The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฏิบัติงานศูนย์อำนวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sam.akkadhammo, 2021-11-16 01:59:20

คู่มือปฏิบัติงานศูนย์อำนวยการโครงการฯ ฉบับปรับปรุง

คู่มือปฏิบัติงานศูนย์อำนวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

จัดทาํ โดย สํานักงานพระสอนศลี ธรรม

ปท่ีจดั ทํา ๒๕๖๓

ทีป่ รกึ ษา

๑. พระเทพวัชรบณั ฑิต, ศ.ดร. ๒. พระเทพปวรเมธี, รศ.ดร.
๓. พระศรีธรรมภาณ,ี ดร. ๔. ดร.สายพิรุณ เพิ่มพนู
๕. ดร.นงลักษณ ไชยเสโน

คณะทํางาน

๑. พระครสู ังฆรักษส นุ ทรกมล มณิโชโต ๒. พระมหาสรุ ศักดิ์ สลี สํวโร
๓. พระมหาณรงคราช ปณธิ านธติ ิ ๔. พระมหานพดล ธมมฺ านนโฺ ท
๕. พระมหาสาม อคคฺ ธมโฺ ม ๖ พระมหากฤษดา จนิ ฺตามโย
๗. พระดนยั ญาณธโี ร ๘. นางสาวฉตั รดาว แผลงศรี
๙. นางสาวสรุ ยี พ ร มวงพันธ ๑๐. นางสาวดวงฤดี ธนะสาร
๑๑. นางสาวราตรี รัตนโสภา ๑๒. นางสาวอลีนา สุปน ะ
๑๓. นายนริ ตุ ปอ งสีดา ๑๔. นายพีระพล ออ นลําเนาว
๑๕. นายธวัชชัย เยน็ ใจมา ๑๖. นายสดใส เจอื จนั ทร
๑๗.นางสาวรุงอาํ พร บุญรอดดวง ๑๘. นายวรพงษ พรหมเสนา
๑๙. วาทีร่ อยตรหี ลวงเมือง ศรีสองเมอื ง

ออกแบบปก/จดั รปู เลม

นางสาวศิริวรรณ จนั ทรยุย

ตรวจทาน/พิสูจนอักษร

นายภูวนัย ปริศนา

พระเทพวชั รบัณฑติ , ศ.ดร.
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
ประธานคณะกรรมการอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น

โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เปนสวนหนึ่งของภารกิจงานท่ีสําคัญดานการบริการ
วิชาการของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่มุงเปนศูนยกลางการใหบริการวิชาการ
ดานพระพุทธศาสนาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน เพ่ือบรรลุเปาหมายสูการเปน “มหาวิทยาลัย
พระพทุ ธศาสนาระดบั โลก” ตามวิสัยทัศนที่ไดกําหนดไว และมีการดําเนินงานโครงการฯ ที่เนนการ
มสี ว นรวมตามหลกั ธรรมาภบิ าลโดยกระจายภาระงานพรอมทงั้ งบประมาณสูหนวยจัดการศึกษาของ
มหาวทิ ยาลัยในระดบั วทิ ยาเขต วทิ ยาลยั และหนว ยวทิ ยบรกิ าร

การจัดทาํ คูมือปฏิบตั ิงานศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน นับวาเปน
เรื่องนายินดี เหมาะสมอยางย่ิง ท่ีหนวยงานจะใชเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินงานใหบรรลุ
ยุทธศาสตรและกลยุทธที่วางเอาไว รวมท้ังเปนตัวชี้วัดในระบบประกันคุณภาพวาการบริหาร
โครงการฯ จะสงผลใหเด็กและเยาวชนมีความรูดานพระพทุ ธศาสนาคูคุณธรรมอยางแทจ รงิ

ขออนุโมทนาในวิริยะอุตสาหะของคณะทํางานทุกทาน ที่ไดเพียรพยายามอยางเต็ม
ความสามารถ อาศัยกําลังกาย กําลังสติปญญา กลั่นกรอง วิเคราะห จัดทําคูมือปฏิบัติงานน้ี จน
สําเร็จเปนคูมืออํานวยความสะดวกในการบริหารของผูบริหารและปฏิบัติงานของเจาหนาที่
โครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น สวนภมู ภิ าค ใหม ีประสทิ ธภิ าพ และมีความเปนเอกภาพ

ขออํานาจแหงคุณพระศรีรัตนตรัย และอํานาจกุศลจริยาสัมมาปฏิบัติทั้งปวง จงปกปอง
คุมครองใหทุกทานปราศจากทุกข โศก โรคภัย อุปทวันตรายท้ังปวง เจริญดวยจตุรพิธพรชัย คือ
อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ พร่งั พรอ มไปดว ยปฏิภาณ ธนสารสมบัติ ธรรมสารสมบัติ ปรารถนาสิ่งใดที่
ชอบประกอบดว ยธรรม ขอความปรารถนาทง้ั ปวงนนั้ จงพลันสาํ เรจ็ ทุกทา นทกุ คน ตลอดกาลเปน

พระเทพปวรเมธ,ี รศ.ดร.
รองอธิการบดีฝายบริหาร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
ประธานคณะกรรมการดําเนนิ งานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน

โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เปนสวนหน่ึงของภารกิจงานท่ีสําคัญดานการบริการ
วิชาการของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ท่ีมุงเปนศูนยกลางการใหบริการวิชาการ
ดานพระพุทธศาสนาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน เพ่ือบรรลุเปาหมายสูการเปน “มหาวิทยาลัย
พระพุทธศาสนาระดับโลก” ตามวสิ ัยทัศนท่ีไดกําหนดไว และมีการดําเนินงานโครงการฯ ท่ีเนนการ
มีสวนรวมตามหลกั ธรรมาภิบาลโดยกระจายภาระงานพรอ มทัง้ งบประมาณสูห นวยจัดการศึกษาของ
มหาวทิ ยาลัยในระดับวทิ ยาเขต วทิ ยาลัย และหนว ยวทิ ยบรกิ าร

การจดั ทาํ คมู อื ปฏิบัตงิ านศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน นับวาเปน
เรื่องนายินดี เหมาะสมอยางยิ่ง ท่ีหนวยงานจะใชเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินงานใหบรรลุ
ยุทธศาสตรและกลยุทธที่วางเอาไว รวมท้ังเปนตัวชี้วัดในระบบประกันคุณภาพวาการบริหาร
โครงการฯ จะสงผลใหเด็กและเยาวชนมคี วามรดู านพระพุทธศาสนาคคู ณุ ธรรมอยางแทจ ริง

ขออนุโมทนาในวิริยะอุตสาหะของคณะทํางานทุกทาน ท่ีไดเพียรพยายามอยางเต็ม
ความสามารถ อาศัยกําลังกาย กําลังสติปญญา กลั่นกรอง วิเคราะห จัดทําคูมือปฏิบัติงานน้ี จน
สําเร็จเปนคูมืออํานวยความสะดวกในการบริหารของผูบริหารและปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี
โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น สว นภูมิภาค ใหมปี ระสิทธภิ าพ และมีความเปน เอกภาพ

ขออํานาจแหงคุณพระศรีรัตนตรัย และอํานาจกุศลจริยาสัมมาปฏิบัติท้ังปวง จงปกปอง
คุมครองใหทุกทานปราศจากทุกข โศก โรคภัย อุปทวันตรายทั้งปวง เจริญดวยจตุรพิธพรชัย คือ
อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ พร่งั พรอ มไปดวยปฏภิ าณ ธนสารสมบัติ ธรรมสารสมบัติ ปรารถนาสิ่งใดท่ี
ชอบประกอบดวยธรรม ขอความปรารถนาท้ังปวงน้ันจงพลันสําเร็จ ทุกทานทุกคน ตลอดกาล
เปน นติ ย เทอญ

พระศรธี รรมภาณ,ี .ดร.
ผูช วยอธิการบดฝี า ยบรหิ าร
รักษาการผูอํานวยการสํานักงานพระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เปนโครงการที่มุงพัฒนาคุณธรรม ศีลธรรมของเด็ก
และเยาวชนในสถานศึกษาใหมีความเปนคน "เกง ดี มีคุณภาพ” ตามนโยบายการจัดการศึกษา
ของชาติ ผานกระบวนการจัดการเรียนการสอนของพระสอนศีลธรรม รับผิดชอบดําเนินการโดย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพ้ืนที่ครอบคลุม ๑๘ ภาคคณะสงฆ ๗๗ จังหวัดทั่ว
ประเทศ มีพระสอนศีลธรรมจํานวน ๑๘,๐๐๐ รูป เขาไปปฏิบัติหนาที่จัดการเรียนการสอนสาระ
วิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมใน
สถานศึกษาจํานวนกวา ๑๒,๐๐๐ แหง ท่ัวประเทศ เพ่ือปลูกเมล็ดพันธุแหงความดีใหเจริญงอก
งามเตบิ โตในจิตใจของเด็กนกั เรียน

การดําเนินงานโครงการฯ มีสํานักงานพระสอนศีลธรรม กับหนวยจัดการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยในระดับวิทยาเขต ๑๐ แหง วิทยาลัย ๑๘ แหง และเปนหนวยวิทยบริการ ๑ แหง
รวมท้ังส้ิน ๒๙ แหง รวมกันรับผิดชอบดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคและนโยบายของ
มหาวิทยาลัย ซึ่งการขับเคล่อื นโครงการฯ จะเปนไปดวยความเรียบรอยบรรลุเปาหมายที่ต้ังไวดวย
การใชคูมือปฏิบัติงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เปนเครื่องอํานวยสะดวกในการ
ปฏิบัติงาน เปนระบบ มีความถูกตอง ลดความซํ้าซอนในการทํางาน คูมือฯ เลมนี้ จะชวยให
ผปู ฏิบัติงานและผทู ่ีเก่ยี วของสามารถดําเนนิ งานลุลวงไปอยางมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และกุศลบุญราศีท้ังหลายท่ีคณะทํางานทุกทานไดตั้งใจ
ทํางานเพื่อสงเสริมกิจการพระพุทธศาสนา จงอํานวยพรใหทุกทานเจริญดวยจตุรพิธพรชัย
ปรารถนาส่ิงใดก็ขอใหสมความปรารถนา เจริญรุงเรืองในรมธรรมแหงองคสมเด็จพระสัมมา
สมั พุทธเจาตลอดกาลเปน นติ ยเทอญ

เอกสาร “คูมือปฏิบัติงาน ศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สวน
ภูมิภาค” เลมนี้ จัดทําข้ึนเพ่ือสรางความรู ความเขาใจขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาที่
โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนสวนภูมิภาคโดยมีเน้ือหาเก่ียวกับสาระสําคัญของโครงการ
พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน บทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบศูนยอํานวยการโครงการฯ
กระบวนการปฏิบัติงาน และวิธีรายงานผลการปฏิบัติงาน รวมถึงคูมือตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับ
โครงการฯ

คณะผูจัดทํา หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือปฏิบัติงานเลมน้ี จะชวยใหผูบริหาร เจาหนาท่ี วิทยา
เขต วิทยาลัย หนวยวิทยบริการที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ ดําเนินการโครงการพระสอน
ศีลธรรมในโรงเรียน สวนภูมิภาค รู และเขาใจ สามารถบริหารและปฏิบัติงานไดอยางมี
ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล บรรลวุ ัตถปุ ระสงคแ ละนโยบายของมหาวิทยาลยั ตอ ไป

คณะผูจดั ทาํ
ธนั วาคม ๒๕๖๓



บทที่ ๑ บทนาํ

๑.๑ สาระสําคัญเกีย่ วกับโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน

โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น : ความเปน มาและความสาํ คัญ
ป ๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ไดดําเนินงานโครงการพระ
สอนศีลธรรมในโรงเรียน โดยหวังจะสรางคุณประโยชนตอสังคม ประเทศชาติ จากหลักธรรมคํา
สอนทางพระพุทธศาสนาผานกระบวนการเรียนรูโดยพระสอนศีลธรรม เพ่ือพัฒนาคุณธรรม
ศีลธรรมแกน ักเรียนในสถานศกึ ษา ทง้ั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา และอาชีวะศกึ ษา
ป ๒๕๕๑ เม่ือจํานวนพระสอนศีลธรรมมีมากถึง ๒๐,๐๐๐ รูป คณะรัฐมนตรี จึงมีมติให
โ อ น ย า ย ภ า ร ะ ง า น แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ โ ค ร ง ก า ร พ ร ะ ส อ น ศี ล ธ ร ร ม ใ น โ ร ง เ รี ย น ไ ป ตั้ ง ไ ว ท่ี
กระทรวงศึกษาธิการ โดยใหมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รับมาดําเนินการให
สอดคลอ งกบั พันธกจิ ดาน “การบรกิ ารวิชาการพระพทุ ธศาสนาแกส งั คมและชุมชน”
ป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มอบใหสวนธรรมนิเทศ
สํานกั สง เสรมิ พระพุทธศาสนาและบริการสังคม รับผิดชอบโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
ภายใตการกํากับ ควบคุม ติดตามประเมินผลของคณะกรรมการบริหารโครงการพระสอน
ศลี ธรรมในโรงเรียน ๒ ชุด ประกอบดว ย ๑) คณะกรรมการอาํ นวยการโครงการพระสอนศีลธรรม
ในโรงเรยี น ๒) คณะกรรมการดาํ เนนิ งานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น
ป ๒๕๕๗ – ปจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดปรับปรุงโครงสราง
การบริหารและสวนงานของมหาวิทยาลัย จึงประกาศต้ัง “สํานักงานพระสอนศีลธรรม” สังกัด
สาํ นักงานอธกิ ารบดีขน้ึ ใหร บั ผิดชอบโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน โดยตรง
โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนนี้เปนโครงการที่ภาครัฐเห็นความสําคัญใหการ
สนับสนุนมาอยางตอเนื่อง เปนสวนสําคัญในการขับเคล่ือนนโยบายภาครัฐดานการเสริมสราง
ศักยภาพทุนมนุษยใหเปนคน “เกง ดี มีคุณภาพ” เปนมนุษยที่สมบูรณตามเจตนารมณแหงการ
พฒั นาคนในชาตใิ หม ีคุณธรรมที่พึงประสงคตามแผนแมบทสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ ๔ ประการ



“พอเพยี ง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา” นอกจากนี้ ยงั ชวยสนบั สนุนกิจการพระพุทธศาสนาดานการเผย
แผ และการศกึ ษาสงเคราะหอกี ดวย จึงเปน โครงการที่มงุ พัฒนาทุนมนษุ ยอยางเปน องครวม

๑.๒ วัตถุประสงค

เพอ่ื รวบรวมขนั้ ตอน วธิ กี ารปฏิบัติงาน วิธีการรายงานผลการปฏิบัติงานโครงการพระสอน
ศลี ธรรมในโรงเรยี น สวนภมู ภิ าค จัดทาํ เปนคูมือการปฏิบัติงานท่ีเปน ระบบมาตรฐานเดียวกนั

๑.๓ ประโยชนท ่จี ะไดร บั

๑. ผอู ํานวยการศูนยอ ํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ทราบรายละเอยี ด
ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน และสามารถบริหาร กํากับ ติดตาม ใหก ารดาํ เนนิ งานของโครงการฯ
เปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

๒. ระบบงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนเปนมาตรฐานเดียวกัน ทําใหเจาหนาท่ี
ผูปฏิบัติงานสามารถเรียนรูและถายทอดองคความรูน้ันไดอยางเปนระบบและสามารถปฏิบัติงาน
ทดแทนกนั ได

๓. เจาหนาท่ีศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนใชเปนคูมือในการ
ปฏบิ ัติงานไดอยา งถกู ตอ งเพอื่ ปองกันหรือลดขอ ผิดพลาด และเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน

๑.๔ นิยามศัพทท ี่ใช

ศนู ยอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน หมายถงึ หนว ยจัดการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระดับวิทยาเขต วิทยาลัย หองเรียน หรือหนวยวิทย
บริการ ท่ีไดร ับมอบหมายใหรับผดิ ชอบโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน

ผูอํานวยการศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน หมายถึง รอง
อธิการบดีวทิ ยาเขต ผูอาํ นวยการวิทยาลยั สงฆ ผูอํานวยการหอ งเรียนหรอื หนวยวทิ ยบรกิ าร

เจาหนาทีศ่ นู ยอ ํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น หมายถงึ บุคลากรหรือ
ลูกจางท่ีไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
ใหรบั ผิดชอบงานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน

พระสอนศีลธรรม หมายถึง พระภิกษุท่ีผานการคัดเลือกตามระบบกลไกของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย และไดรบั การบรรจแุ ตง ตัง้ ใหเปนพระสอนศีลธรรม



บทท่ี ๒ บทบาทหนาท่ี
ความรบั ผดิ ชอบ

โครงสรางองคกร และการบรหิ ารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น
โครงสรา งองคกร

โครงสรางการบรหิ าร



สํานักงานพระสอนศีลธรรม : สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย ตงั้ อยชู นั้ ๒ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๑๕๐ พรรษา สมเด็จพระปยมหาราช มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เลขท่ี ๗๙ หมู ๑ ถนนพหลโยธิน หลกั กิโลเมตรที่ ๕๕ ตําบลลําไทร อําเภอวัง
นอย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา รหัสไปรษณยี  ๑๓๑๗๐ โทรศพั ท/ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๘๔

จัดต้ังขึ้นตามประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เร่ือง การแบงสวนงาน
พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันท่ี ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ใหมีอํานาจหนาท่ี
และความรับผิดชอบงานสรรหาพระสอนศีลธรรม สงเสริมพัฒนาสมรรถนะของพระสอน
ศีลธรรม งานติดตามประเมินผล งานบริหารงบประมาณโครงการพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรียน และปฏบิ ัตงิ านอื่นท่เี ก่ียวขอ งหรือไดรบั มอบหมาย มี ๓ กลุม งาน คือ

๑. กลุมงานบริหาร
๒. กลุมงานแผนงานและประเมนิ ผล
๓. กลุมงานพัฒนาพระสอนศลี ธรรม

กลุมงานบริหาร ปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดสรรงบประมาณ การติดตามการใชจาย
งบประมาณและเบิกจายคาตอบแทน งานบัญชี งานธุรการ งานประชุมคณะกรรมการ งานสาร
บรรณ งานพัสดุงานประสานงาน งานประชาสัมพนั ธ รวมทง้ั จดั ทาํ ระบบสารสนเทศ ดูแลเว็บไซต
โครงการ จัดทําสถิติฐานขอมูลพระสอนศีลธรรม และปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเก่ียวของหรือที่ไดรับ
มอบหมาย

กลุม งานแผนงานและประเมินผล ปฏิบัติงานจัดทําแผนงานโครงการพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรยี นและติดตาม ประเมนิ ผล ใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย งานประกันคุณภาพ
การศึกษา งานวิเคราะหแผนงานและโครงการ งานประสานงานกับศูนยอํานวยการสวนภูมิภาค
ทุกหนวย งานจัดทําระบบสารสนเทศดานการประเมินผลติดตาม และปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเกี่ยวของ
หรอื ท่ีไดรบั มอบหมาย

กลมุ งานพฒั นาพระสอนศลี ธรรม ปฏบิ ตั งิ านจัดทําแผนพัฒนาพระสอนศีลธรรมใหเปนไป
ตามเปาหมาย รวมทั้งติดตามประเมินผล ศึกษาวิเคราะหวิจัยเพ่ือพัฒนาพระสอนศีลธรรม งาน
พัฒนาหลักสูตรอบรมพระสอนศีลธรรม งานจัดอบรมพระสอนศีลธรรม งานนิเทศติดตาม
ประเมินผลการสอนของพระสอนศีลธรรมติดตอประสานงานกับศูนยอํานวยการสวนภูมิภาคทุก
หนวย งานดานการพัฒนาพระสอนศีลธรรม งานกิจกรรมพิเศษ และปฏิบัติงานอื่นท่ีเก่ียวของ
หรือท่ไี ดรับมอบหมาย



ศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สวนภูมิภาค : เพ่ือใหการดําเนิน
โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล บรรลุวัตถุประสงคและ

นโยบายของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการอํานวยการโครงการฯ มีมติใหกระจายภาระงาน
ประกอบดวย การสรรหาพระสอนศีลธรรม การบริหารงบประมาณที่ไดรับจัดสรร และ
ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามนโยบายของสวนกลาง ใหหนวยจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยในระดับ
ภูมิภาค ชวยรับไปดําเนินการในพ้ืนที่รับผิดชอบของตน ปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๔) มีจํานวนทั้งสิ้น

๓๔ ศูนยฯ แบงเปน ๑๐ วทิ ยาเขต ๒๓ วิทยาลัย และ ๑ หนว ยวทิ ยบริการ ดงั น้ี

๑๐ วทิ ยาเขต ๒๓ วิทยาลยั ๑ หนว ยวทิ ยบรกิ าร
๑. วทิ ยาลัยสงฆเ ลย
๑. วิทยาเขตหนองคาย ๒. วทิ ยาลัยสงฆน ครพนม ๑. หนวยวทิ ยบริการ
๒. วิทยาเขตเชียงใหม ๓. วิทยาลัยสงฆล าํ พนู วดั หงษประดิษฐาราม
๓. วิทยาเขต ๔. วทิ ยาลัยสงฆพุทธชนิ ราช จงั หวดั สงขลา
นครศรีธรรมราช ๕. วิทยาลัยสงฆป ต ตานี
๔. วิทยาเขตขอนแกน ๖. วทิ ยาลัยสงฆน ครนานฯ
๕. วิทยาเขตนครราชสีมา ๗. วทิ ยาลัยสงฆน ครลําปาง
๖. วิทยาเขตแพร ๘. วทิ ยาลยั สงฆพ ทุ ธโสธร
๗. วิทยาเขตสรุ นิ ทร ๙. วทิ ยาลยั สงฆเ ชียงราย
๘. วิทยาเขตอุบลราชธานี ๑๐. วทิ ยาลัยสงฆศ รีสะเกษ
๙. วิทยาเขตพะเยา ๑๑. วิทยาลยั สงฆช ยั ภมู ิ
๑๐. วทิ ยาเขตนครสวรรค ๑๒. วทิ ยาลัยสงฆพ ทุ ธปญญาศรีทวารวดี
๑๓. วทิ ยาลัยสงฆร าชบุรี
๑๔. วิทยาลัยสงฆบ ุรีรัมย
๑๕. วทิ ยาลัยสงฆร อ ยเอด็
๑๖. วทิ ยาลยั สงฆสุราษฎรธ านี
๑๗. วทิ ยาลัยสงฆม หาสารคาม
๑๘. วิทยาลัยสงฆอทุ ยั ธานี
๑๙.วิทยาลยั สงฆส ุพรรณบุรีศรสี ุวรรณภมู ิ
๒๐.วทิ ยาลยั สงฆเ พชรบุรี
๒๑.วิทยาลยั สงฆพจิ ิตร
๒๒.วิทยาลัยสงฆพอขุนผาเมอื ง เพชรบรู ณ
๒๓.วทิ ยาลัยสงฆกาญจนบุรี ศรไี พบลู ย



การจัดทําแบบบรรยายลักษณะงานเปนพื้นฐานหลักที่ทําใหองคกรสามารถนําไปใชในการ
สรางความชัดเจนและเชื่อมโยงกับระบบบริหารทรัพยากรบุคคลท้ังระบบไดอยางมีประสิทธิภาพ
สูงสุด ดังน้ัน จึงตองมีการปรับปรุงถูกตอง ทันสมัย ครบทุกตําแหนงงาน เพ่ือใหนําไปใชไดอยาง
ถูกตอง สื่อสาร สรางความรู ความเขาใจ บทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบใหกับเจาหนาที่ทุกระดับ
พัฒนาความรู ทักษะ เพ่ือใหเจาหนาท่ีทุกระดับมีสมรรถนะ ความรู ความสามารถตามตําแหนง
เพื่อใหสามารถสรางผลงานตามตวั ชว้ี ดั ท่คี าดหวัง เกิดประโยชนส ูงสุดตอองคกร

ประโยชนตอ ผูบ งั คบั บัญชา
๑. ทราบลักษณะและขอบเขตงานของผูใตบงั คบั บญั ชา
๒. สามารถ แนะนําบุคลากรใหมใหรูจกั งานและปฏบิ ัตงิ านท่มี แี นวทางชดั เจน
๓. การมอบหมายงานและการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานชัดเจน
๔. การยาย หรอื เลอื่ นตําแหนง โปรงใส เปนไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล
๕. การศึกษาหรือเปลี่ยนแปลงของงานที่ปฏิบตั ิ ควบคุมไมใหเ กดิ งานซาํ้ ซอน
๖. การฝกอบรมและพัฒนาผใู ตบ ังคบั บัญชา
ประโยชนต อ บุคลากร
๑. ทราบลักษณะและขอบเขตของงานทีต่ อ งปฏิบตั ิ
๒. มแี นวทางการปฏบิ ัตงิ านทช่ี ดั เจน
๓. มีการปรับปรุงการปฏบิ ัติงานของตน โดยเทียบเคียงผลการปฏิบตั ิงานกับคาํ บรรยายลักษณะงาน
ประโยชนตอ องคกร
๑. การวิเคราะหโ ครงสรางขององคก รและการกาํ หนดระดบั ตาํ แหนง อยา งถูกตอง
๒. การวางแผนอัตรากําลงั มีหลักอางองิ และทาํ ไดร วดเร็วยิ่งขนึ้
๓. การประเมนิ คา งาน และกําหนดโครงสรางคา จาง ไดตามมาตรฐาน
๔. การยา ย หรือเลอ่ื นตาํ แหนงงาน มีขอมูลในการพิจารณาชัดเจน
๕. การหาความจําเปน ในการฝกอบรม การวางแผนฝกอบรม และพัฒนาบคุ ลากร
๖. การวเิ คราะหกระบวนการทาํ งาน เพ่ือปรับปรงุ การปฏบิ ัติงานใหมีประสทิ ธิภาพ
๗. ลดปญหาการทาํ งานทซี่ ํ้าซอ นกัน
๘. เปนเครื่องชวยใหผูบังคับบัญชา และผูใตบังคับบัญชาเขาใจในบทบาทตามตําแหนง
หนาทชี่ ัดเจน
โดยกําหนดบทบาทหนาที่ ของแตละตําแหนงในศูนยอํานวยการโครงการพระสอน
ศีลธรรมในโรงเรียน สว นภมู ิภาค ไวดงั นี้



๒.๑

แบบบรรยายลักษณะงาน

ผอู าํ นวยการศนู ยอาํ นวยการ
โครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น



๒.๑ ผูอํานวยการศนู ยอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน

แบบบรรยายลกั ษณะงาน

ขอ มลู ตาํ แหนง งาน
ชื่อตําแหนง (ไทย) : ผูอ ํานวยการศนู ยอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน
สวนภมู ภิ าค

ชือ่ ตําแหนง (อังกฤษ) :
ประเภท/ระดับ :
สังกดั : วทิ ยาเขต / วิทยาลัย / หนว ยวิทยบรกิ าร
สายการบังคบั บัญชา (Reporting Lines)
ผบู ังคบั บัญชาโดยตรง (ตาํ แหนง ) : ประธานคณะกรรมการดาํ เนนิ งานโครงการพระสอนศลี ธรรม
ในโรงเรยี น

ผใู ตบังคบั บญั ชาโดยตรง (ตําแหนง ) : เจาหนา ที่ศูนยอ าํ นวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรยี น สวนภูมิภาค

สวนที่ ๑ : วตั ถปุ ระสงคของตาํ แหนง (Job Purpose)

บริหารงานในฐานะผูอํานวยการศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
สวนภูมิภาค ควบคุม ดูแล สงเสริมภารกิจของโครงการฯ ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล บรรลุวัตถุประสงคแ ละนโยบายของมหาวทิ ยาลยั

สว นท่ี ๒ : ความรับผดิ ชอบหลัก (Key Responsibilities)

๑. วางแผนงาน แผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนของ
ศนู ยอ าํ นวยการฯ เพือ่ ดําเนินการใหบ รรลุเปาหมายและผลสัมฤทธ์ิ ตรงตามแผนแมบทสํานักงาน
พระสอนศีลธรรมและนโยบายของมหาวิทยาลยั

๒. บรหิ ารงานงบประมาณ กํากับการเบิก จายงบประมาณใหเปนไปตามแผนที่กําหนด และ
การรายงานผลการใชจา ยงบประมาณใหค รบถว นและตรงตามระยะเวลาทีก่ ําหนด

๓. ประสานงานการทํางานรวมกับหนวยงานหรือองคกรภาครัฐ เอกชน เครือขายความรวมมือ
และบุคคลที่เก่ียวของ เพื่อใหเกิดความรวมมือ หรือบูรณาการงานใหเกิดผลสัมฤทธิ์และเปน



ประโยชนต อ โครงการฯ
๔. ใหคําปรึกษาแนะนําในการปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีโครงการฯ

ประจําศูนยอํานวยการฯ เพื่อใหเกิดความสามารถ ประสิทธิภาพ และสมรรถนะท่ีเหมาะสมกับ
งานทป่ี ฏบิ ตั ิ

๕. ปรับปรุงหรือหาแนวทางวิธีการใหม ๆ หรือกลยุทธในการบริหารงาน บริหารทรัพยากร
บุคคล เพ่ือพัฒนาระบบงานเจาหนาที่โครงการฯ ประจําศูนยอํานวยการฯ ในการผลิตผลงาน
การบริการ หรือผลการดําเนนิ งานท่ีมีคณุ ภาพทด่ี ีข้นึ

สวนที่ ๓ : อํานาจดําเนินการ (Financial Responsibilities / Authorization)

ระดบั การอนุมัติ

อนุมัตไิ ดเ อง ตอ งขอคําแนะนํา นาํ เสนอ
เรื่อง (Item) (Own Decision) (Consulted by
ผบู งั คับบัญชา

Superior) (Superior

Approval)

อา งถึง : ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑก ารจัดสรรงบประมาณและมาตรการเพ่ิม

ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๐

สว นท่ี ๔ : การทาํ งานรว มกับหนว ยงานอ่ืน (Working Relationship)

• หนว ยงานภายนอก

หนวยงาน/ตําแหนง งานทต่ี ิดตอ เรือ่ งท่ตี อ งติดตอ ความถ่ี
ทกุ เดือน
มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราช บรู ณาการงานโครงการพระสอนศลี ธรรม
ทุกเดือน
วทิ ยาลัย ทุกเดือน
ทกุ เดอื น
คณะสงฆใ นจังหวดั งานบริหาร การปกครองคณะสงฆ ทกุ เดอื น

สํานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัด กิจการคณะสงฆ “งานศึกษาสงเคราะห”

กระทรวงวฒั นธรรมจงั หวัด กจิ กรรมสงเสริมคณุ ธรรมแหง ชาติ

เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา (สพป./สพม.) ความรว มมอื กจิ กรรมการสอน



• หนว ยงานภายใน เรื่องท่ตี อ งตดิ ตอ ความถี่
ทุกเดือน
หนวยงาน/ตาํ แหนง งาน งบประมาณ การเงนิ บญั ชี
ทต่ี ิดตอ การเบิก จายคาตอบแทน
งานสรรหา คดั เลอื กพระสอนศีลธรรม
สํานกั งานพระสอนศลี ธรรม งานทะเบยี นประวตั ิ
งานพฒั นาพระสอนศีลธรรม
ธรุ การ สารบรรณ งานรับ - สงเอกสาร

สว นที่ ๕ : คณุ สมบตั ิประจาํ ตําแหนง (Job Specifications)

วฒุ กิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรีขนึ้ ไป

สาขาวิชาชพี สาขาวิชาที่เกยี่ วของ

ประกาศนียบตั ร /ใบรับรองทาง ประกาศนยี บัตรนกั ธรรมชั้นเอก/ธรรมศึกษาชัน้ เอก
วชิ าชีพ / ใบอนญุ าต เปน บรรพชิต และเปนไปตามขอ ๑๔ , ๔๖ และ ๔๗
(Certification / Licensing) แหง ขอ บังคับมหาวิทยาลัยฯ วาดว ยการบริหารงาน
บคุ คล พ.ศ. ๒๕๕๙
ประสบการณก ารทาํ งาน
(Professional Experiences)

สวนที่ ๖ : ความสามารถประจําตาํ แหนง (Job Competency) ระดบั

• สมรรถนะหลกั (Core Competency) ๔
สมรรถนะหลกั (Core Competency) ๔

การยึดมั่นในคุณธรรม (Integrity) ๔
การมงุ ผลสมั ฤทธิ์ (Achievement Motivation)
ความรบั ผิดชอบในงาน (Responsibility)
การทํางานเปน ทมี (Teamwork)
การวางแผนการทํางานอยางเปนระบบ (Systematic Job Planning)



• สมรรถนะดา นการบริหารจัดการ (Managerial Competency) ระดบั
สมรรถนะดานการบรหิ ารจดั การ (Managerial Competency) ๔
สภาวะผูนํา (Leadership) ๔
วสิ ยั ทัศน (Visioning) ๔
การวางกลยทุ ธภาครฐั (Strategic Orientation) ๔
ศักยภาพเพ่อื นําการปรับเปลีย่ น (Change Leadership) ๔
การควบคุมตนเอง (Self-Control) ๔
การสอนงานและการมอบหมายงาน (Coaching and Empowering
Others) ระดบั

• สมรรถนะประจาํ ตาํ แหนงงาน (Functional Competency) ๔
สมรรถนะประจาํ ตําแหนงงาน (Functional Competency) ๔
การคดิ วเิ คราะห (Analytical Thinking) ๔
การมองภาพองครวม (Conceptual Thinking)
การสรางองคค วามรู (Creating Shape of Knowledge) ๔
การวางแผนและการบริหารโครงการ (Planning and Administration ๔
Project)
การเงินและบัญชี (Finance and Accounting) ๔
การบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบคุ คล (HR Management and
Development)
การบรหิ ารทรัพยากร (Resource Management)

สว นที่ ๗ : ความรคู วามสามารถ ทักษะ ทจ่ี าํ เปน ในตําแหนง งาน

ความรู ความสามารถ ทักษะ ภาคบังคบั ความรู ความสามารถ ทักษะ

ขององคกร ตามตาํ แหนงงาน

๑. พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณ ๑. ความรูดานการวางแผนและการบริหาร

ราชวทิ ยาลัย โครงการ

๒. ระเบียบวาดว ยการเงนิ และทรพั ยสนิ ๒. ความรูดา นการเงนิ และบัญชี

๓. ขอ บงั คบั วา ดวยการบรหิ ารงานบุคคล ๓. ความรูดา นการบรหิ ารและพัฒนา

๑๐

ความรู ความสามารถ ทักษะ ภาคบังคบั ความรู ความสามารถ ทักษะ

ขององคก ร ตามตําแหนง งาน

๔. พระราชบัญญตั ิจัดซ้ือจดั จา ง/ระเบียบ ทรัพยากรบคุ คล
กระทรวงการคลงั และกฎหมายที่เกี่ยวขอ ง ๔. ความรูดานการบริหารทรัพยากร
๕. ความรูดานการจดั การองคความรู
๕. ความรูเรอ่ื งกฎหมายปกครอง ๖. ความรูด านการใหคาํ ปรึกษา
๖. ความรูดา นการบริหารจดั การ ๗. ความรูแ ละทกั ษะดานดิจิทลั
๘. ความรแู ละทักษะภาษาองั กฤษ
(Management)
๗. ความรูเรอ่ื งการบริหารคณุ ภาพองคกร

สวนที่ ๘ : การวัดผลสําเรจ็ ของงาน (Achievement Indicator)

ตัวชี้วดั (KPI) วิสยั ทัศน
๑. รอ ยละของผูเ รียนทผี่ า นเกณฑการประเมินศลี ธรรม คุณธรรม มารยาทชาวพทุ ธ
ตวั ชว้ี ดั (KPI) ขององคก ร
๑. รอยละจาํ นวนพระสอนศีลธรรมทีพ่ รอมปฏิบตั ิหนา ท่ี
๒. รอ ยละความสาํ เร็จการเบิก จา ยงบประมาณตามแผน
๓. รอยละความสาํ เร็จของกจิ กรรมตามแผนงานประจําป
ตวั ชี้วดั (KPI) ตามตาํ แหนง งาน
๑. รอยละการดําเนินการตามคําแนะนาํ การแกไขตามผลการตรวจสอบภายใน
๒. รอ ยละของขอรอ งเรียนทีไ่ ดร ับการแกไ ขไดส ําเร็จ

สวนท่ี ๙ : การลงนาม ทบทวนโดย อนุมตั โิ ดย
(Approved by) (Authorized by)
จัดเตรียมโดย
(Prepared by)

…………………………………. …………………………………. ………………………………….
(…………………………………… (……………………………………… (………………………………………

…) ..) ….)
วนั ท่ี ..... / ....... / ....... วันที่ ..... / ....... / ....... วันท่ี ..... / ....... / .......

๑๑

๒.๒

แบบบรรยายลกั ษณะงาน

เจา หนา ท่ศี ูนยอ าํ นวยการ
โครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น



๒.๒ เจาหนา ทีศ่ ูนยอํานวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น

แบบบรรยายลกั ษณะงาน

ขอ มลู ตาํ แหนง งาน
ชื่อตําแหนง (ไทย) : เจา หนา ทีศ่ นู ยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
สว นภูมภิ าค

ช่ือตาํ แหนง (อังกฤษ) :
ประเภท/ระดบั : ปฏิบัตกิ ารวชิ าชีพ/ปฏิบตั ิการ
สังกดั : วทิ ยาเขต / วิทยาลยั / หนว ยวิทยบรกิ าร
สายการบงั คับบญั ชา (Reporting Lines)
ผูบ ังคับบัญชาโดยตรง (ตําแหนง) : ผูอํานวยการศนู ยอาํ นวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรยี น สวนภมู ภิ าค

ผใู ตบงั คบั บญั ชาโดยตรง (ตําแหนง) :

สวนท่ี ๑ : วัตถปุ ระสงคของตาํ แหนง (Job Purpose)

ปฏิบัติงานดานการสรรหา คัดเลือกพระสอนศีลธรรม จัดเก็บและวิเคราะหขอมูลพระ
สอนศีลธรรม การเบิก จายงบประมาณหมวดคาตอบแทนพระสอนศีลธรรม สนับสนุนกิจกรรม
พัฒนาสมรรถนะพระสอนศีลธรรม ติดตอประสานงานกับสํานักงานพระสอนศีลธรรม
งานเลขานุการผูบริหาร งานกิจกรรมพิเศษ และปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของหรือท่ีไดรับ
มอบหมาย

สวนท่ี ๒ : ความรับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities)

งานภาพรวม

๑. วางแผนการทํางานที่รับผิดชอบ รวมดําเนินการวางแผนการทํางานของศูนยอํานวยการฯ
หรือโครงการเพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปตามเปา หมายและผลสัมฤทธท์ิ ีก่ ําหนด

๒. ประสานการทํางานรวมกันทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน เพื่อใหเกิดความรวมมือและ
ผลสมั ฤทธิต์ ามทีก่ าํ หนด

๑๒

๓. ตอบปญ หา ชแี้ จง และใหคําแนะนําเก่ยี วกบั งานในความรับผดิ ชอบ ในระดบั เบื้องตน แกพระ
สอนศีลธรรม หนวยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนท่ัวไป เพ่ือใหผูท่ีเก่ียวของไดทราบ
ขอ มลู และเกิดความเขา ใจในงานทร่ี ับผดิ ชอบ

๔. รายงานเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับงานและระเบียบท่ีเกี่ยวของ ตอผูบังคับบัญชา เพ่ือใหการ
ปฏิบัตงิ านเปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ

๕. ปฏบิ ัติงานอื่น ๆ ที่ไดร ับมอบหมาย
ดา นบริหาร แผนงานและประเมนิ ผล
๑. ศึกษา รวบรวมขอมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสนุนการบริหารงานศูนยอํานวยการโครงการ

พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในดานตาง ๆ เชน งานบริหารงบประมาณ งานบริหารแผนปฏิบัติ
การประจําป เปน ตน
๒. ปฏิบัติงานเลขานุการของผูอํานวยการศูนยอํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
เชน จัดทําตารางนดั หมาย กล่ันกรองเรื่อง จัดเตรียมเอกสารสําหรับการประชุม เปนตน เพื่อ
ไมใ หเกดิ ขอผิดพลาดในการวินจิ ฉัยส่งั การของผอู ํานวยการฯ
๓. จัดเตรยี มการประชมุ บันทึกและเรยี บเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่น ๆ เพ่ือใหการ
บริหารการประชุมมปี ระสิทธภิ าพและบรรลุวตั ถุประสงคข องโครงการ ฯ
๔. รบั หนังสอื จากหนวยงานภายในและภายนอก จัดทําทะเบียนหนังสือรับ – สง บันทึกรายละเอียด
และออกเลขที่หนังสือ บันทึกพิจารณาส่ังการ สําเนาแจงผูเกี่ยวของและจัดเก็บหนังสือ ตาม
มาตรฐานและระเบียบที่มหาวิทยาลัยกําหนด
๕. ราง และจัดทําหนังสอื โต – ตอบ เกีย่ วกบั งานตาง ๆ ท่ีรับผดิ ชอบ
๖. ทําเรื่องติดตอกับหนวยงานและบุคคลตาง ๆ ท้ังภายในและภายนอก เพ่ือใหการดําเนินงาน
บรรลเุ ปาหมายตามที่กาํ หนด
๗. ชวยติดตามการปฏิบัติตามมติที่ประชุม หรือการปฏิบัติตามคําส่ังของผูบริหารของศูนย
อํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพื่อรายงานและเปนขอมูลประกอบการ
พิจารณาของผูบงั คบั บญั ชาตอไป
๘. สรรหา คัดเลือก และบรรจุแตงต้ังพระสอนศีลธรรมใหพรอมปฏิบัติงาน จัดทําทะเบียน
ประวัติพระสอนศลี ธรรม บริหารจัดการสิทธิประโยชนแ ละสวสั ดิการของพระสอนศลี ธรรม
๙. ประเมินผลการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรม และเบิก จายคาตอบแทนประจําเดือนถวายพระ
สอนศลี ธรรม

๑๓

ดา นพัฒนาพระสอนศลี ธรรม

๑. สนับสนนุ จดั เกบ็ ขอมูล รวมรวม และวเิ คราะหข อ มูล การพัฒนาพระสอนศลี ธรรมในแตล ะ
ระดับเพ่ือนําไปสูการพัฒนาอยางตอ เนอ่ื ง

๒. ประสานงานกบั สํานักงานพระสอนศลี ธรรม พระสอนศีลธรรม และบคุ คลตา ง ๆ เพือ่
สนบั สนุนการพฒั นาพระสอนศลี ธรรม

สวนท่ี ๓ : อํานาจดาํ เนนิ การ (Financial Responsibilities / Authorization)

ระดบั การอนุมตั ิ

เรื่อง (Item) อนมุ ตั ิไดเ อง ตอ งขอคําแนะนาํ นําเสนอผบู ังคับบญั ชา
(Own Decision)
(Consulted by (Superior

Superior) Approval)

อา งถึง : ประกาศมหาวิทยาลยั เร่ือง หลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณและมาตรการเพม่ิ

ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๐

สวนที่ ๔ : การทํางานรวมกับหนว ยงานอน่ื (Working Relationship)

• หนวยงานภายนอก

หนว ยงาน/ตําแหนง งานท่ตี ดิ ตอ เรอ่ื งท่ีตอ งตดิ ตอ ความถี่
ตามท่ไี ดรบั
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราช บรู ณาการงานโครงการพระสอน มอบหมาย

วิทยาลัย ศีลธรรม ตามทไี่ ดร บั
มอบหมาย
คณะสงฆในจังหวดั งานบริหาร การปกครองคณะสงฆ
ตามที่ไดรับ
สาํ นกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั กิจการคณะสงฆ “งานศกึ ษา มอบหมาย

สงเคราะห” ตามที่ไดร ับ
มอบหมาย
กระทรวงวัฒนธรรมจงั หวัด กจิ กรรมสง เสริมคุณธรรมแหง ชาติ
ตามทไ่ี ดร บั
เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา (สพป./สพม.) ความรวมมอื กจิ กรรมการสอน มอบหมาย

๑๔

• หนวยงานภายใน เรอื่ งทีต่ อ งตดิ ตอ ความถ่ี
ทกุ เดอื น
หนว ยงาน/ตาํ แหนง งานที่ งบประมาณ การเงิน บญั ชี
ติดตอ การเบกิ จายคาตอบแทน
งานสรรหา คดั เลือก
สาํ นกั งานพระสอนศีลธรรม งานทะเบยี นประวัติ
งานพัฒนาพระสอนศีลธรรม
ธรุ การ สารบรรณ งานรับ - สง เอกสาร

สว นที่ ๕ : คุณสมบตั ิประจาํ ตาํ แหนง (Job Specifications)

วฒุ กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรีขึน้ ไป
สาขาวชิ าชีพ สาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วของ
ประกาศนียบัตร /ใบรับรองทาง ประกาศนยี บัตรนักธรรมชั้นเอก / ธรรมศึกษาช้ันเอก
วชิ าชีพ / ใบอนุญาต
(Certification / Licensing) เปน ไปตามขอ ๑๔ , ๔๖ และ ๔๗ แหงขอ บงั คบั
ประสบการณการทํางาน มหาวทิ ยาลัยฯ
(Professional Experiences) วา ดว ยการบริหารงานบคุ คล พ.ศ. ๒๕๕๙

สวนท่ี ๖ : ความสามารถประจําตาํ แหนง (Job Competency) ระดบั

• สมรรถนะหลัก (Core Competency) ๒
สมรรถนะหลัก (Core Competency) ๒

การยดึ ม่นั ในคณุ ธรรม (Integrity) ๒
การมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ (Achievement Motivation)
ความรบั ผิดชอบในงาน (Responsibility)
การทํางานเปน ทีม (Teamwork)
การวางแผนการทํางานอยางเปนระบบ (Systematic Job Planning)

๑๕

• สมรรถนะประจาํ ตาํ แหนงงาน (Functional Competency) ระดบั
สมรรถนะประจําตาํ แหนงงาน (Functional Competency) ๒

การคิดวเิ คราะห (Analytical Thinking) ๒
การมองภาพองครวม (Conceptual Thinking) ๒

การปฏิบตั ิงานตามอาํ นาจหนา ท่ี (Holding People Accountable)

ความเขาใจผอู ่ืน (Interpersonal Understanding)
ความยดื หยนุ ผอนปรน (Flexibility)

สวนที่ ๗ : ความรูความสามารถ ทกั ษะ ทจ่ี ําเปน ในตาํ แหนงงาน

ความรู ความสามารถ ความรู ความสามารถ

ทกั ษะ ภาคบังคับขององคกร ทกั ษะตามตาํ แหนง งาน

๑. พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณ ๑. ความรูดานกฎหมาย กฎระเบยี บ

ราชวิทยาลัย ขอบงั คบั

๒. ระเบยี บวาดวยการเงนิ และทรพั ยส ิน ๒. ความรูดา นการบรหิ ารและจัดการ

๓. ขอ บงั คบั วาดวยการบรหิ ารงานบุคคล ทรัพยากรบคุ คล

๔. พระราชบญั ญัติจดั ซอ้ื จัดจา ง/ระเบยี บ ๓. ความรูดา นการจัดการองคความรู

กระทรวงการคลงั และกฎหมายที่เก่ียวขอ ง ๔. ความรูด านการสรางความสมั พันธแ ละ

๕. ความรเู รอื่ งกฎหมายปกครอง ความรวมมือกับชมุ ชน

๖. ความรูดานการบรหิ ารจดั การ ๕. ความรูดา นการใหค ําปรึกษา

(Management) ๖. ความรูแ ละทกั ษะดา นดิจทิ ลั

๗. ความรเู ร่อื งการบรหิ ารคณุ ภาพองคกร ๗. ความรแู ละทักษะภาษาอังกฤษ

สวนท่ี ๘ : การวดั ผลสาํ เรจ็ ของงาน (Achievement Indicator)
ตวั ช้ีวดั (KPI) วสิ ยั ทศั น
๑. รอ ยละของผูเรยี นที่ผา นเกณฑก ารประเมินศลี ธรรม คุณธรรม มารยาทชาวพุทธ
ตวั ช้วี ดั (KPI) ขององคกร
๑. รอ ยละจาํ นวนพระสอนศีลธรรมท่ีพรอ มปฏิบตั ิหนา ท่ี
๒. รอ ยละความสําเรจ็ การเบกิ จายงบประมาณตามแผน
๓. รอ ยละความสําเร็จของกิจกรรมตามแผนงานประจาํ ป

๑๖

ตัวช้วี ดั (KPI) ตามตําแหนง งาน
๑. รอยละความสําเร็จการรายงานผลการดําเนินงานเสนอผูอํานวยการศูนยฯ และสํานักงาน
พระสอนศลี ธรรมไดตามกรอบคณุ ภาพและระยะเวลาท่ีกําหนด

สวนที่ ๙ : การลงนาม ทบทวนโดย อนมุ ตั ิโดย
(Approved by) (Authorized by)
จัดเตรยี มโดย
(Prepared by)

…………………………………. …………………………………. ………………………………….
(………………………………………) (………………………………………..) (…………………………………)
วันท่ี ..... / ....... / .......
วันที่ ..... / ....... / ....... วนั ท่ี ..... / ....... / .......

๑๗

๒.๓

แบบบรรยายลักษณะงาน

พระสอนศีลธรรม

๒.๓ พระสอนศลี ธรรม

แบบบรรยายลกั ษณะงาน

ขอมูลตาํ แหนง งาน
ชื่อตาํ แหนง (ไทย) : พระสอนศีลธรรม
ช่อื ตําแหนง (อังกฤษ) : Monk Teaching Morality
ประเภท/ระดับ : -
สังกดั : วทิ ยาเขต/ วิทยาลยั / หนวยวิทยบริการ
สายการบงั คับบัญชา (Reporting Lines)
ผบู ังคับบญั ชาโดยตรง (ตาํ แหนง) : ผูอาํ นวยการศนู ยอาํ นวยการโครงการพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรียน สวนภูมิภาค

ผใู ตบงั คับบัญชาโดยตรง (ตาํ แหนง ) :

สวนที่ ๑ : วตั ถปุ ระสงคของตาํ แหนง (Job Purpose)

ปฏิบัติงานชวยสอนสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
จดั กจิ กรรมอบรมศีลธรรม จรรยา, ตวิ นกั เรียนเตรยี มสอบธรรมศกึ ษา และพฒั นาโรงเรียนวถิ พี ุทธ

สว นที่ ๒ : ความรบั ผดิ ชอบหลกั (Key Responsibilities)

งานภาพรวม

๑. รวมกับครูประจําการในหมวดสังคมศึกษา วางแผนการสอนสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา
ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตามตารางการสอนทส่ี ถานศึกษากําหนด

๒. จดั กจิ กรรมพฒั นาผูเรียนดา นคุณธรรม ศีลธรรม จรยิ ธรรม รวมถึงมารยาทชาวพุทธ
๓. ตวิ นกั เรียนใหพรอ มสอบธรรมศึกษา
๔. ใหค ําแนะนํา เสนอแนะเพ่ือพัฒนาโรงเรียนสูความเปนโรงเรียนวิถีพุทธตามกระบวนการของ

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
๕. รายงานผลการสอนประจาํ เดือน และเสนอความคดิ เหน็ เก่ียวกับงาน และระเบียบที่เก่ียวของ

ตอ ผูบริหารโครงการฯ เพอ่ื ใหก ารปฏิบตั งิ านเปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ

๑๘

๖. ชวยประสานการทํางานรวมกันระหวางวัดหรือคณะสงฆ สถานศึกษาหรือสวนราชการ และ
ชมุ ชน อันจะเปนการเสรมิ สรา งความผูกพันและคณุ คา ใหกับผูม สี วนไดสว นเสยี ทุกกลุม

สว นที่ ๓ : อาํ นาจดาํ เนินการ (Financial Responsibilities / Authorization)

อนมุ ัติไดเอง ระดบั การอนุมตั ิ นําเสนอ
เรื่อง (Item) (Own Decision)
ตองขอคําแนะนาํ ผบู งั คับบญั ชา
(Consulted by (Superior

Superior) Approval)

อา งถงึ : ระเบยี บการปฏบิ ัติของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

สวนท่ี ๔ : การทาํ งานรว มกบั หนว ยงานอนื่ (Working Relationship)

• หนว ยงานภายนอก

หนวยงาน/ตําแหนง งาน เร่ืองท่ีตอ งตดิ ตอ ความถ่ี

ทีต่ ดิ ตอ ทกุ เดอื น
ตามท่ีกาํ หนด
สถานศกึ ษา ประสานการดําเนินงานการสอน ตามที่กําหนด

ผูรับบรกิ าร/ชุมชน งานดานพระสอนศลี ธรรมและบรกิ ารสังคม ความถี่

คณะสงฆในพ้นื ท่ี ดา นการปกครอง การเผยแผ การศกึ ษา ตามทกี่ าํ หนด
(๑๐ เดอื น)
สงเคราะห

• หนวยงานภายใน เรอื่ งท่ตี อ งติดตอ
หนว ยงาน/ตําแหนง งานท่ี รายงานผลการดาํ เนินงานรายเดอื น

ติดตอ
สาํ นักงานพระสอนศีลธรรม

หรือวิทยาเขต / วิทยาลัย /

หนว ยวทิ ยบริการ

๑๙

สวนท่ี ๕ : คณุ สมบัติประจําตาํ แหนง (Job Specifications)

๕.๑ เปนพระภิกษุ สัญชาติไทย มวี ุฒกิ ารศึกษานกั ธรรมเอก หรอื
๕.๒ เปนพระสงั ฆาธิการ หรอื
๕.๓ เปนพระภิกษุ มีวุฒิการศึกษานักธรรมโท และจบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรที่
มหาวิทยาลยั รับรอง หรือ
๕.๔ เปนพระภิกษุ ทีม่ ีประสบการณในการสอนไมนอยกวา ๒ ภาคการศกึ ษา
๕.๕ ไมเปน โรคเรือ้ รงั โรคประสาท หรอื โรครา ยแรงทม่ี ีผลตอ การปฏิบตั กิ ารสอนศลี ธรรม
๕.๖ กรณีคุณสมบัติไมเปนไปตามท่ีกําหนดใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการฯ หรือ
เจาคณะผูปกครองทางคณะสงฆ
๕.๗ จะตอ งมีโรงเรียนท่ปี ฏิบตั กิ ารสอนจรงิ ตามใบสมัครทยี่ นื่ ตอ คณะกรรมการฯ
๕.๘ จะตอ งพาํ นักอยูในจังหวัดที่จะสมคั ร

สว นที่ ๖ : ความสามารถประจาํ ตาํ แหนง (Job Competency) ระดับ

• สมรรถนะพระสอนศลี ธรรม (Core Competency) ๑
สมรรถนะหลกั (Core Competency)

การควบคมุ ตนเอง / ศีลาจารวัตร (Self-Control)
ทักษะการสอนเบื้องตน (Basic Teaching Skill)
การสรา งความสมั พนั ธก ับสงั คมและชมุ ชน (บ-ว-ร) (Relationship)

สวนท่ี ๗ : ความรคู วามสามารถ ทกั ษะ ทจ่ี ําเปนในตําแหนง งาน

ความรู ความสามารถ ความรู ความสามารถ

ทักษะ ภาคบงั คับขององคก ร ทักษะตามตาํ แหนง งาน

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา (พระปรยิ ตั ธิ รรม) ทกั ษะการสอน

ประวตั ิพระพุทธศาสนา ทกั ษะการสือ่ สาร

ศาสนพธิ ีและวฒั นธรรมประเพณีไทย

๒๐

สวนท่ี ๘ : การวัดผลสําเร็จของงาน (Achievement Indicator)
ตัวชี้วดั (KPI) ตามตาํ แหนง งาน
๑. รอ ยละความสาํ เรจ็ ของการสนบั สนุนการจดั การเรียนการสอนวิชาพระพทุ ธศาสนาไดตามแผน
๒. รอยละความสาํ เรจ็ ของการจัดทํารายงานการปฏบิ ตั งิ านรายเดือน

สวนที่ ๙ : การลงนาม ทบทวนโดย อนมุ ัติโดย
(Approved by) (Authorized by)
จัดเตรียมโดย
(Prepared by)

…………………………………. …………………………………. ………………………………….
(……………………………....…) (…………………………………..) (……………………………………….)
วันท่ี ..... / ....... / .......
วนั ท่ี ..... / ....... / ....... วนั ท่ี ..... / ....... / .......

๒๑

บทที่ ๓ กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน

อางถึง ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑการจัดสรร

งบประมาณ และมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการพระสอนศีลธรรมใน

โรงเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไดระบุบทบาทหนาที่

และความรับผิดชอบ รวมถึงมาตรฐานการปฏิบัติงานและตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงานของศูนย

อํานวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น สวนภมู ิภาค

เพอื่ ใหศ ูนยอํานวยการโครงการฯ ทุกแหง ทราบกระบวนการปฏิบัติงานท่ีตองรับผิดชอบ

และสามารถปฏิบัติงานได สํานักงานพระสอนศีลธรรม จึงรวบรวมจัดทํากระบวนการปฏิบัติงาน

หลกั ๒ กระบวนการ ประกอบดวย

๑) กระบวนการสรรหา คัดเลอื กพระสอนศีลธรรม

๒) กระบวนการเตรยี มความพรอ มพระสอนศลี ธรรม

๓) กระบวนการเบกิ จายคา ตอบแทนพระสอนศีลธรรม

๔) กระบวนการตดิ ตามการปฏบิ ตั ิงานของพระสอนศีลธรรม

และเพอื่ ใหเ ขา ใจสัญลกั ษณทใ่ี ชใ นผังกระบวนการขออธิบายความหมายไว ดงั ตารางน้ี

สัญลักษณ ความหมาย

จุดเรมิ่ ตน และ สิน้ สุดของกระบวนการ

กจิ กรรมและการปฏบิ ัตงิ าน

การตัดสนิ ใจ เชน การตรวจสอบ การอนมุ ตั ิ

แสดงถึงทิศทาง หรือการเคลือ่ นไหวของงาน

๒๒

๓.๑

กระบวนการสรรหา
คัดเลือกพระสอนศีลธรรม

๓.๑ กระบวนการสรรหา คัดเลอื กพระสอนศีลธรรม

ลาํ ดับ ผังงาน กระบวนการ ผรู ับผิดชอบ

เร่มิ ตน ปฏบิ ตั งิ าน

๑ ผา น รับเอกสารสมคั ร จนท.โครงการฯ พร

ไมผา น เปน พระสอนศลี ธรรม ศลี

กา

ออ

หร

โค

หน

A
B

๒๓

ลกั ษณะงาน เอกสาร/แบบฟอรม

ระภิกษทุ ปี่ ระสงคส มคั รเปน พระสอน - สาํ เนาบัตรประจําตวั ประชาชน *

ลธรรม มจร เตรียมเอกสารประกอบ - สาํ เนาวุฒกิ ารศึกษาปริยัตธิ รรม *

ารสมคั รตามหลกั เกณฑ ผานชอ งทาง - สาํ เนาบญั ชีธนาคารของผูสมคั ร *

อนไลนท ่ี www.mbpra.mcu.ac.th - รปู ถา ยหนาตรง ๑ น้ิว *

รือ สมัครดวยตนเอง ณ สํานักงาน - สาํ เนาวฒุ กิ ารศึกษาสายสามัญ

ครงการพระสอนศีลธรรมฯ ประจํา (ถามี)

นวยทีต่ นเองสังกดั - สาํ เนาทะเบยี นบาน (ถา ม)ี

- หนังสอื รับรองจากสถานศกึ ษา

(ถามี)

(เอกสารท้งั หมดใชอ ยางละ ๑ ชดุ )

* เปน เอกสารท่ีตอ งใช ขาดไมไ ด

ลาํ ดบั ผังงาน กระบวนการ ผูรับผดิ ชอบ
ปฏิบตั งิ าน
BA จนท.โครงการฯ ตร
ตรวจสอบเอกสาร ปร
ผา น สอ
ไมผา น ปจ
หา
๒ แก

ประกาศรายชอื่ ผอ.โครงการฯ เจ

ผูพรอมข้นึ ทะเบียน ลง

เปนพระสอนศลี ธรรม รับ

๓ ทร
สอื่

C

๒๔

ลกั ษณะงาน เอกสาร/แบบฟอรม

รวจสอบความครบถว นของเอกสารและ ขอมูลพระสอนศีลธรรมทีพ่ รอ มใชงาน

รับปรุงขอมูลในระบบฐานขอมูลพระ - แฟม เอกสารประวตั พิ ระสอน
อนศีลธรรม ใหครบถวน และเปน ศลี ธรรม

จจบุ นั - ระบบฐานขอ มูลพระสอนศีลธรรม
ากไมค รบถว นใหแ จงผูสมคั ร
กไข/ เปลย่ี นแปลง/ เพ่มิ เติม

จาหนาที่จัดทําเอกสารเสนอผูบริหาร - ประกาศรายชอ่ื พระสอนศีลธรรม
งนาม ประกาศใหพระสอนศีลธรรม ผา นทกุ ชอ งทางการส่อื สาร
บทราบและแจงเจาคณะผูปกครอง
ราบตามลําดับ ผานทุกชองทางการ
อสาร

ลาํ ดับ ผังงาน กระบวนการ ผรู บั ผดิ ชอบ

ปฏบิ ตั งิ าน

เตรียมความพรอม ผอ.โครงการฯ - ช

C และส่ือสาร สรางความ และ คูม

เขา ใจ ชแี้ จงบทบาท จนท.โครงการฯ - เ

หนา ทพ่ี ระสอน ปฏ

๔ ศีลธรรม พร
เพ

คณุ

-ม

-ม

-ม

ติดตาม ปรับปรุงขอมูล จนท.โครงการฯ เจ

๕ สน้ิ สุด และรายงานความ พร
พรอมจํานวนพระสอน พ

ศลี ธรรม ปร

๒๕

ลกั ษณะงาน เอกสาร/แบบฟอรม

ชี้แจงรายละเอียดการปฏิบัติงานตาม - บันทึกขอตกลงการเปนพระสอน

มือพระสอนศีลธรรม ศีลธรรม

เตรียมความพรอมสําหรับการ - บตั รประจาํ ตัวพระสอนศีลธรรม

ฏิบัติงานผานหลักสูตร “มาตรฐาน - หนงั สือสง ตวั พระสอนศลี ธรรม

ระสอนศีลธรรม” จํานวน ๔ ชั่วโมง - คูม ือพระสอนศีลธรรม

พื่อทบทวน เตรียมความพรอมใหมี - เน้ือหาหลักสูตร และเอกสาร

ณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค ๓ ประการ ประกอบการบรรยายหลักสตู ร

มีศีลาจารวตั รงดงาม นาเล่ือมใส มาตรฐานพระสอนศีลธรรม

มที ักษะการสอนเบ้ืองตน

มที กั ษะการสรางความสมั พนั ธ บวร

จา หนา ทีจ่ ัดเก็บ ปรบั ปรุงฐานขอมูล - แฟม เกบ็ เอกสาร

ระสอนศีลธรรมใหเปนระเบียบ - ฐานขอ มูลพระสอนศลี ธรรมทีไ่ ดรับ

ร อ ม ใ ช ง า น แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล การปรบั ปรงุ ทนั สมัย พรอมใชง าน

ระจําเดือน

๓.๒

กระบวนการเตรยี มความพรอ มพระสอนศลี ธรรม
(การปฐมนเิ ทศพระสอนศีลธรรม)

๓.๒ กระบวนการเตรยี มความพรอ มพระสอนศลี ธร

ลาํ ดบั ผงั งาน กระบวนการ ผูรับผดิ ชอบ
ปฏิบตั ิงาน
Gเริม่ ตน แผนการเตรยี มความ ผอ.โครงการฯ - ร
และ พร
๑ พรอ มพระสอน
ศีลธรรมและการจดั จนท.โครงการฯ กร
-ป
ปฐมนิเทศ สถ
ทวั่ ประเทศ -เ
อน
-แ
อย

A

๒๖

รรม (การปฐมนเิ ทศพระสอนศลี ธรรม) เอกสาร/แบบฟอรม
ลักษณะงาน

รับนโยบายแนวทางการเตรียมความ - บันทกึ ขอความอนุมัตโิ ครงการฯ

รอมพระสอนศีลธรรมจากคณะ ที่แนบดวย

รรมการบรหิ ารโครงการฯ * ตัวโครงการ ฯ

ประ สานงานกําหนด วัน เวลา * ประมาณการคาใชจา ย และใบ

ถานที่ และจดั ทาํ กาํ หนดการ ตดั งบประมาณจากระบบ

เจาหนาที่รางบันทึกขอความขอ * กําหนดการ

นมุ ตั ิดาํ เนินโครงการฯ - หนงั สอื แจงพระสอนศีลธรรม

แจงใหพระสอนศีลธรรมรับทราบ

ยางเปน ทางการ

ลาํ ดบั ผงั งาน กระบวนการ ผรู ับผดิ ชอบ
ปฏบิ ตั ิงาน
A ส่อื สารและ ผอ.โครงการฯ เต
และ -
๒ ประชาสมั พันธ
จนท.โครงการฯ ผบู
B การจัดปฐมนิเทศ -น
บร
“จ

-เ
กา
กา
-น
จุฬ
ศีล
สง

๒๗

ลักษณะงาน เอกสาร/แบบฟอรม

ตรียมความพรอ มกอ นวันจัดงาน - เอกสารส่อื สาร ประชาสัมพนั ธ ทัง้

เจาหนาท่ีจัดทําหนังสือเชิญ เสนอ หนว ยงานภายในและหนวยงาน

บริหารลงนาม ภายนอก

นิมนตผูแทนพระสังฆาธิการในพ้ืนท่ี - หนังสอื เชิญ ทีแ่ นบดวย

รรยาย ถวายความรูแนวปฏิบัติดาน * กําหนดการ

จริยวัตรพระสอนศีลธรรม” เน้ือหา * แผนท่เี ดนิ ทาง

ชว่ั โมง

เชิญผูเช่ียวชาญดานการจัดการเรียน

ารสอนในช้ันเรียน บรรยาย “ทักษะ

ารสอนเบ้ืองตน ” เนือ้ หา ๒ ชว่ั โมง

นิมนตผูบริหารมหาวิทยาลัยมหา

ฬาฯ บรรยาย “บทบาทพระสอน

ลธรรมกับการสงเสริมพันธกิจคณะ

งฆใหเ ขม แข็ง” ๑ ชัว่ โมง

ลาํ ดบั ผงั งาน กระบวนการ ผรู ับผิดชอบ
ปฏิบตั ิงาน
B จัดกจิ กรรมเตรยี ม จนท.โครงการฯ - ต
วธิ
๓ ความพรอ มพระสอน
ศลี ธรรมและการจดั

ปฐมนเิ ทศ
๕ สิน้ สุด
ดาํ เนินการตาม ผอ.โครงการฯ - ด
กําหนดการ และ - จ

ประเมนิ ผล จนท.โครงการฯ - จ
รายงานผล -บ
คว

ผอ.โครงการฯ สร
และ แบ

จนท.โครงการฯ พร
หล
สาํ

๒๘

ลักษณะงาน เอกสาร/แบบฟอรม

ตรวจสอบความพรอมตามแบบฟอรม - แบบฟอรม ตรวจสอบความพรอ ม
ธกี ารจัดโครงการฯ (Check List) (Check List)

ดําเนนิ การตามกาํ หนดการ - เน้ือหาหลกั สูตร และเอกสาร

จดั เกบ็ เอกสารสําคัญการเบิก จา ย ประกอบการบรรยายหลักสตู ร

จัดเก็บเอกสารสาํ คัญอนื่ ๆ มาตรฐานพระสอนศีลธรรม

บันทึกภาพ วีดีโอ และ ถอดรหัส - บทสรุปหลังการจัดสัมมนา After

วามรใู นการบรรยายทุกชว ง Action Review

รุปผลการดําเนินโครงการตาม แบบฟอรม รายงานผลโครงการฯ

บบฟอรม ที่กําหนด สงสํานักงาน

ระสอนศีลธรรม ภายใน ๑๕ วัน

ลังจากเสร็จโครงการฯ และเก็บ

าเนาไว ๑ ชดุ

๓.๓

กระบวนการเบกิ จายคา ตอบแทน
พระสอนศีลธรรม

๓.๓ กระบวนการเบกิ จายคา ตอบแทนพระสอนศลี ธร

ลาํ ดบั ผงั งาน กระบวนการ ผรู ับผดิ ชอบ

เร่ิมตน ปฏิบตั ิงาน

รบั เอกสารใบรายงาน จนท.โครงการฯ - พ

การสอนประจาํ เดือน ปฏ

เว

-น

นา

-น

ภา

-ร

ตรวจเอกสารใบ จนท.โครงการฯ - ต

ไมผ า น รายงาน ผล

การสอนประจําเดอื น ปร

๒ และบันทกึ ขออนมุ ตั ิ

B ผา น เบกิ จาย

A (จ

๒๙

รรม เอกสาร/แบบฟอรม
ลักษณะงาน

พระสอนศีลธรรมทํารายงานผล - ใบรายงานผลปฏิบัติการสอน

ฏิบัติการสอนประจําเดือน ทาง ประจําเดอื น

วบ็ ไซต www.mbpra.mcu.ac.th - ขอมลู สรุปจํานวนพระสอนศีลธรรม

นําเสนอผูอํานวยการสถานศึกษาลง ทสี่ ง ใบรายงานฯ

ามรับรอง

นําสงศูนยอํานวยการโครงการฯ

ายในวันท่ี ๗ ของเดือนถดั ไป

รับเอกสารเขาระบบสารบรรณ

ตรวจสอบความถูกตองของใบรายงาน - ใบรายงานผลปฏิบตั ิการสอน

ลปฏิ บั ติ ก ารสอน ประ จํ าเดื อน ประจําเดือนทผ่ี านการตรวจสอบ

ระกอบดว ย - เอกสารประกอบการขอนุมตั เิ บกิ

* ตราประทับ ร.ร. จายคา ตอบแทนพระสอนศีลธรรม

* ลายเซน็ ผอ.ร.ร. ประจาํ เดอื น

* ลายเซน็ พระสอนศลี ธรรม

จ น ท . ล ง ชื่ อ ใ น เ อ ก ส า ร ที่ ผ า น ก า ร

ลาํ ดบั ผังงาน กระบวนการ ผรู ับผิดชอบ
ปฏิบัตงิ าน
BA ตร
การอนุมตั ิเบกิ จาย -บ
๓ ไมผา น คาตอบแทน คา
โป
ผา น พระสอนศีลธรรม ผอ.โครงการฯ - เ
อน
๔ ผูบ
-ผ
C ๑๐

เบิก จายคา ตอบแทน ผอ.โครงการฯ - เ
พระสอนศีลธรรม และ บัญ
และรายงานผล
จนท.โครงการฯ รา
การเบิก จาย -ส
ศีล
ให
*

๓๐


Click to View FlipBook Version