ ๓๐.๗๘ ๒๘.๖๙
คะแนนเฉลย่ี สงั กดั สพฐ. ๔๘.๗๗ ๒๖.๕๕ ๓๒.๔๗ ๓๐.๑๔
คะแนนเฉล่ีย ระดบั ประเทศ ๔๘.๒๙ ๒๖.๓๐ ๓๒.๒๘ ๓๐.๔๕



๑.๕.๒) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET)ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖

๖๐.๐๐ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
๕๐.๐๐ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖

๔๕.๗๕๘๐.๐๔๗๙.๒๕
๔๕.๐๘

๔๐.๐๐ ๒๑.๗๒๓๐.๘๕๒๔.๖๒๔๔.๕๓๒๖.๙๒๐๗.๑๑๒๙.๔๘๒๙.๓๖๓๑.๐๓๖๑.๙๙๓๔.๙๖๓๔.๗๒๐๔.๙๙๒๔.๘๙๒๗.๙๒๑๘.๓๑
๓๐.๐๐
๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ สังคมศึกษำ ภำษำอังกฤษ

ภำษำไทย

ระดับ/รายวิชา คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดบั จังหวดั องั กฤษ
คะแนนเฉลยี่ ระดบั สงั กดั สพฐ. คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น ๔๕.๐๘ ๒๑.๗๓ ๒๖.๙๐ ๓๑.๐๖ ๒๔.๙๙
คะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวัด ๔๕.๗๘ ๒๐.๘๕ ๒๗.๑๑ ๓๑.๙๙ ๒๔.๘๙
คะแนนเฉลยี่ สังกัด สพฐ. ๕๐.๐๗ ๒๔.๖๔ ๒๙.๔๘ ๓๔.๙๖ ๒๗.๙๑
คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ ๔๙.๒๕ ๒๔.๕๓ ๒๙.๓๖ ๓๔.๗๐ ๒๘.๓๑



๑.๕.๓) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET)
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำตขิ ้นั พ้ืนฐำน (O-NET)
ปกี ำรศึกษำ ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี ๓

๖๐.๐๐ ๔๘.๗๕๔๕.๙๐ ๒๔.๐๖๒๘.๘๔๒๘.๗๕ ๓๑.๐๐๓๔.๐๖๓๕.๕๗ ๒๙.๔๕ ๓๑.๒๔ ๒๙.๐๕
๕๐.๐๐ ๔๑.๘๖
๔๐.๐๐
คะแนนเฉ ่ลีย ๓๐.๐๐
๒๐.๐๐
๑๐.๐๐
๐.๐๐

ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ

ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๐ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๕๙ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๘

๑.๕.๔) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ นั้ พืน้ ฐำน (O-NET)
ปกี ำรศึกษำ ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๖

๕๐.๐๐ ๔๕.๐๘๔๖.๒๔๔๕.๖๑

๔๐.๐๐ ๓๗.๖๒
๓๐.๐๐ ๓๒.๗๗
๒๐.๐๐ ๒๖.๙๐๒๘.๖๖๓๑.๔๐ ๓๑.๐๖ ๒๔.๙๙๒๓.๘๒๒๑.๗๒

คะแนนเฉ ่ีลย ๒๑.๗๓๒๐.๙๓๒๔.๐๗

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ สงั คมศึกษำ ภำษำอังกฤษ
ภำษำไทย

ปีกำรศึกษำ๒๕๖๐ ปกี ำรศกึ ษำ๒๕๕๙ ปีกำรศกึ ษำ๒๕๕๘



๑.๖ สรุปการใช้แหล่งเรียนร้ภู ายในและภายนอกสถานศกึ ษา

จำนวนนกั เรียนทใ่ี ช้แหล่งเรยี นรใู้ นโรงเรียน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐

๔๓๐๔ ๔๓ ๔๒ ๕๙ ๖๓ ๖๐
๘๔ ๑๕๓ ๑๒๗ ๑๖๘ ๑๕๕ ๑๘๗
๕๒ ๖๖๑๔ ๕๖๘๗ ๖๘๑๓ ๘๐
๑๕๗ ๑๘๗ ๒๑๑ ๖๒ ๘๙
๔๗ ๔๕ ๓๐๕ ๖๙ ๒๐๘
๑๔๙ ๖๔ ๑๑๐
๒๔๗ ๕๗ ๒๗๓
๑๗๒ ๒๕๗ ๒๑๘
๗๙

๒๘๑

๒๕๖ ๒๖๗ ๒๘๓ ๒๕๗ ๑๕๗ ๒๘๘

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
หอ้ งสมุดโรงเรยี น หอ้ งสมุดกล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ ศูนยว์ ัฒนธรรม
ห้องE-library ศนู ย์เพือ่ นใจTO BE NUMBER ONE
ห้องโสตทศั นศกึ ษำ หอ้ งพยำบำล ธนำคำรโรงเรยี น

จำนวนนักเรียนท่ีใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภำยนอกโรงเรยี น ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐

๔๑๑๑๓๒๐๓ ๑๑๒๕๕๓ ๔๑๑๒๐๔๓๔ ๑๒๒๗๕๐ ๒๒๓๐๙๕ ๒๒๓๔๐๔
๔๐ ๗๔ ๘๐ ๘๐

๔๓๒ ๒๙๔ ๒๗๘ ๒๙๐ ๓๑๐ ๓๒๑

๑๓๖ ๑๒๙ ๒๓๒ ๒๕๔ ๒๘๑
๖๕

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
หอ้ งสมดุ ประชำชน วัดหลวงพอ่ พระเจ้ำองค์ต้อื

โรงงำนเสน้ หม่ี-แผน่ ยอท่ำบอ่ อำรยธรรมโบรำณบ้ำนโคกคอน

สหกรณผ์ ู้เลยี้ งสัตว์นำ้ (ปลำน้ำจดื )บำ้ นกองนำง สหกรณ์กำรเกษตรกลมุ่ เกษตรกรตำบลกองนำง

๑.๗ ขอ้ มลู งบประมำณ ๘

ตารางแสดงขอ้ มลู งบประมาณ (รบั -จ่าย) จำ่ ย/บำท
๕๒๑,๒๕๐
รำยกำร ยกมำ (บำท) รบั (บำท) ๒๒๖,๒๐๐
๙๕,๒๐๐ -
๑. งบบริจาค (สมทบก่อสรา้ ง) ๕๒๑,๒๕๐ ๑๕๐,๐๐๐ ๙๙๘,๐๐๐
๕๖๕,๙๕๑.๒๕ ๖,๗๕๔,๕๑๑
๒. เงินอุดหนนุ โครงการยกระดบั ๑๕๔,๓๒๑ ๙๒๒,๕๐๐ ๘,๘๘๕,๐๙๕.๔๕
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
๖,๘๖๒,๓๒๔
๓. รายไดส้ ถานศกึ ษา ๑,๑๔๑,๗๕๗.๔๑ ๘,๙๖๘,๗๕๐

๔. เงนิ อุดหนนุ ปจั จยั พื้นฐาน ๑,๘๔๕,๕๕๙
นกั เรียนยากจน

๕. เงินสนับสนนุ โครงการเรียน ๑,๗๖๙,๒๖๙.๙๓
ฟรี ๑๕ ปี

๖. เงินอุดหนุนรายหัว ๕๔,๖๐๕.๑๐

๑.๘ ข้อมูลสภำพชมุ ชนโดยรวม

ชุมชนอาเภอท่าบ่อเปน็ ชุมชนเก่าแก่ มีประวัติความเปน็ มายาวนาน เดิมเรียกว่า “บา้ นทา่ บอ่ เกลือ”
ร.ศ.๑๑๔ (๒๔๓๘) ได้ยกฐานะ “บ้านท่าบอ่ ” ขึ้นเปน็ เมืองท่าบอ่ โดยมีพระกุประดษิ ฐบดี เป็นเจา้ เมอื งทา่ บ่อ
คนแรก จนถึงปจั จุบันอาเภอท่าบอ่ มอี ายุ ๑๒๑ ปเี ศษ

สภาพโดยทั่วไป อยตู่ ิดลาน้าโขง พ้นื ดินเป็นดนิ ตะกอน มีความอดุ มสมบรู ณ์ ทาการเพาะปลกู ได้ดี

อาชีพประชาชนส่วนใหญ่ จงึ เก่ียวขอ้ งกับการเกษตรกรรม ผลผลติ ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ ใบยาสบู , มะเขือเทศ,
พืชพักสวนครัวทุกชนิด, ข้าว, ปลาน้าจดื , อ้อย, เฟอรน์ เิ จอร์จากไม,้ ฟูกทน่ี อน, แหนม, หมูยอ, แผน่ ยอ,

เส้นหม่,ี เส้นกว๋ ยเต๋ยี ว เปน็ ต้น

ลักษณะทางวัฒนธรรม เปน็ แบบผสมผสานระหวา่ ง วฒั นธรรมพน้ื บ้านดัง้ เดิม กบั วัฒนธรรมตะวันตก
สมัยใหม่ ชมุ ชนโดยทว่ั ไปกาลงั อยูใ่ นระหวา่ งการเร่งรัดพฒั นาด้านปัจจัยพ้นื ฐาน เชน่ ถนน, ไฟฟ้า, ประปา

และเริม่ มกี ารรวมกลุม่ กันทางเศรษฐกจิ



๑.๙ สรุปผลการประเมนิ จากหน่วยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ
ตารางแสดงผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม (๒๗-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔)

กำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน น้ำหนกั คะแนนที่ ระดบั
(มธั ยมศึกษำ) (คะแนน) ได้ คุณภำพ

กลมุ่ ตัวบ่งชพี้ น้ื ฐำน ๑๐.๐๐ ๙.๗๐ ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑ ผเู้ รยี นมสี ุขภาพกาย และสขุ ภาพจติ ท่ีดี ๑๐.๐๐ ๙.๕๐ ดมี าก
ตวั บง่ ช้ีท่ี ๒ ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดีมาก
๑๐.๐๐ ๘.๙๕
ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง ๒๐.๐๐ ๘.๗๕ ดี
ตัวบง่ ชที้ ี่ ๔ ผเู้ รียนมีคิดเป็นทาเป็น ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดี
ตวั บ่งชี้ท่ี ๕ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน ๕.๐๐ ๔.๘๖ ดมี าก
๕.๐๐ ๔.๘๖ ดมี าก
ตัวบ่งชี้ท่ี ๖ ประสทิ ธิผลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ดมี าก
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐
ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘ พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและ ดมี าก
๕.๐๐ ๕.๐๐
ต้นสังกัด ดีมาก
กล่มุ ตวั บง่ ชอี้ ัตลกั ษณ์ ๕.๐๐ ๕.๐๐
ดีมาก
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน พนั ธกิจ และ ๕.๐๐ ๕.๐๐
วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดต้งั สถานศกึ ษา ดีมาก
๑๐๐.๐๐ ๘๓.๕๖
ตวั บ่งชีท้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจดุ เดน่ ท่ีส่งผลสะทอ้ นเป็น ดี
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา

กลุ่มตัวบ่งชม้ี ำตรกำรสง่ เสรมิ
ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสรมิ บทบาทของ
สถานศึกษา
ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดบั มาตรฐานรกั ษา

มาตรฐาน และพัฒนาส่คู วามเป็นเลิศ ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนว
ทางการปฏริ ปู การศกึ ษา

คะแนนรวม

สถานศกึ ษามีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไมใ่ ช่

 สถานศึกษามีตังบง่ ชี้ทไ่ี ดร้ ะดับดขี ึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จากท้งั หมด ๑๑ ตวั บง่ ช้ี  ใช่  ไม่ใช่

 สถานศึกษาไม่มีตัวบง่ ช้ีใดท่ีมีระดับคุณภาพตอ้ งปรบั ปรงุ หรอื ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่

สรปุ ผลการจดั การศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม
 สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา

๑๐

จดุ เด่น จุดทีค่ วรพัฒนำ และขอ้ เสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม
จุดเด่น

๑. ผูเ้ รียนมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี ผูเ้ รียนส่วนใหญท่ ่ีมนี ้าหนัก สว่ นสูง สมรรถภาพทางกายตาม
เกณฑ์ ผู้เรียนปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติดและส่งิ มอมเมา เชน่ สุรา บุหร่ี เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลล์ เกม ดา้ น
สุนทรีภาพผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมทงั้ ในและนอกหลกั สูตร ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ วรรณศิลป์ หรอื นนั ทนาการ
ผ้เู รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ ผู้เรียนเป็นลูกทีด่ ีของพ่อแม่ ผู้ปกครองผู้เรียนสว่ นใหญไ่ ม่
ขาดเรียน มาสาย และออกจากการศึกษากลางคนั ไมม่ ปี ัญหาดา้ นการปกครอง ทากจิ กรรม บาเพญ็ ประโยชน์ต่อ
สังคมในสถานศึกษาโดยผ่านกระบวนการคดิ วางแผน กาหนดกจิ กรรม และดาเนินการโดยสถานศึกษาหรือผ้เู รยี น
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทากจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สังคมนอกสถานศกึ ษาโดยผ่านกระบวนการคิด วางแผน กาหนด
กิจกรรม และดาเนินการโดยสถานศึกษาหรือผ้เู รียนอย่างตอ่ เนอ่ื ง นอกจากนี้ผูเ้ รียนมีความใฝร่ ู้และเรยี นรอู้ ย่าง
ต่อเนอ่ื ง ผ้เู รียนมกี ารเรยี นรอู้ ย่างสม่าเสมอจากากรอย่าง อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 คร้งั มีการเรียนรอู้ ย่างสมา่ เสมอ
จากากรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 1 คร้ัง เรยี นรู้ผา่ นประสบการณ์ตรงรว่ มกบั ผู้อืน่ ใน
สถานศกึ ษาจากการดู การฟังการลงมือปฏิบตั ิ การทัศนศึกษา ตามเกณฑข์ องสถานศกึ ษา เรยี นรู้ผ่านประสบการณ์
ตรงรว่ มกับผอู้ นื่ นอกสถานศกึ ษาจากากรดู การฟงั การลงมอื ปฏิบตั ิ การทศั ศกึ ษา ตามเกณฑ์ของสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาพยายามดาเนนิ การเพ่อื พฒั นาผูเ้ รียนให้มคี ณุ ลักษณ์ตามจดุ เน้นคือ คุณธรรม จริยธรรม และมรี ะเบียบ
วนิ ัย ผลการพฒั นาบรรลุตามเปา้ หมายดมี าก และสถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษ แกป้ ัญหาสง่ิ เสพ
ติด สุขภาพนักเรียน และอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรม สามารถเปน็ แบบอย่างได้ดีมาก

๒. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามีภาวะผ้นู า มีความสามารถในการบริหารจดั การ เปน็ ผู้นาในด้านการบริหาร
วชิ าการมคี ุณธรรม จริยธรรม มคี วามม่งุ มัน่ ในการทางานเพอ่ื พัฒนาการศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาแสดง
บทบาทพฒั นาสถานศึกษา ระดับดี และสถานศึกษามีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทีด่ มี าก สถานศกึ ษา
ดาเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของ สมศ. เพ่อื รกั ษามาตรฐานดา้ นความสามารถในการคดิ ของผเู้ รยี นทีห่ ลากหลาย
สอดคลอ้ งตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา

๓. ประสิทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ครไู ด้รับการพัฒนาในวชิ าทส่ี อนหรอื
วชิ าครูตามที่ครุ ุสภากาหนด ไม่ต่ากวา่ ๒๐ ชม./ปี มกี ารประเมินแผนการจดั การเรียนร้ขู องครทู กุ คนคนอย่าง
สม่าเสมอ อย่างนอ้ ยภาคการศกึ ษาละ ๑ คร้งั มีการประเมนิ แบบวัด แบบทดสอบของครทู กุ คน

๔. ผลการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานจากต้นสงั กดั ดมี าก และสถานศึกษามีแนวโนม้ ผลการ
ประเมินตนเองสงู ข้นึ อย่างต่อเนอื่ ง โดยรักษาคณุ ภาพดมี ากท้งั ๓ ปี

จดุ ท่ีควรพฒั นำ

๑. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับคุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ และ
ส่วนใหญ่ ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรับปรุง เชน่ กัน

๒. การนเิ ทศภายในยังดาเนินการไม่ครบตามกระบวนการนเิ ทศ ยงั ขาดการนาขอ้ เสนอแนะไปแก้ปัญหา
การจัดการเรยี นการสอน และบันทึกการนาข้อเสนอแนะไปแก้ปญั หาวา่ ได้ผลมากน้อยเพยี งใด

๓. การใช้ผลการประเมิน ผลการทดสอบ ผลการการนเิ ทศภายใน เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

๑๑

ขอ้ เสนอแนะเพอื่ กำรพัฒนำตำมกฎกระทรวงวำ่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีกำรประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ
พ.ศ.๒๕๕๓

๑. ด้ำนผลกำรจดั กำรศกึ ษำ
๑) ผเู้ รยี นควรไดร้ บั การพฒั นายกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้โดย

เร่งด่วนในกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ่รี ะดบั คณุ ภาพต่ากว่าระดับดี ครูควรพฒั นากจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ของตนเอง
นาผลประเมินมาวเิ คราะห์แลว้ ออกแบบการสอนให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียนแต่ละคน มกี ารใชก้ ระบวน
การแลกเปลย่ี นเรยี นร้รู ว่ มกันของคณะครภู ายในสถานศกึ ษา นอกจากนี้ ควรศกึ ษาเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั วธิ ีการทดสอบ
ของ สทศ. และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ผู้บรหิ ารควรรว่ มมือกับครพู ิจารณานาผลประเมนิ ในทกุ ระดับมาวางแผน
โครงการ กิจกรรม เพื่อยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรู้ โดยสง่ เสริมใหค้ รไู ดร้ ับการพฒั นาศักยภาพ มีการนิเทศ
กากับ ตดิ ตามและประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง

๒) ผเู้ รยี นควรไดร้ บั การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ยา่ งจรงิ จงั
โดยครคู วรนาผลการประเมินมาปรบั การเรยี นเปล่ียนการสอน ครูควรจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผเู้ รยี นเปน็
สาคญั โดยเฉพาะการสอนซ่อมเสรมิ ในกลุ่มสาระการเรยี นภาษาไทยและคณิตศาสตร์ เพ่ือให้เปน็ พ้นื ฐานของการ
เรียนรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ า่ งๆต่อไป

๓) สถานศกึ ษาควรส่งเสรมิ ให้ครูผู้สอนทกุ คนพฒั นากระบวนการเรียนการสอน และการเรียนรู้
ของผูเ้ รยี นทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยการนาผลการประเมินผ้เู รียนรายคน รายช้ันเรียน แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียน
รมู้ าวิเคราะห์ และหาวธิ ีการแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื งอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดสอนซ่อมเสรมิ การ
ปรับการเรียนการสอน การพัฒนาเคร่อื งมอื วดั ผลประเมินผลประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งกับแนวทางการทดลองของ
สทศ.

๒. ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำ
๑) ผบู้ ริหารควรนิเทศ กากบั ติดตาม การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน การวดั ผล ประเมนิ ผล

การเรยี นรู้ของครูทุกคน พรอ้ มแจ้งผลใหค้ รปู รบั ปรงุ พัฒนาโดยเฉพาะการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรูอ้ ยา่ ง
ต่อเน่ือง นอกจากน้ี สถานศกึ ษาควรขอความร่วมมอื ไปยังผเู้ รยี นและผู้ปกครองสนบั สนุน สง่ เสริมกจิ กรรมทาง
วิชาการ การอ่านหนงั สอื และทางานท่ีครมู อบหมายให้กบั ผเู้ รยี นอยา่ งจริงจังและปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอ

๒) สถานศกึ ษาควรให้ครูท่รี ับการนิเทศภายใน บันทึกผลการนาข้อเสนอและจากการนิเทศไป
แกป้ ญั หาวา่ ได้ผลมากน้อยเพียงใด ลงในบันทกึ รายการรับการนิเทศเพื่อให้ผู้นิเทศทราบ จะทาให้การนเิ ทศภายใน
มีความตอ่ เนือ่ ง

๓. ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
๑) ครูควรใช้ผลประเมนิ หรือผลการทดสอบเพ่อื ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เชน่ การพัฒนา

สอื่ นวัตกรรมการเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกับสภาพปัญหาตามผลการประเมนิ หรอื ผลการทดสอบ การพัฒนา
กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปรับรูปแบบข้อทดสอบให้หลากหลายเทยี บเคยี งได้กบั แบบทดสอบ O-net
ของ สทศ. ให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึกทาแบบทดสอบเป็นระยะๆ ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

๑๒

๒) ครูควรพิจารณาปรับการจดั การเรียนรใู้ ห้สมดุลระหว่างภาคปฏิบตั แิ ละภาคความรเู้ ชงิ ทฤษฏี
หมั่นทดสอบเป็นระยะๆ ปรบั รปู แบบการวัดผล ประเมนิ ผลให้ตรงตามตัวบง่ ชี้ มาตรฐานของกลมุ่ สาระการเรียนรู้
หรอื ปรับรูปแบบข้อทดสอบใหห้ ลากหลายเทียบเคียงไดก้ ับแบบทดสอบ O-net ของ สทศ.

นวตั กรรมหรอื ตัวอยำ่ งกำรปฏบิ ัตทิ ด่ี ี (Good Practice) ของสถำนศึกษำทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ สงั คม
การสอนคณิตศาสตรโ์ ดยใช้โปรแกรม Gsp (Geometer is Sketehpad ) ทาให้สามารถเรยี นรู้

คณติ ศาสตรจ์ ากนามธรรม เกดิ ความเข้าใจง่ายขน้ึ และจดจาได้นาน ผู้เรียนเรยี นรอู้ ย่างสนุกสนานไม่เบ่อื จาก
การเรียนรู้ได้ ๒ แนวทาง คือ

๑. ครูแสดงการใช้ Gsp ได้ศึกษาเรยี นรผู้ ่านจอ Projecter
๒. ผู้เรยี นจบั คู่กนั ฝกึ และศึกษาเน้ือหาคณิตศาสตร์โดยใช้ Program GSP
สถานศกึ ษาได้จัดทาโครงการ/กิจกรรม
- โครงการพัฒนางานแนะแนว
- โครงการพฒั นางานสง่ เสรมิ วชิ าการ
- โครงการพฒั นางานบคุ ลากร
- โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ

๑๓

ส่วนท่ี ๒
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน
ระดบั คณุ ภาพ : ดี
๑. กระบวนการพัฒนา

โรงเรยี นท่าบอ่ มกี ระบวนการพัฒนาผเู้ รียนด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย ครผู สู้ อนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้
เป็นไปตามศกั ยภาพของผู้เรยี น ยึดผ้เู รยี นเปน็ สาคัญและเป็นไปตามมาตรฐานและตวั ชีว้ ัดของหลกั สูตร มกี าร
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับผูเ้ รียนเพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายการจัดการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑
โดยมกี ารจดั การเรยี นรูท้ ง้ั รปู แบบการระดมสมอง แบบลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ แบบรว่ มมอื กนั เรยี นรู้ แบบใช้กระบวนการ
คิด กระบวนการแกป้ ญั หา และเน้นเรือ่ งการอ่านออกเขยี นได้ของผเู้ รียนเปน็ เร่อื งสาคัญที่สดุ การพัฒนาครทู กุ คน
ให้มคี วามสามารถในการนาเทคนคิ วิธีการสอนแบบใหม่ และวิธีการจดั การเรียนร้ทู ห่ี ลากหลายรูปแบบให้ตรงตาม
ศักยภาพของผเู้ รียน จัดการเรยี นการสอนแบบสะเต็มศกึ ษา (STEM : Science Technology Engineering and
Mathematics Educations) ในกลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ และกลุ่ม
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ใช้สือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน มแี หลง่ เรยี นรูท้ ่ี
หลากหลายทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น

นอกจากน้ี โรงเรียนทา่ บอ่ ได้มีการดาเนนิ การเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิตของผู้เรยี น เพ่ือให้ผูเ้ รยี นอยูใ่ นสังคม
ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ เน้นการพฒั นาด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ท่เี หมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยการจัดชัว่ โมงอบรม
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมทุกวนั ศกุ ร์ให้กบั นกั เรียน การจัดอบรมคา่ ยคุณธรรม จดั กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ แนะแนวอาชีพให้กบั นกั เรียน ครผู สู้ อนได้
บูรณาการด้านคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอน เนน้ ให้ผูเ้ รยี นมีระเบยี บวินยั ซื่อสัตย์ มีความ
รบั ผดิ ชอบ รกั ษาสงิ่ แวดล้อม รักษาความสะอาด และการมีจติ สาธารณะ มรี ะบบการแนะแนวและการดแู ล
สุขภาวะจติ จดั กจิ กรรมการออกเยีย่ มบ้านนกั เรยี น เพอ่ื นาขอ้ มูลนักเรียนเขา้ สรู่ ะบบชว่ ยเหลือนักเรียน การนา
ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ มาร่วมกนั วางแผนพัฒนาการจดั การเรียนการสอน และจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนให้มกี ารเรยี นรทู้ ่ี
หลากหลาย เป็นตน้

๒. ผลการดาเนนิ งาน
ในด้านผลการประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ ผเู้ รียนสามารถอ่านออก และอา่ นคลอ่ งตามมาตรฐาน

การอ่านในแต่ละระดบั ช้นั สามารถเขียนสื่อสารไดด้ ี รจู้ ักการวางแผนในการทางานร่วมกับผ้อู ่ืนได้ดีตามหลัก
ประชาธปิ ไตย กลา้ คิด กล้าแสดงออกและแสดงความคิดเหน็ หรอื วพิ ากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ ผ้เู รยี นสามารถใช้
เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลตา่ งๆ ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะไดว้ า่ ส่ิงไหนดี สาคัญ
จาเป็น รวมทั้งรูเ้ ท่าทนั ส่ือและสงั คมที่เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ผูเ้ รียนร้แู ละตระหนกั ถงึ โทษและพษิ ภัยของส่งิ
เสพตดิ ต่างๆ สามารถเลอื กรับประทานอาหารท่ีสะอาด มีประโยชนแ์ ละถกู สขุ ลกั ษณะ รักการออกกาลงั กาย และ
เล่นกีฬา ผเู้ รยี นทุกคนสามารถเลน่ กฬี าได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรบั ในกฎกตกิ าของกลมุ่ ของสถานศกึ ษา
ของสังคม มีทศั นคติทด่ี ีตอ่ อาชีพสุจริต รวมถงึ มีความเขา้ ใจเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวยั
ทง้ั นี้ มผี ลการดาเนินงานเชิงประจักษจ์ ากการประเมินในดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้

๑๔

ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รียน

ประเด็น ผลการประเมิน
๑. ความสามารถในการอ่าน
การเขยี น การสอื่ สารและ รอ้ ยละของจานวนนกั เรียนทมี่ ผี ลการประเมินความสามารถในการอา่ น
การคดิ คานวณตามเกณฑ์ คิดวเิ คราะห์ และเขยี นสื่อความ ชนั้ ม.๑-๖ จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ของแตล่ ะระดบั
ผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน
(.....) ระดับดเี ย่ียม คดิ วิเคราะห์ และเขียนสอ่ื ความ ชนั้ ม.๑-๖
() ระดบั ดี
(.....) ระดบั พอใช้ ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดเี ยี่ยม
(…..) ระดับปรบั ปรงุ
ม.๖ 25.00 75.00

ม.๕ 35.91 64.09

ม.๔ 46.1053.90

ม.๓ 44.62 55.38

ม.๒ 37.84 62.16

ม.๑ 5500..0000

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

ประเดน็ ผลการประเมิน

๒. ความสามารถในการคิด ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการสอื่ สารคิดคานวณ
วเิ คราะห์คดิ อย่างมี และคดิ วเิ คราะห์ ช้ัน ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ
วจิ ารณญาณ อภปิ ราย
แลกเปล่ยี นความคิดเห็น ม.๖ ความสามารถในการส่อื สารคดิ คานวณ 86.08
และแก้ปัญหา ม.๕ และคิดวิเคราะห์ ชัน้ ม.๑ – ม.๖ 77.06
(......) ระดบั ดีเยยี่ ม ม.๔
() ระดับดี ม.๓ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีเยยี่ ม 81.21
(......) ระดับพอใช้ ม.๒ 13.92 75.34
(......) ระดบั ปรับปรงุ ม.๑
22.94
0.00 18.79

24.66 48.03
17.88 51.97

82.12

20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

๑๕

ประเด็น ผลการประเมิน
๓. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
และพฒั นาการจากผล รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน(O-NET)
การสอบวัดระดับชาติ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓

(......) ระดับดีเย่ยี ม ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้นั พ้นื ฐำน(O-NET)
( ) ระดับดี
(......) ระดบั พอใช้ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ ๓
(…...) ระดบั ปรับปรงุ
๖๐.๐๐

๔๘.๗๕
๔๘.๗๗ ๔๘.๒๙
๕๐.๐๐ ๔๕.๗๔

๔๐.๐๐ ๒๔.๐๒๖๖.๕๕ ๓๑.๐๐๓๒.๔๓๗๐.๗๓๘๒.๒๘ ๒๙.๔๓๕๐.๑๒๔๘.๖๓๙๐.๔๕
๓๐.๐๐ ๒๖.๓๐
๒๐.๐๐ ๒๓.๑๗

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณติ ศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ
ภำษำไทย

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ.

คะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวัด คะแนนเฉลี่ย ระดบั ประเทศ

รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน
(O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ม.๖

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖

๖๐.๐๐

๕๐.๐๐ ๔๕.๐๔๘๕.๗๕๘๐.๐๔๗๙.๒๕

๔๐.๐๐ ๒๑.๗๒๓๐.๒๘๔๕.๖๔๒๔.๕๒๓๖.๙๒๐๗.๑๒๑๙.๔๘๒๙.๓๓๖๑๓.๐๑๖.๙๙๓๔.๙๖๓๔๒.๗๔๐๒.๙๔๙.๘๙๒๗.๙๒๑๘.๓๑
๓๐.๐๐
๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐

ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ สังคมศึกษำ ภำษำอังกฤษ

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี น คะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวัด
คะแนนเฉลย่ี ระดับสังกัด สพฐ. คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

๑๖

ประเด็น ผลการประเมนิ
๔. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและ รอ้ ยละของจานวนนักเรยี นที่มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
การส่ือสาร ชัน้ ม.๑ - ม.๖ จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

() ระดับดีเย่ียม 100 ๘๘.๐๗ ๙๐.๐๙ ๙๒.๕๖ ๙๒.๓๖ ๙๒.๖๖ ๙๓.๕๐
( ....) ระดบั ดี 90
(......) ระดบั พอใช้
(......) ระดบั ปรบั ปรงุ 80

70

60

50

40

30

20 ๙.๗๘ ๖.๓๑ ๕.๕๓ ๔.๗๗ ๕.๕๐ ๔.๒๒.๔๒๐๖
10 ๒.๑๐๕ ๓.๖๐๐ ๑.๙๑๐ ๒.๘๐๗ ๑.๘๐๔
0

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ดีเยยี่ ม ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ประเดน็ ผลการประเมนิ
๕. ความพรอ้ มในการศกึ ษา
ต่อ การฝกึ งานหรอื การ ร้อยละของจานวนนักเรยี นที่ศึกษาตอ่ ทางาน ภายหลงั จบการศึกษา
ทางาน ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓

( ) ระดบั ดเี ยีย่ ม ควำมพรอ้ มในกำรศกึ ษำต่อ กำรฝึกงำนหรอื กำรทำงำน
(.......) ระดบั ดี
(.......) ระดบั พอใช้ ๐.๕๘% ต่อสายสามญั
(.......) ระดบั ปรับปรงุ ๒๑.๑๘% ต่อสายอาชีพ
ทางาน

๗๘.๒๔%

ประเดน็ ๑๗

ผลการประเมิน
ร้อยละของจานวนนกั เรียนที่ศึกษาตอ่ ทางาน ภายหลงั จบการศึกษา

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖

ควำมพร้อมในกำรศึกษำตอ่ กำรฝึกงำนหรือกำรทำงำน

๖.๗๘% ๕.๖๕% ตอ่ ป.ตรี
๘๗.๕๗% ตอ่ สำยอำชีพ
ทำงำน

คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น

ประเดน็ ผลการประเมนิ
คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
ของผเู้ รยี น ร้อยละของจานวนนกั เรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรมอบรมคุณธรรม จริยธรรม
ชน้ั ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดับคณุ ภาพ
( ) ระดับดีเยยี่ ม
(.......) ระดบั ดี จานวนนกั เรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรมอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
(.......) ระดบั พอใช้
(.......) ระดับปรบั ปรุง 100.00 99.25

98.00 97.24 96.52

96.00 94.85

94.00 92.48
92.00 90.10
90.00

88.00

86.00

84.00
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

๑๘

ประเดน็ ผลการประเมนิ
ประเด็น
ร้อยละของจานวนนักเรียนท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรมรณรงค์ตอ่ ต้านยาเสพตดิ
ชั้น ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ

100.00 จานวนนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ตอ่ ตา้ นยาเสพติด
90.00
80.00 99.05 98.45 98.68 99.02 98.07 99.12
70.00
60.00 ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00

ผลการประเมิน

รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมินการมีส่วนรว่ ม
ในการอนุรักษธ์ รรมชาติ ชั้น ม.๑ - ม.๖

ผลการประเมินการมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษธ์ รรมชาติ

ม.๖ 20.00 40.00 60.00 88.70
ม.๕ 88.07
ม.๔
ม.๓ 93.95
ม.๒ 94.84
ม.๑ 94.59
94.32
0.00 80.00 100.00

๑๙

ประเด็น ผลการประเมิน

รอ้ ยละของนกั เรยี นทีม่ ีผลการประเมินด้านความมรี ะเบียบวินยั และ
รกั ความเปน็ ไทยชั้น ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

100.00 ผลการประเมนิ ด้านความมีระเบยี บวินัยและรักความเป็นไทย
90.00 ช้นั ม.๑ –ม.๖
80.00
70.00 88.45 86.71 83.20 84.39 83.18 83.05
60.00
50.00 11.55 13.29 16.80 15.61 16.82 16.95
40.00
30.00 ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
20.00 ดเี ยยี่ ม ดี พอใช้ ปรับปรุง
10.00
0.00

๓. จดุ เดน่
ผูเ้ รยี นอ่านหนังสือออกและอา่ นคล่อง รวมท้ังสามารถเขยี นเพอ่ื การสอ่ื สารได้ทกุ คน สามารถใช้เทคโนโลยี

ในการแสวงหาความร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี มีคะแนนผล
การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เพม่ิ ขึ้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และผลคะแนน(O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เพม่ิ ข้ึน ในกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์และกลมุ่
สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

ผ้เู รียนมสี ุขภาพร่างกายแขง็ แรง มีสมรรถภาพทางกายและนา้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ รกั ในเลน่ กฬี า
การออกกาลังกาย หา่ งไกลยาเสพตดิ มีระเบยี บวินยั รกั ความเปน็ ไทยในระดบั ดีเยีย่ ม รักความสะอาด มีสมั มา
คารวะ จนเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา เป็นทย่ี อมรับของชุมชนโดยรอบในเรอ่ื งกริ ยิ ามารยาท ไดแ้ ก่ การไหว้

๔. จุดควรพัฒนา
ผู้เรียนในระดับชน้ั ม.๑ – ม.๖ ยงั ตอ้ งเรง่ พัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและ

การคิดคานวณ และต้องพัฒนาความสามารถในการคดิ วเิ คราะหค์ ดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ น
ความคดิ เห็น และแก้ปัญหาให้มากยิ่งข้ึน และผลการสอบวดั ความรู้ระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ในกลมุ่ สาระที่
ยังมผี ลการประเมนิ ตา่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน

๒๐

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
ระดับคุณภาพ : ดเี ย่ียม

๑. วิธดี าเนนิ การและผลการพัฒนา
โรงเรียนไดด้ าเนินการวิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัดการศกึ ษาทีผ่ ่านมา โดยการศึกษาขอ้ มูล

สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศกึ ษาตามนโยบายการปฏิรปู การศึกษา และจัดประชมุ
ระดมความคดิ เหน็ เพ่ือแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ จากบุคลากรในสถานศกึ ษาเพือ่ วางแผนรว่ มกันกาหนดเป้าหมาย ปรับ
วิสัยทศั น์ กาหนดพนั ธกจิ กลยุทธ์ ปรบั ปรงุ หลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สตู รของแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ ใน
การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น มีการปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏบิ ัติ
การประจาปี ให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา มกี ารจดั
สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางสังคม พัฒนาแหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียนท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้
พรอ้ มท้ังจดั หาทรพั ยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ ้รู ับผดิ ชอบดาเนินการพฒั นาตามแผนงานเพื่อให้
บรรลเุ ป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ส่งเสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรได้มีการพฒั นาตนเองให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ มี
การดาเนนิ การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน และสรปุ ผลการดาเนินงาน

๒. ผลการพฒั นา
๑. สถานศกึ ษามีการกาหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาความตอ้ งการ

พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ตรงกบั ความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถ่นิ และสอดคลอ้ งกับ
แนวทางการปฏิรปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม มีการส่งเสริมพฒั นาครแู ละบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาให้มีความรคู้ วามสามารถ มีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่ มี
การบริหารจดั การข้อมูลสารสนเทศให้มคี วามทันสมยั ถูกตอ้ ง ครบถว้ น นาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ ดาเนินการอยา่ งเป็น
ระบบ และมีการจดั สภาพ แวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทกี่ ระตุ้นให้ผเู้ รียนเปน็ ผ้ใู ฝ่รู้ใฝเ่ รียน

๒. สถานศกึ ษามีแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี สอดคลอ้ งกบั การพฒั นา
ผ้เู รียนทกุ กลุ่ม เป้าหมาย ดาเนนิ การอย่างเปน็ รปู ธรรม มกี ารสง่ เสริมพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ ี
ความรคู้ วามสามารถ มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี และทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง มกี ารบริหารจดั การขอ้ มลู
สารสนเทศให้มีความทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน นาไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ดาเนินการอยา่ งเปน็ ระบบ และมกี ารจัดสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีกระตุน้ ให้ผู้เรยี นเป็นผใู้ ฝร่ ้ใู ฝเ่ รยี น

๓. สถานศึกษามีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพ กาหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ สอดคลอ้ งกบั
สภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศกึ ษา นโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา ตรงกับความตอ้ งการของชมุ ชน
ท้องถน่ิ และสอดคล้องกับแนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศึกษาชาติ ดาเนนิ การอย่างเป็นรปู ธรรม มกี ารสง่ เสริม
พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามรู้ความสามารถ มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพและทักษะตาม
มาตรฐานตาแหน่ง มีการบริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศใหม้ ีความทันสมยั ถกู ต้อง ครบถ้วน นาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้
ดาเนนิ การอย่างเปน็ ระบบ และมีการจัดสภาพ แวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่กี ระต้นุ ใหผ้ เู้ รียนเป็นผใู้ ฝร่ ใู้ ฝ่
เรียน สถานศกึ ษามีแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี สอดคล้องกบั การพัฒนาผ้เู รยี น
ทุกกล่มุ เป้าหมาย ดาเนินการอย่างเปน็ รปู ธรรม มีการส่งเสริมพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี วามรู้
ความสามารถ มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่ มีการบรหิ ารจัดการข้อมูล
สารสนเทศให้มีความทันสมยั ถูกต้อง ครบถว้ น นาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้ ดาเนินการอยา่ งเป็นระบบ และมีการจดั สภาพ
แวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นใหผ้ ้เู รียนเป็นผู้ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียนสถานศกึ ษามีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพ
การจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจาปี ใหส้ อดคล้องกบั สภาพปญั หา ความต้องการพฒั นา และนโยบาย
การปฏิรูปการศกึ ษา โดยมีสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และผ้เู กยี่ วข้องทุกฝา่ ยได้มีส่วนร่วมใน
การพัฒนาและรบั ผดิ ชอบ

๒๑

๔. ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่าย และเครือข่ายการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา มีสว่ นร่วมในการรว่ มวางแผนพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษา และรบั ทราบ รบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา เพือ่ ใหม้ ีคุณภาพและได้
มาตรฐาน

๕. สถานศกึ ษามกี ารนเิ ทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศกึ ษาที่

เหมาะสม เปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง มีการนิเทศการสอนของครผู ้สู อนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้
ผู้เกี่ยวขอ้ งมีส่วนรว่ มในกระบวนการนเิ ทศและมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

๖. สถานศกึ ษามีรปู แบบการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาเชิงระบบ โดยทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วม ยึดหลัก
ธรรมาภิบาล แนวคิดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมงุ่ พัฒนาผูเ้ รียนตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา

๗. สถานศึกษามีการระดมทรพั ยากรเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาจากเครือขา่ ยอุปถัมภ์ ส่งผลให้

สถานศึกษา มสี ่อื และแหลง่ เรยี นร้ทู ่มี ีคณุ ภาพ

วธิ กี ารพฒั นา ผลการพัฒนา

การพัฒนาบคุ ลากรทาง จำนวนครงั้ ทคี่ รูไดร้ ับกำรอบรมพฒั นำทำงวิชำชพี ภำคเรยี นท่ี ๑
การศึกษา
๕คน ; ๓.๖๒%

๙ คน ; ๖.๕๒% ยังไม่เคยรบั การพฒั นา
๓๐ คน ; ๒๑.๗๔% ๑ ครั้งต่อภาคเรียน
๒ คร้ังตอ่ ภาคเรียน
๙๔ คน ; ๖๘.๑๒% มากกว่า ๒ ครง้ั ตอ่ ภาคเรียน

จำนวนครง้ั ทีค่ รูได้รบั กำรอบรมพัฒนำทำงวิชำชีพ ภำคเรียนท่ี ๒

๑๕ คน ; ๑๐.๘๗% ยังไมเ่ คยรบั การพฒั นา
๒๓ คน ; ๑๖.๖๗% ๑ ครั้งต่อภาคเรยี น
๒ คร้ังตอ่ ภาคเรียน
๒๘ คน ; ๒๐.๒๙% มากกว่า ๒ คร้ังตอ่ ภาคเรียน

๗๒ คน ; ๕๒.๑๗%

วิธกี ารพฒั นา ๒๒

การมสี ว่ นร่วมของ ผลการพฒั นา
เครอื ข่ายในการวาง
แผนการพฒั นาคุณภาพ จำนวนเครอื ข่ำยเขำ้ มำมีสว่ นรว่ มในกำรวำงแผนพัฒนำคุณภำพกำรศกึ ษำ
การศกึ ษา ๐%

๒ แห่ง ; ๑ แหง่ ; ยังไมเ่ คยรับการพัฒนา
๓๕.๐๐% ๓๔.๕๐% ๑ ครงั้ ต่อภาคเรียน
๒ ครั้งตอ่ ภาคเรียน
มากกว่า ๒ คร้ังตอ่ ภาคเรยี น

๓ แห่ง ;
๓๐.๕๐%

การจัดหาทรพั ยากร ผู้บริหารได้ระดมทุนทรพั ยากรสาหรบั การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษาทงั้ ใน
รูปของงบประมาณ และบคุ คลท่เี ปน็ ภมู ิปญั ญาจากทอ้ งถ่นิ มาช่วยในการสนับสนุน
การเรียนการสอน

การนเิ ทศ กากับ ติดตาม รอ้ ยละของครูทีไ่ ด้รับการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม และประเมินผลจากผูบ้ ริหาร
และประเมินผล
100 ๑๐๐%

50 00

0
0

รอ้ ยละของครทู ไี่ ด้รับการนเิ ทศ กากับตดิ ตาม และประเมินผลจากผู้บรหิ าร

๒๓

๓. จดุ เด่น
โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใชเ้ ทคนิควิธกี ารประชุมท่ีหลากหลายวธิ ี

เชน่ การประชมุ แบบมีสว่ นรว่ ม การประชุมระดมสมอง การประชมุ กลุม่ เพอ่ื ให้ทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ มในการกาหนด
วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมายที่ชัดเจน มกี ารปรบั แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาปี
ท่ีสอดคลอ้ งกบั ผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนาและนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ครูผู้สอน
สามารถจัดการเรียนรไู้ ด้อยา่ งมคี ณุ ภาพ มกี ารดาเนนิ การนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมนิ ผล การดาเนินงาน และ
จัดทารายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรยี นไดใ้ ชก้ ระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมลู เพอื่ ใชเ้ ป็นฐานใน
การวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๔. จดุ ควรพฒั นา
๑. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื ของผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ งในการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนใหม้ คี วามเขม้ แข็ง มี

ส่วนร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการขับเคลอ่ื นคุณภาพการจัดการศึกษา
๒. เปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองนักเรยี นได้มสี ่วนร่วมในการเสนอความคดิ เหน็ ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา

ผเู้ รียน โดยการสง่ เสรมิ เครือขา่ ยผู้ปกครองนักเรยี นตามระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
ระดบั คุณภาพ : ดี
๑. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนไดด้ าเนนิ การสง่ เสรมิ ให้ครจู ดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญโดยการดาเนนิ งาน/
โครงการ /กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ โครงการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ
ทางวิชาการ โครงการพัฒนางานบคุ ลากร โครงการพฒั นาศนู ย์วฒั นธรรมโรงเรียนท่าบ่อ โครงการพัฒนาการเรียน
การสอนกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน โครงการฝึกอบรมหลกั สูตรนายหมู่ลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ โครงการพฒั นาการเรยี น
การสอนในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ โครงการค่ายคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ โครงการ
พธิ ีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ โครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ี โครงการส่งเสริมคุณธรรม โครงการสง่ เสริม
วัฒนธรรม ประเพณี และสง่ิ แวดลอ้ ม โครงการกจิ กรรมสง่ เสรมิ ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกียรติ โครงการแขง่ ขนั กีฬา
ภายใน โครงการค่ายภาษาอังกฤษ โครงการส่งเสริมการสอนภาษาอังกฤษเพ่อื เตรยี มความพรอ้ มสสู่ มาคมอาเซยี น
โครงการ TO BE NUMBER ONE เปน็ ตน้ มกี ารประชุมปฏบิ ตั กิ ารปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปรับโครงสร้าง
รายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ จัดกิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ กาหนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ใหส้ อดคล้องกับ
หน่วยการเรียนรู้ สนับสนนุ ใหค้ รจู ดั การเรยี นการสอนทสี่ ร้างโอกาสให้นักเรียนทกุ คนมสี ่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัตจิ รงิ
จนสรุปองค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทกั ษะ แสดงออก นาเสนอผลงาน คิดเป็น ทาเป็น
รักการอา่ น แสวงหาความรูจ้ ากสื่อ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเอง ครูใช้สอ่ื การเรยี นการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ จดั การเรียนการสอนท่สี ่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนมที กั ษะการคิด เชน่ การจดั การเรยี นรูด้ ว้ ยโครงงาน โดย
นกั เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท้ังภายใน แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรียนและภมู ิปัญญาท้องถ่ิน มกี ารตรวจสอบ
และประเมนิ ความรู้ความเข้าใจของผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพ นกั เรยี น ผ้ปู กครองสามารถ
ตรวจสอบผลการประเมนิ ได้ด้วยตนเองและครทู กุ คนทางานวจิ ยั ในช้ันเรียนปกี ารศกึ ษาละ ๑ เรอื่ ง

๒๔

๒. ผลการดาเนินงาน
จากการดาเนนิ งาน/ โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลายของสถานศึกษาเพือ่ พฒั นาครูให้มีกระบวนการ

จัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั สง่ ผลให้ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการวเิ คราะหต์ นเอง กาหนดเน้อื หาสาระ
มกี ิจกรรมท่สี อดคล้องกับความสนใจและความถนัดเป็นรายบุคคลอย่างเป็นรูปธรรมทง้ั ระบบ ผเู้ รียนได้เรียนรูโ้ ดย
ผา่ นกระบวนการคดิ ได้ลงมือปฏบิ ตั จิ ริงด้วยตนเอง กล้าคิด กลา้ แสดงออก สามารถวางแผนการทางาน การ
แสวงหาความร้จู ากสอื่ เทคโนโลยีไดด้ ว้ ยตนเอง และมีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สือ่ การเรยี นรู้
ส่งิ อานวยความสะดวกทเี่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ สถานศึกษาจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการให้ผ้เู รียนได้เรียนรูท้ ้งั
แหลง่ เรยี นรภู้ ายในและแหล่งเรียนรู้ภายนอกทมี่ อี ยู่ในทอ้ งถนิ่ ชุมชนไดม้ ีส่วนร่วมในการแสวงหาความรขู้ องผ้เู รยี น
มีวทิ ยากรทอ้ งถน่ิ หนว่ ยงาน องค์กรตา่ งๆ ได้ใหค้ วามรว่ มมือในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน สถานศึกษามี
ระบบการวัดและประเมินความรคู้ วามเข้าใจ ประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู้ของผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ มี
ประสิทธภิ าพ ครูใช้วธิ กี ารประเมนิ ผเู้ รียนทห่ี ลากหลาย และประเมนิ จากสภาพจริง มขี ้ันตอนการตรวจสอบและ
ประเมนิ อย่างเปน็ ระบบนักเรยี นและผปู้ กครองสามารถเขา้ ระบบตรวจสอบผลการประเมินไดด้ ว้ ยตนเอง

๓. จุดเด่น
๑. ครทู ุกคนมคี วามต้งั ใจ มุ่งม่นั ในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนอย่างเตม็ เวลาและความสามารถ
๒. ครจู ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีสร้างโอกาสให้ผู้เรียนทกุ คนมสี ว่ นร่วม เรียนรดู้ ้วยการคดิ ได้ลงมอื

ปฏบิ ตั จิ ริงด้วยวิธกี ารและแหล่งการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย
๓. ครใู หน้ กั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศ จดั สภาพแวดลอ้ มท่เี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้
๔. ครูจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนแสวงหาความรจู้ ากสอ่ื เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนื่อง โดยบูรณาการ

สาระการเรยี นรูแ้ ละทักษะด้านต่างๆ
๕. สถานศกึ ษาจัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ และนาเสนอผลงานตามความ

ถนัด และความรคู้ วามสามารถของผ้เู รยี น

๔. จุดควรพัฒนา
๑. ส่งเสรมิ ให้ครูจัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรู้โดยใช้กระบวนการวจิ ยั อย่างเปน็ รูปธรรมและ

ต่อเน่อื ง
๒. ควรใหข้ อ้ มูลย้อนกลับแกน่ ักเรยี นทนั ทีเพอื่ ใหน้ ักเรียนนาไปใช้พฒั นาตนเอง
๓. ควรนาภูมิปัญญาท้องถ่นิ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้

มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสทิ ธผิ ล
ระดบั คุณภาพ : ดีเยีย่ ม
๑. กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนดาเนินการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ๘ ประการ ไดแ้ ก่
๑) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒) จดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษาทม่ี ุ่งเนน้ คณุ ภาพตามมาตรฐาน
๓) จัดการ และบริหารขอ้ มลู สารสนเทศอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยชี ว่ ยในการเกบ็ ขอ้ มูล วเิ คราะห์
ข้อมูลเปน็ สารสนเทศทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน
๔) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา
๕) ดาเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
๖) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา

๒๕

๗) จดั ทารายงานประจาปีทีเ่ สนอผลการประเมนิ คุณภาพภายใน
๘) โรงเรียนดาเนนิ การพฒั นาคุณภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยจดั ประชมุ คณะครู ผปู้ กครอง คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา นาเสนอผลการดาเนนิ งานรายงานประจาปีของสถาน ศกึ ษาในปีการศกึ ษาทผี่ ่านมา วเิ คราะห์ผล
การประเมนิ คณุ ภาพภายในจากรายงานประจาปขี องปีการศึกษาทีผ่ ่านมา วิเคราะห์จดุ เด่น จดุ ท่ีควรพัฒนา และ
จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปตี ามจุดท่ีควรพฒั นา ประกอบดว้ ย โครงการ/กิจกรรมทีจ่ ะพัฒนา คณุ ภาพตาม
มาตรฐานของสถานศึกษา โดยเนน้ ท่ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา ปฏิบตั ิหน้าที่ติดตามตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ครู
ประเมินตนเองรายบคุ คลตามแผนพฒั นาท่ีตนเองกาหนดไว้และครจู ดั ทารายงานการประเมินตนเองปกี ารศกึ ษาละ
๑ คร้ัง คณะกรรมการประกนั คุณภาพของโรงเรยี นประเมินการดาเนินงานตามมาตรฐานและสรุปผลการ
ดาเนนิ งานเพือ่ พัฒนาปรบั ปรุงตลอดปีการศึกษา ติดตามการประเมนิ โครงการและกิจกรรม สรปุ ผลการดาเนินงาน
ปรับปรงุ การทางานอย่างมสี ่วนรว่ มของทกุ ฝา่ ย ผู้เก่ียวข้องทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วมในการวางระบบและดาเนินงาน
ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

๒. ผลการดาเนนิ งาน
โรงเรียนมกี ารดาเนินงานประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ

ส่งผลต่อคุณภาพผเู้ รยี นอย่างเปน็ รปู ธรรม ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน มีระดบั คุณภาพดี ผูป้ กครอง
คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน มคี วามมน่ั ใจต่อระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถาน ศกึ ษาใน
การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาอยใู่ นระดบั ดี

๓. จุดเดน่
โรงเรยี นให้ความสาคัญกบั การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา เนน้ การสรา้ งความ

เขา้ ใจและให้ความรู้ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษากบั คณะครู บุคลากรทกุ ฝ่ายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เป็นประโยชน์ใน
การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา การดาเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนรว่ ม ดาเนินการใน
รูปของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาใหก้ ับบุคคลทเี่ กย่ี วข้องทกุ ระดบั
ครูมีความมงุ่ ม่นั กระตอื รอื ร้น และใหค้ วามรว่ มมอื ท่ดี ีในการดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในของโรงเรียน

๔. จดุ ควรพฒั นา
-

๒๖

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยใู่ นระดับ ดี
จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมตา่ งๆ สง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

ประสบผลสาเรจ็ ตามท่ีตั้งเปา้ หมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปว่าไดร้ ะดบั ดี ท้ังน้เี พราะ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผูเ้ รยี น อยู่ในระดบั ดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผ้บู รหิ าร
สถานศกึ ษา อยใู่ นระดบั ดีเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ อยู่ใน
ระดับดี มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกนั คุณภาพภายในทม่ี ปี ระสิทธิผล อย่ใู นระดบั ดีเย่ยี ม ท้งั น้ี สถานศึกษามี
การจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนอยา่ งหลากหลายที่เปน็ ไปตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตามสภาพของ
ผเู้ รียน สอดคลอ้ งกับจุดเนน้ ของสถานศึกษาและสภาพของชมุ ชนท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นอย่ใู น
ระดับดี พัฒนาการของคา่ เฉล่ียผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เพิม่ ข้ึนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และผลคะแนน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เพม่ิ ขึน้ ในกลุม่ สาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอ่านและการเขียน การ
สอ่ื สารทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
ได้ดี และมคี วามประพฤติดา้ นคุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยมและคณุ ลกั ษณะตามท่สี ถานศึกษากาหนดปรากฏอยา่ ง
ชัดเจน ดังท่ีปรากฏผลการประเมนิ ในมาตรฐานท่ี ๑ ในมาตรฐานที่ ๒

ในดา้ นกระบวนการบริหารจดั การของผู้บริหารสถานศึกษามผี ลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดบั
ดเี ย่ียม สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดาเนนิ งานตามแผนทีเ่ กิดจากการมสี ว่ นร่วม ใช้ผลการ
ประเมนิ และการดาเนนิ งานทีผ่ ่านมาเปน็ ฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกบั เป้าหมายการพฒั นา ตรวจสอบผล
การดาเนินงาน และการปรบั ปรงุ แก้ไขงานให้ดขี นึ้ อยา่ งต่อเนือ่ ง ครจู ดั กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็
สาคัญ มีผลประเมินอยใู่ นระดบั ดี ครสู ามารถวเิ คราะห์ ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่เี ปน็ ไปตามความ
ต้องการของหลักสตู ร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้ สรา้ งส่อื การเรียนรู้ นวตั กรรมใหม่
ติดตาม ตรวจสอบช่วยเหลอื นกั เรียนเพอ่ื พฒั นาและแก้ปัญหารายบคุ คล จัดกจิ กรรมแนะแนว การบรกิ ารให้
คาปรึกษาให้ผู้เรยี นได้รู้จักตนเองในการวางแผนการศกึ ษาต่อ การทางาน และการประเมินผลจากสภาพจรงิ ทกุ
ขน้ั ตอน สถานศกึ ษาดาเนินงานตามระบบการประกนั คณุ ภาพภายในอยา่ งเปน็ ขั้นตอน จนเกดิ คุณภาพ
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลจนมีผลประเมินอย่ใู นระดับดีเยย่ี ม โดยสถานศกึ ษาให้ความสาคัญกับผ้เู กี่ยวข้องทกุ
ฝ่ายเพือ่ ให้เกิดความรว่ มมือในการวางระบบและดาเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอยา่ งดี และ
ผู้มสี ่วนเก่ียวข้องมคี วามม่นั ใจต่อระบบการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดับสงู

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
๑. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นการพฒั นาผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คลใหช้ ัดเจนขน้ึ
๒. การส่งเสรมิ ให้ครเู ห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรโู้ ดยเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั การจดั ทาการวิจยั ใน

ชั้นเรียนเพือ่ พฒั นาผ้เู รียนใหส้ ามารถเรียนรู้ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ
๓. การพฒั นาบุคลากรโดยสง่ เขา้ รบั การอบรม แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ติดตามผล

การนาไปใช้และผลที่เกดิ กับผ้เู รยี นอยา่ งต่อเนื่อง
๔. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสงั คมแห่งการเรยี นรูข้ องชุมชน

๒๗

ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื
๑. การพฒั นาครผู ูส้ อนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกบั การพฒั นาผู้เรยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรตู้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET และ PISA
๓. การจัดสรรครูผู้สอนให้ตรงตามวิชาเอกท่โี รงเรียนมีความตอ้ งการและจาเป็น

๒๘

บรรณานุกรม

สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน). พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษา

แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพฯ : พรกิ หวาน
กราฟฟคิ , ๒๕๔๗.
สานกั ทดสอบทางการศึกษา. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน. การจดั ทารายงานประจาปี

ของสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย

จากัด, ๒๕๕๔.
_______. การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง

ว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั , ๒๕๕๔.
_______. คมู่ อื การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานเพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของ

สถานศึกษา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน. ๒๕๕๙
_______. แนวทางการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพ

ภายในของสถานศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ, ๒๕๕๔.

_______. แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง
วา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ :

โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๔.
_______. แนวทางการเขยี นรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report :

SAR). ๒๕๕๙

๒๙

ภาคผนวก

๓๐

คณะกรรมการจดั ทาเอกสารรายงาน
การประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR)

๑. นายสมพงษ์ โสภิณ ประธานกรรมการ
๒. นายไพฑูรย์ เช้อื เมือง รองประธานกรรมการ
๓. นายรุ่งโรจน์ ตณั ฑรัตน์ กรรมการ
๔. นางเพ็ญสิริ บญุ ยืน กรรมการ
๕. นายภราดร หนูภกั ดี กรรมการ
๖. นางสาวศิวรรณ อะวะตา กรรมการ
๗. นางสาวกวนิ ตรา โลกานิตย์ กรรมการ
๘. นายวสนั ต์ พินิจมนตรี กรรมการ
๙. นายธรรมนูญ ผา่ นสาแดง กรรมการ
๑๐. นางกนกอร ทิพยโสต กรรมการ
๑๑. นางสาวญาฐษิ ตา วงศก์ อ่ กรรมการและเลขานกุ าร
๑๒. นางปนดั ดา เนินนิล กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

๓๑

ท่ี ๖๑ / ๒๕๖๑
เรือ่ ง เรอ่ื ง แต่งตงั้ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา สาหรบั จดั ทารายงานผลการประเมินตนเอง

(Self Assessment Report : SAR) และรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก
..............................................................................................................

ด้วยโรงเรยี นท่าบอ่ จะดาเนนิ การจดั ทารายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา

๒๕๖๐ เพื่อใหก้ ารดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงค์ จงึ อาศัยอานาจตามความใน

มาตรา ๓๗ แห่งพระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงขอแต่งตัง้

คณะกรรมการจดั ทารายงานประจาปีของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เป็นคณะกรรมการ

ดาเนินงาน ดังนี้

1. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบดว้ ย

๑.๑ ผอู้ านวยการโรงเรยี นท่าบ่อ ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๑.๒ นายรงุ่ โรจน์ ตณั ฑรัตน์ กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
๑.๓ นายไพฑรู ย์ เช้ือเมอื ง กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
๑.๔ นางเพ็ญสิริ บญุ ยืน
ประธานกรรมการ
๑.๕ นางสาวญาฐิษตา วงศ์กอ่ รองประธานกรรมการ
กรรมการ
๑.๖ นางปนัดดา เนนิ นิล กรรมการ
กรรมการ
๒. คณะกรรมการดาเนนิ งาน ประกอบดว้ ย กรรมการ
กรรมการ
๒.๑ นางเพญ็ สริ ิ บญุ ยนื กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
๒.๒ นายรงุ่ โรจน์ ตณั ฑรตั น์ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

๒.๓ นายไพฑูรย์ เช้ือเมือง

๒.๔ นางไพจิตร สขุ เกษม

๒.๖ นายธรรมนูญ ผา่ นสาแดง

๒.๗ นายวสันต์ พนิ ิจมนตรี

๒.๘ นางสาวศิวรรณ อะวะตา

๒.๙ นางสาวอบุ ล ชูรัตน์

๒.๙ นางสาวญาฐิษตา วงศก์ อ่

๒.๑๐ นางปนดั ดา เนนิ นิล

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรยี น
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น

๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การส่อื สาร และการคดิ คานวณตามเกณฑข์ องแตล่ ะ
ระดบั ชั้น
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และ
แก้ปัญหา

๓๒

๒) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร
๓) ความก้าวหน้าทางการเรยี นตามหลักสตู ร
๔) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดบั ชาติ
๕) ความพรอ้ มในการศกึ ษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน

๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน
๑) มคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดตี ามท่สี ถานศกึ ษากาหนด โดยไมข่ ัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรม
อนั ดีของสังคม
๒) ความภมู ใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
๓) ยอมรับทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและความหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และลักษณะจิตสังคม

๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน

๑) ความสามารถในการอา่ น เขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชน้ั

ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็นและ

แกป้ ัญหา

กรรมการประกอบด้วย

1. นางสาวสวุ มิ ล โพธ์ศิ ริ ิ ประธานกรรมการ

2. นายทรงเจิม กองอุดม รองประธานกรรมการ

3. นางกรรณกิ า คาทะริ กรรมการ

4. นางสาวอมรรตั น์ สินไชย กรรมการ

5. นางอนันต์ ศรโี คตร กรรมการ

6. นางสาวศิรพิ ร เถอื กคา กรรมการ

7. นางสาวขวัญหทยั โคธิเสน กรรมการ

8. นายสทิ ธิโชค ประเสรฐิ ศรี กรรมการ

9. นางสาววัฒนารมย์ พรหมมา กรรมการและเลขานุการ

10.นางสาววัชราภรณ์ คนยนื กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น

๒) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นายสุวิทย์ ดวงดี ประธานกรรมการ

๒. นายนพพร ศรีทองอนิ ทร์ รองประธานกรรมการ

๓. นางมะลิ พอ่ ค้าช้าง กรรมการ

๔. นางเกษแก้ว หนูภักดี กรรมการ

๕. นายสนั ติ แซงบุญเรือง กรรมการ

๖. นายสุทธศิ กั ดิ์ บัวจาน กรรมการ

๗. นางสาวธิดาวรรณ ไกรจูมพล กรรมการ

๘. นายธนกฤต ก้อนตะ๊ เสน กรรมการ

๓๓

๙. นายอุเทน ทนทาน กรรมการและเลขานกุ าร
๑๐. นางสาวจุฑารตั น์ พรมมา กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รียน

๓) ความก้าวหน้าทางการเรยี นตามหลักสตู ร

๔) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นางไพจติ ร สุขเกษม ประธานกรรมการ

๒. ว่าที่ ร.ต.สมประสงค์ บุญวงศ์ รองประธานกรรมการ

๓. หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯทุกกล่มุ สาระฯ กรรมการ

๔. นายตรภี พ นามบุปผา กรรมการ

๕. นายวสันต์ พนิ ิจมนตรี กรรมการ

๖. นายธนากร สีขาว กรรมการ

๗. นางสาวเจนจิรา แสงนา กรรมการ

๘. นางสาวปยิ ะธดิ า นาใต้ กรรมการ

๙. นางสาวอบุ ล ชูรัตน์ กรรมการและเลขานุการ

๑๐. นางจาตพุ ร เลพล กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี น

๕) ความพรอ้ มในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรอื การทางาน

กรรมการประกอบด้วย

๑. นางรัชนก สบุ นิ ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๒. นายณฐั วตั ิ พงษเ์ ผา่ กรรมการ

๓. นายเชาวรตั น์ ศรีชมภู กรรมการ
กรรมการ
๔. นางวรัทยา มาร์เมท
กรรมการ
๕. นายธีรพงษ์ เครอื แก้ว กรรมการ
กรรมการ
๖. นายนฐั ธกิ ร สวุ ัฒนะ
กรรมการและเลขานกุ าร
๗. นางสาวภัทรา เทพมงคล กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

๘. นางกฤติยา จงรักษ์

๙. นางสาวณัฐริยา วงศ์โยธา

๑๐.นายอภิวัฒน์ โกสิลา

๑.๒ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น
๑) มีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามทสี่ ถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรม
อนั ดขี องสังคม
๒) ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย

๓) ยอมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและความหลากหลาย

๓๔

กรรมการประกอบด้วย นามราช ประธานกรรมการ
กรมวังก้อน รองประธานกรรมการ
๑. นายไฉน ขามรัตน์ กรรมการ
๒. นายพรหม
๓. นายเจษฎา ศรบี ุญ กรรมการ
ระวโิ รจน์ กรรมการ
๔. นางขนษิ ฐา
๕. นางสาวกรรณกิ าร์ ถาบตุ ร กรรมการ
คาพวง กรรมการ
๖. นายตรีเทพ จอมทอง กรรมการ
๗. นางสาวชบาไพร
๘. นายวิทยา สาระจันทร์ กรรมการและเลขานุการ
คาพาย กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
๙. นายพษิ ณุ
๑๐. นางสาววิภาดา

๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น

๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และลกั ษณะจิตสังคม

กรรมการประกอบด้วย

๑. นายนคิ ม เคหฐาน ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๒. นายสชุ ิน โพธิวทิ ย์ กรรมการ
กรรมการ
๓. นายสมสุข ศรเี มือง กรรมการ
กรรมการ
๔. นางประเสรฐิ ศรี ตณั ฑรัตน์ กรรมการ
กรรมการ
๕. นายนโิ รจน์ นมิ่ ววิ ัฒน์ กรรมการและเลขานกุ าร

๖. นายนนั ทภพ บุบพศิริ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

๗. นายเอกพงษ์ ดวงมาลา

๘. นายภมู อิ สิ รา ตรชี ติ

๙. นางสาวศิริญญา สุวัฒ

๑๐. นายภักดี วงษาเนาว์

มำตรฐำนด้ำนกระบวนกำรบริหำรจัดกำรของผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
๑. การมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์และพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากาหนดชัดเจน
๒. การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
๑) การวางแผนและดาเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย และดาเนนิ การอยา่ งเป็นรปู ธรรม
๒) การวางแผนและดาเนินงานพฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชย่ี วชาญทาง
วชิ าชีพ
๓) การวางแผนการบริหารและจัดการข้อมูลสารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ
๔) การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้อื ตอ่ การจัดการ
เรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ

๓๕

๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ย และการร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษาให้มี

คณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน
๔. การกากบั ตดิ ตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศกึ ษา

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

๑. การมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน

กรรมการประกอบดว้ ย

1. นางเพ็ญสริ ิ บญุ ยนื ประธานกรรมการ

2. นายคานงึ เลอ่ื นแก้ว รองประธานกรรมการ

3. หวั หน้ากลุ่มสาระทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ กรรมการ

4. หัวหนา้ กิจกรรมทุกกิจกรรม กรรมการ

5. นายเทพฤทธิ์ สดุ จริง กรรมการ

6. นางสาวธิติสุดา แกว้ หาญ กรรมการ

7. นายวชั ระ ปะตโิ ก กรรมการ

8. นางสาวมทั นา บวั เงนิ กรรมการ

9. นางกนกอร ทิพยโสต กรรมการและเลขานุการ

10. นางสาวอลศิ รา พิมพ์จาปา กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผ้บู ริหารสถานศึกษา

๒. การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

๑) การวางแผนและดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพของผู้เรยี นรอบดา้ นทุก

กลุ่มเปา้ หมาย และดาเนนิ การอยา่ งเป็นรปู ธรรม

๒) การวางแผนและดาเนนิ งานพัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง

วชิ าชพี

๓) การวางแผนการบริหารและจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ

๔) การวางแผนและจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อือ้ ต่อการจัดการ

เรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ

กรรมการประกอบดว้ ย

1. นางไพรินทร์ ลลี าคา ประธานกรรมการ

2. นางศริ ิลักษณ์ พจนสุนทร รองประธานกรรมการ

3. นางนิตยา ศรปี ระดิษฐ์ กรรมการ

4. นายจีรชยั แก้วผาบ กรรมการ

5. นางชฏาวัลย์ กาญจน์แก้ว กรรมการ

6. นางสาวชลธิชา บนุ นท์ กรรมการ

7. นางสาวมัทนา บัวเงิน กรรมการ

8. นางสาวพรศริ ิ ทองเพชร กรรมการ

9. นายนเรศ คาทวี กรรมการและเลขานกุ าร

10.นางสุภลักษณ์ ผิวนวล กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

๓๖

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

๓. การมีสว่ นร่วมของผเู้ กีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ย และการรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษาให้มี

คณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน

กรรมการประกอบดว้ ย

1. นางทองวัน เบ้าสงิ ห์สวย ประธานกรรมการ

2. นางสลบั ศรี ออ่ นฉลวย รองประธานกรรมการ

3. นางปัทมา โพธิวทิ ย์ กรรมการ

4. นางนนั ทรัตน์ เข็มอุทา กรรมการ

5. นางสาวเนอื งนติ ย์ สสี ะเทือน กรรมการ

6. นางสาวยลดา ลอื ชยั กรรมการ

7. นางสาววมิ ลรตั น์ บุญยืน กรรมการ

8. นางสาวศิรประภา อ่อนฉลวย กรรมการ

9. นางสาวเยาวเรศ อาจนาวัง กรรมการและเลขานุการ

10.นางสาวสะใบคา ทองอบุ ล กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

๔. การกากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจดั การศกึ ษา

กรรมการประกอบด้วย

1. นายเจรญิ รอดมา ประธานกรรมการ

2. นางวิมลจันทร์ ปานขาว รองประธานกรรมการ

3. นางนงเยาว์ ศรีแก้ว กรรมการ

4. นางสังวาลย์ นามสีอนุ่ กรรมการ

5. นางสาววัลลี จาปาทอง กรรมการ

6. นางสาวสรุ ยี ฉ์ าย ซาบุญมี กรรมการ

7. นางสาวชนดิ า พรรณรังษี กรรมการ

8. นางสาวสุจิตรา วงศร์ ัตน์ กรรมการ

9. นางชมัยพร ถิน่ สาราญ กรรมการและเลขานุการ

10.นางสาวธนกิ านต์ ศรตี น้ วงศ์ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

๑. การมีกระบวนการเรยี นการสอนท่สี ร้างโอกาสให้ผู้เรียนทกุ คนมีสว่ นรว่ ม
๒. การจัดการเรียนการสอนท่ยี ึดโยงกับริบทของชุมชนและทอ้ งถิ่น
๓. การตรวจสอบและประเมนิ ความรคู้ วามเขา้ ใจผูเ้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และมปี ระสิทธิภาพ

๓๗

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั

๑. การมกี ระบวนการเรียนการสอนทส่ี รา้ งโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนทกุ คนมีส่วนร่วม

กรรมการประกอบด้วย

1. นางอภิญญา วานชิ ประธานกรรมการ

2. นางพิชญานี สรรพศลิ ป์ รองประธานกรรมการ

3. นายวนั ชัย โสภาพร กรรมการ

4. นางภานิดา ศรีเชยี งสา กรรมการ

5. นางสาววราภรณ์ วงศไ์ ชยา กรรมการ

6. นางสาวอรวรรณ พุทธโคตร กรรมการ

7. นางสาวรัชฎา เหล่าฆอ้ ง กรรมการ

8. นางจารวุ รรณ ตุ้มมี กรรมการและเลขานกุ าร

9. นางปิยนุช ดวงดี กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

๒. การจดั การเรยี นการสอนทีย่ ดึ โยงกบั รบิ ทของชุมชนและท้องถนิ่

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นายไพฑูรย์ เช้ือเมอื ง ประธานกรรมการ

๒. นายสารวย วิเศษเรยี น รองประธานกรรมการ

๓. นายธีรยทุ ธ ตมุ้ มี กรรมการ

๔. นางรชั นี กลุ สิทธาวิเวท กรรมการ

๕. นางนา้ ทพิ ย์ แสนบัว กรรมการ

๖. นายสรไกร พรูแลน่ เรว็ กรรมการ

๗. นายวรวุฒิ ใจดี กรรมการ

๘. นางสาวสวุ ณี ชะนะไล กรรมการ

๙. นายวีรยทุ ธ วาทยะจินดา กรรมการและเลขานกุ าร

๑๐. นายทองพาส บดุ ดา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

๓. การตรวจสอบและประเมนิ ความรูค้ วามเขา้ ใจผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และมีประสทิ ธภิ าพ

กรรมการประกอบด้วย

1. นายรงุ่ โรจน์ ตัณฑรตั น์ ประธานกรรมการ

2. นายสุรยิ า หา้ วหาญ รองประธานกรรมการ

3. นางณฏิ า หิรญั วฒั นะตระกลู กรรมการ

4. นายเอกวิทย์ อมตฉายา กรรมการ

5. นางสาววมิ ลวรรณ ลักษณะลาย กรรมการ

6. นางสาวอจั ฉรา ทองโพช กรรมการ

7. นายอภริ ัตน์ ตันเขยี ว กรรมการ

8. นางสาวชนิ มนา อินทรักษา กรรมการและเลขานุการ

9. นางสาวพนดิ า หนเู พลา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๓๘

มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มปี ระสิทธิผล

มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่มี ปี ระสทิ ธผิ ล

การใช้ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษาให้ดีย่งิ ขน้ึ

กรรมการประกอบดว้ ย

1. นายภราดร หนภู ักดี ประธานกรรมการ

2. นางสาวญาฐษิ ตา วงศ์ก่อ รองประธานกรรมการ

3. หวั หนา้ กลมุ่ สาระทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กรรมการ

4. หัวหนา้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น กรรมการ

5. หวั หน้าชมุ นุมทกุ คน กรรมการ

6. นายชานนท์ ตรงดี กรรมการ

7. นางสาวศิวรรณ อะวะตา กรรมการ

8. นางสาวศิริพร แพงมา กรรมการ

9. นายธรรมนญู ผา่ นสาแดง กรรมการ

10. นางสาวกวนิ ตรา โลกานิตย์ กรรมการ

11. นางปนดั ดา เนินนลิ กรรมการและเลขานกุ าร

12.นางสาวศวิ รรณ อะวะตา กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

ให้คณะกรรมการทไี่ ด้รับแต่งตั้ง ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี เพอ่ื ให้บรรลตุ ามแนวทางการดาเนนิ งานการ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตอ่ ไป

ภายในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ที่เจ้าหน้าทีง่ านประกนั คุณภาพการศึกษา

ส่งั ณ วันท่ี ๒๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑

(นายสมพงษ์ โสภิณ)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นท่าบ่อ

๓๙

คำสงั่ โรงเรยี นทำ่ บอ่
ท่ี ๒๖๑ /๒๕๖๐
เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรจัดทำมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ
----------------------------------------------------------------------------------------
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ ระบุให้การประกนั คณุ ภาพการศึกษาเป็นส่วน
หน่งึ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาทก่ี าหนดให้สถานศึกษาและหนว่ ยงานตน้ สังกดั ต้องดาเนนิ การอย่าง
ต่อเนือ่ ง ทงั้ ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก ในส่วนของการประกัน
คุณภาพภายในนน้ั ตามประกาศคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ระบุให้
สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพือ่ เปน็ แนวทางการในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นท่าบ่อ จะดาเนนิ การจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพ่อื เป็นแนวทางการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยยึดหลกั การมีสว่ นรว่ มของชุมชนและหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง ทงั้ ภาครฐั และเอกชน
จึงแตง่ ตง้ั คณะกรรมการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีหนา้ ท่ีในการรว่ มประชุม ปรึกษาหารอื และ
ดาเนินการจดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาชาติ
ดังนี้

๑. นายสมพงษ์ โสภิณ ตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นายไพฑูรย์ เชอ้ื เมอื ง ตาแหนง่ รองผอู้ านวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ

๓. นายร่งุ โรจน์ ตณั ฑรตั น์ ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการโรงเรียน กรรมการ

๔. นายเจริญ รอดมา ตาแหน่ง ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๕. นางปัทมา โพธิวทิ ย์ ตาแหน่ง ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๖. นางทองวัน เบา้ สิงห์สวย ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๗. นายสชุ ิน โพธวิ ทิ ย์ ตาแหนง่ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๘. นายนคิ ม เคหะฐาน ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๙. นางไพรนิ ทร์ สีลาคา ตาแหน่ง ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๐.นางพชิ ญานี สรรพศลิ ป์ ตาแหน่ง ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๑.นางสาวธนิกานต์ ศรีต้นวงศ์ ตาแหน่ง ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๒.นางสาวสุวมิ ล โพธิ์ศริ ิ ตาแหน่ง ครูชานาญการ กรรมการ

๑๓.นายสุริยา ห้าวหาญ ตาแหน่ง ครูชานาญการ กรรมการ

๑๔.นายพิษณุ สาระจนั ทร์ ตาแหน่ง ครูชานาญการ กรรมการ

๑๕.นางเพ็ญสริ ิ บุญยืน ตาแหนง่ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๖.นางสาวญาฐษิ ตา วงศ์ก่อ ตาแหน่ง ครชู านาญการพิเศษ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

๑๗.นางปนัดดา เนินนลิ ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร

๔๐

ขอให้คณะกรรมการทไ่ี ดร้ บั การแต่งตงั้ ทุกคน ปฏิบตั หิ น้าที่ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ให้บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์
ของการดาเนนิ งาน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกดิ ประโยชน์สงู สุดต่อราชการ

ทัง้ น้ี ตง้ั แต่วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐
สัง่ ณ วนั ท่ี ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐

(นายสมพงษ์ โสภณิ )
ผ้อู านวยการโรงเรียนท่าบ่อ

๔๑

ประกำศโรงเรยี นท่ำบ่อ
เรื่อง กำรใช้มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศึกษำข้นั พื้นฐำน

เพอ่ื กำรประกันคณุ ภำพภำยในของสถำนศึกษำ

..............................................................................................................
โดยทมี่ กี ารประกาศใช้กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.
๒๕๕๙ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพอื่ การประกันคณุ ภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา กาหนดการจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศกึ ษาใหย้ ดึ หลกั ที่สาคญั ข้อหนึง่ คอื มี
การกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจดั ระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาทกุ ระดับและประเภทการศึกษา โดย
มาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอานาจหน้าท่กี ากบั ดูแลการศกึ ษาทกุ ระดับ และทุกประเภท กาหนดนโยบาย แผนและ
มาตรฐานการศึกษา ให้สถานศึกษาจัดให้มรี ะบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกัน
คุณภาพภายในเป็นสว่ นหนึ่งของการบริหารการศกึ ษาที่ต้องดาเนนิ การอย่างตอ่ เน่อื ง โดยมกี ารจัดทารายงาน
ประจาปีเสนอต่อหน่วยงานตน้ สังกดั หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพอ่ื นาไปสู่การพฒั นา
คุณภาพมาตรฐานการศกึ ษา และเพอื่ รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
เพือ่ ให้การบริหารจัดการกิจการของโรงเรียนท่าบ่อเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และตามระบบประกัน
คุณภาพการศกึ ษา จึงประกาศการใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

ประกาศ ณ วันที่ ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐

(นายสมพงษ์ โสภณิ )
ผอู้ านวยการโรงเรยี นท่าบ่อ

๔๒

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ แนบท้ำยประกำศโรงเรียนท่ำบอ่
เรอ่ื ง กำรใช้มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน

เพือ่ กำรประกนั คุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ

มำตรฐำน/ตัวบง่ ช้ี

มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ ำงวิชำกำรของผู้เรียน
๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสือ่ สาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชั้น
๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และ
แก้ปญั หา
๓) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
๔) ความก้าวหนา้ ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
๕) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและพัฒนาการจากผลการสอบวดั ระดับชาติ
๖) ความพรอ้ มในการศกึ ษาต่อ การฝกึ งาน หรอื การทางาน
๑.๒ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น
๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ดี ีตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด โดยไม่ขดั กับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม
๒) ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย
๓) การยอมรบั ทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจติ สงั คม

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำรของผูบ้ ริหำรสถำนศกึ ษำ
๑) การมเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
๒) การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๒.๑) การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพของผเู้ รยี นรอบดา้ นทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๒) การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี
๒.๓) การวางแผนการบรหิ ารและการจดั การข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
๒.๔) การวางแผนและจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอ้อื ตอ่ การจดั การเรียนรู้
อยา่ งมคี ุณภาพ
๓) การมีสว่ นรว่ มของผเู้ ก่ยี วข้องทกุ ฝ่าย และการรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษาให้มี
คณุ ภาพและได้มาตรฐาน
๔) การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศกึ ษา

๔๓

มำตรฐำน/ตัวบ่งชี้

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
๑) การมีกระบวนการเรียนการสอนทส่ี รา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนมีสว่ นรว่ ม
๒) การจดั การเรยี นการสอนทยี่ ดึ โยงกบั บริบทของชุมชนและท้องถน่ิ
๓) การตรวจสอบและประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และมี
ประสิทธิภาพ

มำตรฐำนท่ี ๔ ระบบกำรประกันคณุ ภำพภำยในที่มปี ระสทิ ธิผล
การใช้ระบบการประกนั คุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษาให้ดีย่ิงข้นึ

๔๔

ประกำศโรงเรยี นท่ำบ่อ
เรือ่ ง กำรกำหนดค่ำเปำ้ หมำยตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๐

ระดับกำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำนเพอ่ื กำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ
..............................................................................................................

ตามความในพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๙(๓) ได้กาหนดการจดั ระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศึกษาโดยยดึ หลักสาคัญข้อหนึ่ง คอื มีการ
กาหนดมาตรฐานการศกึ ษา และจัดระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาทุกระดบั และประเภทการศึกษา การ
ประกาศใช้กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๒ ข้อ
๑๔(๑) ใหก้ าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง ให้ใชม้ าตรฐาน
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ลงวนั ท่ี ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เพอ่ื ใช้เปน็ หลกั ใน
การส่งเสริม สนบั สนนุ กากับดแู ล และตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นทา่ บอ่ จงึ ปรบั มาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและได้กาหนดค่าเปา้ หมายของการพฒั นาตามมาตรฐาน
การศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๐ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานและการมีส่วนรว่ มของ
ผู้เก่ียวข้อง ทงั้ บุคลากรทกุ คนในโรงเรียน ผปู้ กครอง และประชาชนในชมุ ชน เพ่อื นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา การประเมนิ คุณภาพภายในและเพ่ือรองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

เพอ่ื ให้การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนทา่ บ่อ มคี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน
โรงเรยี นจงึ ไดก้ าหนดคา่ เปา้ หมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ระดบั
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี เพอื่ เปน็ เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานและการประเมินคณุ ภาพภายใน

ประกาศ ณ วันท่ี ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐

(นายสมพงษ์ โสภณิ )
ผู้อานวยการโรงเรยี นท่าบ่อ

๔๕

คำ่ เป้ำหมำยแนบท้ำยประกำศโรงเรยี นท่ำบ่อ
เรอื่ ง กำรกำหนดเปำ้ หมำยตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐

ระดบั กำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำนเพอื่ กำรประกนั คณุ ภำพภำยในของสถำนศึกษำ

มำตรฐำน/ประเด็นพิจำรณำ คำ่ เป้ำหมำย
มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผู้เรยี น ระดบั ดี
ระดับดี
๑. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รยี น ระดับดี
๑.๑ ความสามารถในการอ่าน เขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑข์ องแต่
ระดบั ดี
ละระดบั ช้นั
๑.๒ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความ ระดบั ดีเยี่ยม
ระดับดี
คิดเหน็ และแก้ปญั หา ระดบั ดี
๑.๓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
๑.๔ ความกา้ วหน้าทางการเรียนตามหลักสูตร ระดบั ดีเยี่ยม
๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ ระดับดีเยย่ี ม
๑.๖ ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝกึ งาน หรือการทางาน ระดบั ดีเยยี่ ม

๒. คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผเู้ รยี น ระดบั ดี
๒.๑ มคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขดั กับกฎหมายและ ระดับดี
ระดับดีเยี่ยม
วัฒนธรรมอนั ดขี องสงั คม ระดับดีเยี่ยม
๒.๒ ความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย ระดบั ดีเยย่ี ม
๒.๓ ยอมรับทีจ่ ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและความหลากหลาย ระดบั ดีเยย่ี ม
๒.๔ สุขภาวะทางรา่ งกาย และลกั ษณะจิตสงั คม ระดับดีเยยี่ ม

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรของผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ ระดับดีเยย่ี ม
๑. การมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน ระดบั ดี
๒. การวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
๒.๑ การวางแผนและดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพของผเู้ รยี นรอบด้านทุก ระดบั ดีเยี่ยม

กลมุ่ เปา้ หมาย และ ดาเนินการอยา่ งเป็นรูปธรรม ระดับดีเยย่ี ม
๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
๒.๓ การวางแผนและการจัดการขอ้ มลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ ระดบั ดีเย่ียม
๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้อื ตอ่ การจดั การเรียนรู้

อย่างมคี ุณภาพ
๓. การมสี ว่ นร่วมของผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้

มีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน
๔. การกากับ ตดิ ตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจดั การศึกษา

มำตรฐำน/ประเดน็ พจิ ำรณำ ๔๖
มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
ค่ำเป้ำหมำย
๑. การมีกระบวนการเรยี นการสอนทีส่ รา้ งโอกาสให้ผู้เรยี นทกุ คนมีส่วนรว่ ม ระดบั ดี
๒. การจัดการเรียนการสอนท่ยี ดึ โยงกบั บรบิ ทของชุมชนและทอ้ งถ่นิ ระดบั ดี
๓. การตรวจสอบและประเมนิ ความรู้ความเข้าใจของผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบและมี ระดบั ดี
ประสทิ ธภิ าพ ระดบั ดี
มำตรฐำนท่ี ๔ ระบบกำรประกันคุณภำพภำยในท่มี ปี ระสิทธิผล
การใช้ระบบประกันคุณภาพภายในเพ่อื ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาใหด้ ียง่ิ ขน้ึ ระดับดีเยี่ยม
ระดบั ดีเย่ียม

กำรกำหนดคำ่ เป้ำหมำย

๑. ศึกษาข้อมลู เดมิ ผลการประเมินตา่ งๆ ทผ่ี ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกาหนดค่าเป้าหมาย
๒. การกาหนดคา่ เปา้ หมายแต่ละมาตรฐานควรกาหนดเป็นระดบั คุณภาพ ๔ ระดบั เพื่อให้สอดคลอ้ งกับ

การประเมิน ดงั นี้

ระดบั คณุ ภำพ ตำรำงเทยี บเคียง
ระดบั ๔ ดีเยี่ยม ค่ำร้อยละ
ระดบั ๓ ดี
ระดับ ๒ พอใช้ รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป
ระดับ ๑ ปรับปรุง รอ้ ยละ ๗๐ – ๗๙
ร้อยละ ๖๐ – ๖๙
รอ้ ยละ ๕๐ – ๕๙

๓. การกาหนดคา่ เป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกาหนดเปน็ ระดบั คุณภาพ หรอื เป็นรอ้ ยละ
ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา

๔๗

ประกำศโรงเรยี นทำ่ บอ่
เร่อื ง แต่งตงั้ คณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบระบบประกันคณุ ภำพ

และประเมนิ คณุ ภำพภำยในของสถำนศึกษำ

..............................................................................................................

ตามทม่ี ีการประกาศใชก้ ฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.

๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการการประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เรื่อง กาหนดหลกั เกณฑ์

และแนวปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับการประกนั คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๕๔ ท่กี าหนดให้

สถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน จัดใหม้ ีการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาทัง้ ระดบั บุคคลและระดับ

สถานศกึ ษาอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครง้ั พรอ้ มทง้ั จัดทารายงานผลและนาผลการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพ

การศกึ ษาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปรับปรุงพฒั นาสถานศกึ ษานั้น

เพอื่ ให้การดาเนนิ งานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย โรงเรียนทา่ บอ่ จงึ ขอประกาศแตง่ ต้ังคณะกรรมการ

ตดิ ตาม ตรวจสอบระบบประกนั คุณภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาดังน้ี

๑. นายสมพงษ์ โสภณิ ผ้อู านวยการโรงเรยี นทา่ บอ่ ประธานกรรมการ

๒. นายชาตรี จันทน์ต้น ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก กรรมการ

๓. นางสาวญาฐิษตา วงศก์ อ่ ครู คศ.๓ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการทไี่ ดร้ บั การแตง่ ต้งั มีหนา้ ท่ี
๑. ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทง้ั ระดับบคุ คลและระดับสถานศกึ ษาอย่างน้อยภาคเรยี นละ
๑ ครง้ั และจัดทารายงานผลการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา
๒. ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้งและจดั ทา
รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ใหค้ ณะกรรมการท่ีได้รบั การแตง่ ตงั้ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมายให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย มี
ประสทิ ธิภาพ โดยคานึงถึงประโยชนข์ องทางราชการเป็นสาคญั

ทงั้ นี้ ตั้งแตบ่ ัดนี้เปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๖๑

(นายสมพงษ์ โสภิณ)
ผู้อานวยการโรงเรยี นท่าบอ่

๔๘

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนท่าบอ่ อาเภอทา่ บ่อ จังหวัดหนองคาย
ท่ี วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๑
เร่อื ง รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐

เรียน ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน โรงเรยี นทา่ บอ่

ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ และทแี่ ก้ ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ ๒)
พุทธศกั ราช ๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรา ๔๘ ให้หนว่ ยงานต้นสงั กัดและสถานศกึ ษาจัดให้มี ระบบการประกันคณุ ภาพ
ภายในสถานศกึ ษาและใหถ้ อื ว่าการประกนั คุณภาพภายในเป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอ้ ง
ดาเนนิ การอยา่ งต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกดั หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งและ
เปิดเผยตอ่ สาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการประกนั คณุ ภาพ
ภายนอก โรงเรียนท่าบอ่ ไดด้ าเนินการจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๐
จานวน ๔ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ ๑ ดา้ นคุณภาพของผูเ้ รยี น มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการ
จัดการของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั และ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในที่มีประสิทธผิ ล

บดั น้ี โรงเรียนทา่ บอ่ ไดจ้ ดั ทารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา
๒๕๖๐ เพื่อนาเสนอผลการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปที ี่ผ่านมาตอ่ ผู้เกย่ี วขอ้ งและ
สาธารณชนทราบ ดงั นั้นจงึ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานโรงเรียนทา่ บอ่ ต่อรายงาน
เล่มน้ี เพอื่ นาไปดาเนนิ การเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนทราบเป็นลาดบั ต่อไป

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดพิจารณา

- ทราบ

(นายสมเกยี รติ ตระกูลฟาร์มธวชั ) (นายสมพงษ์ โสภณิ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ผู้อานวยการโรงเรยี นทา่ บ่อ

โรงเรยี นทา่ บ่อ ก

๔ก๙

คานา

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติพุทธศกั ราช ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี ๒) พุทธศกั ราช
๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกดั และสถานศึกษาจดั ใหม้ ี ระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาและให้ถอื ว่าการประกนั คุณภาพภายในเป็นสว่ นหน่ึงของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาที่ตอ้ ง
ดาเนนิ การอย่างต่อเนอื่ ง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กดั หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและ
เปิดเผยตอ่ สาธารณชน เพอื่ นาไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา เพ่ือรองรบั การประกันคณุ ภาพ
ภายนอก

รายงานการประเมนิ ตนเองรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self Assessment Report (SAR)
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เล่มนี้ จดั ทาขนึ้ ตามกรอบนโนบายปฏิรูประบบการประเมนิ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา เปน็ การสรุปผลการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาที่สะท้อนผลการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา
ซง่ึ เปน็ ผลสาเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานเพ่อื การประกันคณุ ภาพ
ภายใน ๔ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คุณภาพผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศึกษา
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั และระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่ีมปี ระสิทธิผล
ผลการวิเคราะหจ์ ุดเดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา และระบแุ นวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ
นาเสนอรายงานผลการจัดการศกึ ษาในรอบปีที่ผา่ นมาใหต้ ้นสงั กัดและสาธารณชนไดร้ บั ทราบ และเตรียมความ
พรอ้ มในการรับการประเมินคณุ ภาพภายนอกต่อไป

โรงเรียนทา่ บอ่
๓ เมษายน ๒๕๖๑

ขข๕๐

สารบญั

เรอื่ ง หน้า

สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา…………………………………………………………................................……..๑

๑.๑ ข้อมูลทั่วไป .......................................................................................................................... ๑
๑.๒ ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศกึ ษา ............................................................................................ ๑

๑.๓ ขอ้ มลู นักเรียน ...................................................................................................................... ๒
๑.๔ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดับสถานศกึ ษา .................................................................. ๓

๑.๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ................................................ ๔

๑.๖ ขอ้ มลู การใช้แหลง่ เรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา๒๕๖๐........................... ๗
๑.๗ ข้อมูลงบประมาณ.................................................................................................................. ๘

๑.๘ สภาพชุมชนโดยรวม ............................................................................................................. ๘
๑.๙ สรปุ ผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ....................................................๙...

ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา…………………………………………….....................…..........…… ๑๓

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน…………………………………………………….........................................๑๓
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา....................................๒๐

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ..........................................๒๓
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในที่มปี ระสทิ ธผิ ล………......................….........….……. ๒๔

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม…………………………………………………………...............................................……๒..๖

บรรณานุกรม..................................................................................................................................................๒.. ๘
ภาคผนวก...................................................................................................................................................... ๒๙


Click to View FlipBook Version