กฎหมายแพง่ เกีย่ วกับตนเองและครอบครวั
ครูปาลีรตั น์ สายมณวี งศ์
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรยี นไพรบงึ วิทยาคม
สังกัดองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดศรสี ะเกษ
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกับตนเองและครอบครวั
เน้อื หาประกอบดว้ ย
- กฎหมายเกี่ยวกบั ตนเอง เช่น บคุ คล ทรัพยส์ นิ ละเมดิ
- กฎหมายครอบครวั และมรดก เชน่ หมัน้ สมรส และมรดก
กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเองและครอบครัว
ความรเู้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกบั กฎหมายแพง่
• กฎหมายแพ่ง ถือเปน็ กฎหมายเอกชน มีความเก่ยี วขอ้ งในชีวิตของเราทุกคน
• ในคดีแพ่งน้ัน สามารถยอมความกันได้ ข้ึนอยู่การตกลงของคู่กรณี ซึ่งต่าง
จากกฎหมายอาญา เพราะแม้คูก่ รณจี ะไมเ่ อาความ กฎหมายกล็ งโทษได้
• เนื้อหาในประมวลกฎหมายแพ่งจะวา่ ด้วยเร่ืองต่าง ๆ ดังนี้
บุคคล ครอบครวั ทรัพยส์ นิ นติ ิกรรม สัญญา
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายว่าดว้ ยเรอื่ งบคุ คล
กฎหมายทเี่ กีย่ วกับบคุ คล ได้แก่
- กฎหมายที่รับรองให้เรามีสภาพบุคคล คือ ให้เราเป็นผู้มีความสามารถและ
สามารถใช้สิทธิ หน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบต่างๆ ตามกฎหมายได้
- สภาพบคุ คลเริม่ ตง้ั แต่เมื่อคลอดจากครรภ์มารดาแล้วอยู่รอดเป็นทารกและ
สิ้นสุดลงเม่ือตาย ทารกท่ีอยู่ในครรภ์มารดายังไม่มีฐานะเป็นบุคคล แต่กฎหมายจะ
คมุ้ ครองเป็นพิเศษผู้ใดทาลายยอ่ มมีความผดิ ฐานทาใหแ้ ท้งลกู
- นิติบคุ คลเริ่มตน้ เมอื่ จดทะเบียนและส้ินสดุ เมอ่ื จดทะเบียนเลิก
กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเองและครอบครัว
กฎหมายว่าด้วยเรือ่ งบคุ คล
กฎหมายจาแนกบคุ คลออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั นี้
• บุคคลธรรมดา บคุ คลธรรมดา นิตบิ คุ คล
• นิตบิ คุ คล
คอื บคุ คลทีก่ ฎหมายบัญญตั ิรับรองให้มีสภาพ
คอื มนษุ ย์ที่คลอดจากครรภม์ ารดาแลว้ อยรู่ อด เป็นบุคคลได้ แม้ไม่ใช่บุคคล เช่น กระทรวง
เป็นทารก และสภาพบคุ คลสนิ้ สุดลงเม่อื ตาย กรม องคก์ ารมหาชน บริษทั สมาคม สหกรณ์
กลมุ่ เกษตรกร กองทรพั ย์สิน มลู นิธิ
กฎหมายแพง่ เกี่ยวกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายว่าด้วยเร่อื งบุคคล
๑. การกาหนดตวั บคุ คล กฎหมายมวี ิธีการกาหนดตวั บคุ คลเพ่อื ใหเ้ กดิ
ความชดั เจนวา่ ใครเป็นใคร และมบี ทบาททางกฎหมายในสังคมได้เพียงใด
ซ่ึงสิง่ ที่นามาใชก้ าหนดตัวบุคคล ไดแ้ ก่
๑. ชือ่ บคุ คล ๒. ภูมลิ าเนา ๓. สถานะ ๔. ความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั ิ คอื ท่ีอยู่ประจา ความเปน็ อยู่ เชน่ คือ บุคคลมสี ทิ ธิและ
ช่อื บุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ และแน่นอน ปรากฎใน สญั ชาติ การสมรส ความรบั ผดิ ชอบทาง
ทะเบียนบ้าน กฎหมายเพยี งใด
ผู้เยาว์ บุตร
กฎหมายแพ่งเก่ียวกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายวา่ ด้วยเร่อื งบุคคล
อธบิ ายเพมิ่ เตมิ เร่อื ง ความสามารถของบุคคล แบง่ ได้ ๓ กรณี
๑. ผ้เู ยาว์
- ผเู้ ยาว์ คอื ผู้ทยี่ ังไม่บรรลุนิติภาวะ
- ผ้เู ยาวบ์ รรลุนติ ิภาวะเมื่อมอี ายุ ๒๐ ปีบรบิ ูรณ์หรือทาการสมรสจดทะเบยี นอย่างถูกตอ้ ง
- ผู้เยาว์ มผี ูด้ ูแลเรียกวา่ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม คาวา่ ผ้แู ทนโดยชอบธรรมแบง่ เป็น ๒ อยา่ ง คือ
ผู้ใช้อานาจปกครอง คือ บิดา มารด และผู้ปกครอง คือ กรณีผู้ใช้อานาจปกครองถูกถอนจะมีการตั้งข้ึนมา
ใหม่
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั
กฎหมายว่าด้วยเร่ืองบคุ คล
อธบิ ายเพ่มิ เตมิ เรอ่ื ง ความสามารถของบุคคล แบง่ ได้ ๓ กรณี
๑. ผู้เยาว์ (ตอ่ )
-ผู้เยาวท์ านติ ิกรรมใด ต้องไดร้ บั ความยนิ ยอมของผแู้ ทนโดยชอบธรรมก่อน หากปราศจากความยนิ ยอม
จากผ้แู ทนโดยชอบธรรม ถือ เปน็ โมฆียะ
- นติ ิกรรมท่ีผเู้ ยาว์ทาเองไดโ้ ดยไมต่ ้องขอคายินยอม เช่น รบั การใหโ้ ดยเสน่หา เจ้าหน้ีปลดหนี้ให้ผู้เยาว์
โดยไมม่ ีเง่ือนไข รับรองบุตร สมรส กระทาการสมแก่ฐานานรุ ูปแหง่ ตน
- ผ้เู ยาวอ์ าจทาพนิ ยั กรรมไดเ้ มื่ออายุ ๑๕ ปี ทาพินยั กรรมก่อน ๑๕ ปเี ป็นโมฆะ
กฎหมายแพง่ เกยี่ วกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายว่าดว้ ยเร่ืองบุคคล
อธบิ ายเพิม่ เติมเร่ือง ความสามารถของบุคคล แบ่งได้ ๓ กรณี
๒. คนไรค้ วามสามารถ
- คนไรค้ วามสามารถ คอื บคุ คลวิกลจรติ ซึ่งไม่มสี ติสมั ปชญั ญะ บ้าถาวร ต้องเป็นศาลส่ังเท่านั้น จึงจะ
ไร้ความสามารถ หากคนวกิ ลจรติ ไมถ่ ูกศาลสงั่ กท็ านิติกรรมได้ตามปกติ ต้องใหป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา
- คนไร้ความสามารถ จดั อย่ใู นความดแู ลของคนทศี่ าลส่งั เรียกวา่ ผอู้ นุบาล
- คนไรค้ วามสามารถทานติ กิ รรมอะไรไมไ่ ด้เลย เปน็ โมฆียะทง้ั หมด
- คนไร้ความสามารถทาพินัยกรรม และ สมรส จะเป็นโมฆะ
กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ตนเองและครอบครวั
กฎหมายวา่ ดว้ ยเรือ่ งบคุ คล
อธบิ ายเพ่ิมเตมิ เรอ่ื ง ความสามารถของบคุ คล แบง่ ได้ ๓ กรณี
๓. คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ
- คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ ไม่ถึงกับวิกลจริต แต่มีกายพิการ จิตฟั่นเฟือน ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย
ติดสรุ ายาเมา จนหรือจดั กิจการไปในทางทอี่ าจจะเสอ่ื มเสียแก่ทรัพย์สนิ ของตนเองหรือครอบครัว
- ผดู้ แู ลคนเสมอื นไรค้ วามสามารถเรยี กว่า ผู้พิทกั ษ์
- คนเสมือนไรค้ วามสามารถทานิติกรรมเองไดท้ ว่ั ไป โดยมีผลสมบูรณ์
กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายว่าด้วยเรื่องบคุ คล
๒. หลักฐานแสดงตัวบุคคล
- พระราชบัญญัติบัตรประจาตัวประชาชน (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๔
- กาหนดให้บุคคลสัญชาติไทยอายุตั้งแต่ ๗ ปีบริบูรณ์
ข้ึนไป แตไ่ มเ่ กิด ๗๐ ปีบรบิ รู ณ์ ต้องมบี ตั รประจาตัวประชาชน
เพื่อเป็นเอกสารสาคัญในการใช้พิสูจน์ตัวบุคคล
ภมู ลิ าเนา และสถานะบางอย่างของบุคคล
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครวั
กฎหมายเร่อื งทรพั ยส์ นิ
๑. ความหมายของทรัพยส์ ิน
- ทรพั ย์ คอื วัตถมุ รี ูปรา่ ง ไม่จาเป็นตอ้ งใหญห่ รอื เลก็
- ทรัพย์สิน คือ ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมี
ราคาและอาจถือเอาได้ กาหนดวิธีได้มา ตลอดจนรับรอง
สิทธิตา่ ง ๆ ในสิ่งนัน้
นอกจากน้ที รพั ยส์ นิ ยังรวมถึงสทิ ธติ ่าง ๆ เชน่
สทิ ธิบัตร ลิขสิทธ์ิ กรรมสทิ ธิ์ เป็นตน้
กฎหมายแพ่งเก่ียวกบั ตนเองและครอบครวั
๒. ประเภทของทรพั ย์สิน กฎหมายเร่ืองทรัพยส์ นิ
กฎหมายได้แบ่งทรัพย์สินและประโยชน์เกี่ยวกับ ๒.๑ สังหาริมทรัพย์
ทรพั ย์สินออกเปน็ หลายประเภท ทีส่ าคัญ ได้แก่
• ทรัพย์สินที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ไม่ติดอยู่กับ
๒.๑ สังหารมิ ทรพั ย์ พ้ืนดนิ
๒.๒ อสังหาริมทรพั ย์
• รถยนต์ เครือ่ งใชใ้ นครวั เรอื น เสือ้ ผ้า เครอ่ื งประดับ
• สิทธิในสังหารมิ ทรัพย์ เชน่ สทิ ธบิ ตั ร ลิขสิทธิ์ กจ็ ดั วา่
เปน็ สังหาริมทรพั ย์ด้วยเชน่ กนั
กฎหมายแพง่ เก่ยี วกับตนเองและครอบครัว
๒. ประเภทของทรัพยส์ ิน กฎหมายเรอ่ื งทรพั ยส์ นิ
กฎหมายได้แบ่งทรัพย์สินและประโยชน์เกี่ยวกับ อสังหาริมทรพั ย์ คอื ทรัพยเ์ คล่ือนท่ไี มไ่ ด้ ได้แก่
ทรัพยส์ นิ ออกเป็นหลายประเภท ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ - ท่ีดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็น
๒.๒ อสงั หารมิ ทรพั ย์ การถาวร เช่น บ้าน ไมย้ ืนต้นอายุเกิน ๓ ปี
- ทรัพย์ที่ประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน เช่น
กรวด หนิ ดิน ทราย แรธ่ าตุ ทอง ดีบุก
- ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดิน เช่น สิทธิจานอง
สิทธเิ กบ็ กนิ สิทธอิ าศัย สิทธิเหนือพน้ื ดนิ
กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั
สาระน่ารู้ กฎหมายเรอื่ งทรัพยส์ ิน
“สังหารมิ ทรัพย์ชนดิ พิเศษ”
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ หมายถึง ทรัพย์ท่ี
กฎหมายไดก้ าหนดใหล้ กั ษณะพิเศษกว่าสังหาริมทรัพย์
ทวั่ ไป ไดแ้ ก่
- เรอื กาปัน่ มีระวางต้งั แต่ ๖ ตันขน้ึ ไป
- เรอื กลไฟ หรอื เรือยนตร์ ะวางตัง้ แต่ ๕ ตนั ขน้ึ ไป
- แพ และสัตว์พาหนะ ช้าง มา้ ววั ควาย ลา ลอ่
กฎหมายแพง่ เกีย่ วกับตนเองและครอบครัว
๓. สิทธิในทรพั ยส์ นิ กฎหมายเร่อื งทรพั ยส์ ิน
คือ ประโยชนท่ีบคุ คลมีอยูใ่ นทรพั ย์สิน ซึ่งสทิ ธิท่ีสาคัญ ๑. ได้มาโดยบทบัญญตั ิของกฎหมาย
ได้แก่ กรรมสิทธ์ิ หมายถึง สิทธิในการเป็นเจ้าครอง มี เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายโอนสาธารณ
สิทธิครอบครองในทรัพย์นั้น สามารถใช้สอย จ่ายโอน
ขดั ขวางมใิ ห้ผู้อนื่ มายงุ่ ในทรัพย์ได้ สมบตั แิ ผน่ ดินหรอื ทธ่ี รณีสงฆ์
๒. ไดม้ าโดยผลของนติ ิกรรมและสัญญา
บุคคลมีสิทธใิ นทรัพยม์ าจาก ๒ กรณี ดังน้ี
เช่น ได้โดยการรบั มรดก ซื้อทรัพย์สนิ ตามสญั ญาซ้อื ขาย
๑. บทบัญญัตกิ ฎหมาย ผเู้ ชา่ ไดส้ ทิ ธติ ามสัญญาเช่า
๒. โดยผลของนิตกิ รรม
กฎหมายแพง่ เก่ยี วกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายเรื่องละเมดิ
หลักของละเมดิ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ว่า - ละเมิดเป็นกฎหมายที่ป้องกันการก่อความเสียหายแก่
“ผู้ใดกระทาต่อบุคคลอ่ืนโดยผิดกฎหมายให้เขา สทิ ธิและเสรภี าพของผู้อื่น
- การละเมิดบางกรณีอาจเปน็ ความผิดทางอาญาด้วย เช่น
ไดร้ ับความเสยี หายไม่วา่ แกช่ วี ติ ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ การทาให้ทรัพย์สินของผู้อ่ืนเสียหายโดยเจตนา มีสิทธิ
ทรัพย์สนิ หรือสิทธอิ ยา่ งใดอย่างหนึ่ง จะโดยจงใจหรอื โดย เรียกร้องคา่ เสยี หายและอาจฟ้องให้ผู้กระทาผิดได้รับโทษ
ประมาทเลินล่อกต็ าม ผ้นู น้ั ได้ชอื่ ว่าทาละเมดิ จะตอ้ งใช้ค่า ทางอาญาด้วย
สินไหมทดแทนใหแ้ ก่ฝา่ ยท่ีได้รบั ความเสียหาย”
กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเองและครอบครัว
กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครวั
๑ การหม้ัน คือ การทาสัญญาระหว่างชายกบั หญิงว่าจะสมรสกนั
โดยฝ่ายชายไดม้ อบของหมั้นไวใ้ ห้แก่ฝ่ายหญิงเพอ่ื เปน็ ประกนั
หมน้ั ท้ังฝ่ายชายและหญิงอายุครบ ๑๗ ปบี รบิ รู ณ์ ต้องมหี ากผเู้ ยาวต์ ้อง
ไดร้ ับความยินยอม
ของหมั้นจะตกเปน็ สินส่วนตวั ของฝา่ ยหญงิ
การผดิ สญั ญาหมน้ั สามารถเรียกคา่ ทดแทนได้ แตจ่ ะให้ศาล
บงั คับสมรสไมไ่ ด้
กฎหมายแพง่ เก่ียวกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกย่ี วกับครอบครวั
๑ การหมั้น (ต่อ)
- การหม้ันเป็นโมฆะ เม่ือทั้ง ๒ ฝ่ายหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอายุไม่ถึง ๑๗ ปีบริบูรณ์
- การหมนั้ เปน็ โมฆยี ะ เม่อื ผ้เู ยาวห์ ม้นั โดยไมไ่ ด้รับยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม
- การหมนั้ จะสมบูรณ์เม่ือฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนของหมั้นให้แก่หญิง ในวัน
หมั้น หากให้ในวนั อน่ื ไมถ่ อื ว่าเปน็ ของหมน้ั
- การผิดสัญญาหมั้น ถ้าฝ่ายชายผิด หญิงไม่ต้องคืนของหม้ัน แต่ถ้าฝ่ายหญิงผิด
หญงิ ต้องคืนของหม้ัน
กฎหมายแพ่งเก่ียวกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกย่ี วกับครอบครวั
๒ การสมรส
- การสมรสจะทาไดก้ ต็ อ่ เม่อื ชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปี หากต่ากวา่ น้ีต้องศาลสั่ง
หากฝา่ ฝนื ถือวา่ เปน็ โมฆียะ
- การสมรสตอ้ งจดทะเบยี น ถ้าจัดงานแต่งแตไ่ มจ่ ดทะเบยี นถือว่าไมม่ ีการสมรส
- การสมรสห้ามเป็นคนวกิ ลจริตหรอื คนไร้ความสามารถ มิฉะน้ันเป็นโมฆะ
- ห้ามเป็นญาตสิ บื สายโลหิตกนั โดยตรง มฉิ ะน้นั เปน็ โมฆะ
- ผู้รับบุตรบญุ ธรรมและบุตรบญุ ธรรม สมรสกนั ได้เม่ือเลกิ ความสมั พนั ธด์ า้ นบุตรกนั
- ชายหรอื หญิงจะทาการสมรสในขณะท่ีมีคู่สมรสอยแู่ ลว้ ไมไ่ ด้
กฎหมายแพ่งเก่ยี วกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครวั
๒ การสมรส (ตอ่ )
- หญงิ ที่เคยสมรสแลว้ จะสมรสใหม่ได้ต่อเม่อื การสมรสคร้ังก่อนสิ้นสุดลงไม่นอ้ ยกว่า ๓๑๐ วัน
ยกเวน้ ในกรณีตอ่ ไปนสี้ ามารถสมรสได้
๑. คลอดบตุ ร ๒. สมรส ๓. มใี บรบั รอง ๔. มีคาสั่งศาล
แลว้ ระหวา่ งนั้น กับคสู่ มรสเดมิ แพทยว์ า่ ไมม่ ี ใหส้ มรสได้
บุตร
กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ตนเองและครอบครัว
กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั
๓ ความสมั พันธ์ทางครอบครวั
เมื่อชายหญงิ ทาการจดทะเบยี นสมรสกันแล้ว ยอ่ มมีความสัมพนั ธท์ างกฎหมาย ดงั นี้
๑. ตอ้ งอยูก่ ินกนั ฉนั สามภี รรยา อปุ การะชว่ ยเหลือกันตาม
ฐานะของตน
๒. ถา้ มศี าลให้ฝา่ ยหน่ึงเปน็ คนไรค้ วามสามารถอกี ฝา่ ยตอ้ ง
เป็นผูอ้ นุบาล
๓. ถา้ ฝา่ ยหน่ึงวิกลจรติ อีกฝา่ ยต้องอุปการะเลย้ี งดูหรอื ทา
การตามสมควร
กฎหมายแพ่งเก่ยี วกับตนเองและครอบครัว
๔ ความสัมพันธท์ างทรัพยส์ ิน กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครวั
กฎหมายกาหนดทรัพย์สินระหว่างสามีและภรรยา ๑. สินสว่ นตวั
ออกเปน็ ๒ ประเภท ดังนี้
- ทรัพยส์ นิ ท่ีฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่ มอี ย่กู อ่ นสมรส
๑. สนิ ส่วนตวั - ทรพั ย์สนิ เคร่ืองใชส้ อยสว่ นตัวตามสมควรแกฐ่ านะ
- ทรัพย์สินท่ีฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงได้รับมาโดยมรดกหรือโดย
๒. สินสมรส เสนห่ า และมรดกมไิ ด้ระบวุ ่าใหเ้ ปน็ สนิ สมรส
- ของหม้ัน ถอื เป็นสินส่วนตัวของฝา่ ยหญงิ
การเอาสินส่วนตัวไปแลกเปลี่ยนทรัพย์อ่ืนมา หรือได้มา
ทดแทนสนิ ส่วนตัว ใหถ้ ือว่าสิ่งของเหลา่ นั้นเปน็ สนิ ส่วนตวั
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกับตนเองและครอบครัว
๔ ความสมั พนั ธท์ างทรพั ย์สิน (ตอ่ ) กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั
กฎหมายกาหนดทรพั ย์สินระหว่างสามีและภรรยา ๒. สนิ สมรส
ออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั นี้
- ทรัพย์สนิ ที่ได้มาระหวา่ งสมรส
๑. สินส่วนตวั - ทรพั ย์สนิ ที่ได้มาโดยพนิ ัยกรรมระบุให้เป็นสินสมรส
- ดอกผลของสนิ สว่ นตัวถือเปน็ สนิ สมรส
๒. สินสมรส กรณีตัวอย่างนา่ สนใจ
เอาสินสมรสไปซื้อล็อตเตอร่ี ถ้าถูกรางวัล เงินนั้นเป็น
สินสมรส เป็นทรพั ยท์ ไ่ี ด้มาระหวา่ งการสมรส
ควรจา
ถา้ มีข้อสงสยั ให้สนั นษิ ฐานไวก้ ่อนวา่ เปน็ สินสมรส
กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกีย่ วกบั ครอบครวั
๔ ความสัมพนั ธ์ทางทรพั ย์สนิ (ตอ่ ) ปัจจัยที่ทาให้การสมรสสิ้นสดุ ลง มดี ังนี้
กรณกี ารสมรสสนิ้ สดุ ทรัพยส์ นิ จัดการ ? ๑. การตาย ๒. สมรสโมฆะหรือโมฆียะ
จดั การโดยแบง่ สนิ สมรสใหเ้ ทา่ กัน สมรสส้ินสุด ๓. การหยา่
ล ง เ ม่ื อ คู่ โ ด ย สิ้ น สุ ด มี ๒ กรณี
ทงั้ ๒ ฝ่าย ส ม ร ส ฝ่ า ย เ มื่ อ ศ า ล มี คือ
ถ้าฝ่ายใดนาสินสมรสไปใช้โดย ใดฝ่ายหนึ่ง ค า ส่ั ง เ พิ ก - โดยสมัคร
ตาย ถอนเท่านั้น ใจ
ปราศจากความยินยอมของอีกฝ่าย ให้
นาสินส่วนตวั มาชดเชย
- คาสัง่ ศาล
กฎหมายแพง่ เกี่ยวกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครวั
๕ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบิดามารดากับบตุ ร
๑. บตุ รท่ี ๒. บุตรนอก ๓. บุตร
ชอบดว้ ย กฎหมายท่ี บุญธรรม
กฎหมาย บดิ ารับรอง
กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครวั
๕ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบดิ ามารดากบั บตุ ร (ตอ่ )
บุตรทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย บตุ รนอกกฎหมายทบ่ี ิดารับรอง
- บตุ รท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย คอื บุตรท่ี คือ บิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน
เกิดจากบิดามารดาซึ่งจดทะเบียนสมรส ไมไ่ ดจ้ ดภายหลัง ไม่ไดร้ บั รองบุตร แต่บดิ า
กันตามกฎหมาย รับรองโดยพฤติการณ์ คือ กิริยาอาการ
รั บ ร อ ง ว่ า เ ป็ น บุ ต ร อ ย่ า ง เ ปิ ด เ ผ ย แ ก่
- มีฐานะและมีสิทธิตามกฎหมาย สาธารณชน
กาหนด เช่น สทิ ธิการรบั มรดก
กฎหมายแพ่งเก่ียวกบั ตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกี่ยวกับครอบครวั
๕ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบดิ ามารดากับบตุ ร (ตอ่ )
บตุ รบตุ รธรรม
- ผ้ทู ี่จะรบั ผอู้ ื่นเปน็ บตุ รบญุ ธรรมต้องมีอายไุ ม่ตา่ กวา่ ๒๕ ปีบริบูรณ์ และต้องแก่กวา่ ผูท้ ่ีจะรบั เป็นบุตรบญุ
ธรรมอยา่ งนอ้ ย ๑๕ ปี การรบั บุตรบญุ ธรรมจะสมบูรณเ์ มือ่ จดทะเบียนตามกฎหมาย
- ถา้ ผ้จู ะรบั บตุ รบุญธรรมหรอื ผจู้ ะเปน็ บตุ รบุญธรรมมคี ู่สมรส ตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากคู่สมรสอกี ฝ่าย
- บตุ รบญุ ธรรมจะเป็นบตุ รบญุ ธรรมของคนอนื่ ไมไ่ ด้ เวน้ แต่คู่สมรสเทา่ น้นั
- บตุ รธรรมตามกฎหมาย สามารถรับมรดกของผูร้ บั บุญธรรมได้
กฎหมายแพ่งเก่ยี วกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายเกี่ยวกับครอบครวั
๕ ความสมั พันธ์ระหว่างบดิ ามารดากบั บตุ ร (ตอ่ )
สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องบดิ ามารดา
• เป็นผูใ้ ช้อานาจการปกครองบตุ ร มีสทิ ธใิ นการกาหนดที่อยขู่ องบุตร และมี
สทิ ธทิ าโทษบตุ รตามสมควร
• ให้การอปุ การะเลยี้ งดู และให้การศึกษาตามสมควร
• ถา้ บตุ รมีเงนิ ได้ บิดามารดามีสิทธนิ ามาใช้เป็นคา่ เลี้ยงดอู ุปการะเลีย้ งดูและ
การศึกษาของบตุ ร สว่ นทีเ่ หลอื ต้องมอบให้แกบ่ ตุ รภายหลงั
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครัว
กฎหมายเกยี่ วกับครอบครวั
๕ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างบิดามารดากบั บตุ ร (ต่อ) สาระนา่ รู้ “คดอี ทุ ลมุ ”
สิทธแิ ละหนา้ ที่ของบตุ ร คอื คดีซงึ่ ตอ้ งหา้ มทางกฎหมายแพง่
และพาณชิ ยว์ ่า ผู้ใดจะฟอ้ งบพุ การี
• มีสทิ ธใิ ช้ชอ่ื สกลุ ของบดิ า เวน้ แตไ่ มป่ รากฏบดิ า ใหใ้ ชส้ กลุ มารดาแทน ของตนเปน็ คดแี พง่ หรือคดอี าญามไิ ด้
• มสี ิทธไิ ด้รับการอุปการะเล้ียงดู และได้รับการศึกษาตามสมควรจากบิดา
มารดา
• ตอบแทนคุณบิดามารดา และบุตรจะฟ้องบิดามารดาของตนในคดีแพ่ง
หรืออาญาไม่ได้ ต้องขอใหพ้ นักงานอัยการยกคดีข้นึ กล่าวให้
กฎหมายแพง่ เก่ยี วกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายเกย่ี วกับมรดก
๑ ความหมายของมรดก
กองมรดกของผู้ตาย ได้แก่ ทรัพย์สินทุกชนิดของ
ผู้ตาย ตลอดทั้งสทิ ธหิ นา้ ที่และความรบั ผิดต่าง ๆ
เว้นแตต่ ามกฎหมายหรอื วา่ โดยสภาพแล้ว เป็นการ
เฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้ เช่น สิทธิการเข้าสอบ
ความสามารถในการเล่นดนตรี ซง่ึ ทาแทนผูต้ ายไม่ได้
กฎหมายแพง่ เกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั
กฎหมายเกีย่ วกบั มรดก
๒ ทายาทของเจา้ มรดก ๑. ทายาทโดยธรรม แบ่งเปน็ ประเภทญาติ
มรดกตกทอดผา่ นทายาท ๒ ประเภท คอื และค่สู มรส ซึง่ ประเภทญาติ มี ๖ ลาดับ ดงั น้ี
- ตกทอดผ่านพินัยกรรม เรียกวา่ ผรู้ ับพนิ ัยกรรม ๑.ผู้สืบสันดาน
- ตกทอดผา่ นสทิ ธิตามกฎหมาย เรียกวา่ ทายาทโดยธรรม ๒.บดิ ามารดา
๓.พ่นี ้องรว่ มบดิ ามารดาเดยี วกัน
ผ้รู บั พนิ ยั กรรม ๔.พ่ีน้องรว่ มบิดาหรือมารดาเดียวกัน
ทายาทโดยธรรม ๕.ปู่ย่าตายาย
๖.ลุงป้านา้ อา
กฎหมายแพง่ เกย่ี วกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายเก่ียวกบั มรดก
๒ ทายาทของเจ้ามรดก (ตอ่ ) สาระน่ารู้ “กรณีมรดกไมต่ กแกท่ ายาท”
๒. ผู้รบั พนิ ยั กรรม - แผ่นดนิ คือ ถา้ เจ้ามรดกไม่ไดท้ าพนิ ัยกรรม ไมไ่ ด้ต้งั
มูลนิธิ ไมม่ ที ายาท มีทายาทแต่เสียสิทธใิ นทรัพยม์ รดก
- ผู้มีสิทธิได้รับมรดกตามท่ีพินัยกรรมระบุไว้ หลงั จากชาระหน้ี มรดกตกแกแ่ ผ่นดิน
อาจไมม่ คี วามเกย่ี วขอ้ งทางเครอื ญาติกับเจา้ มรดก
- วดั คอื มรดกของภิกษุท่ีได้มรี ะหว่างบวช หลงั ชาระ
- หากผู้ตายยกมาดกให้กับทายาทตาม หน้ีพระ มรดกตอ่ แกว่ ัด
พินัยกรรมท้ังหมด ทายาทโดยธรรม จะไม่มีสิทธิ
ไดร้ ับมรดกเลย
กฎหมายแพง่ เกีย่ วกบั ตนเองและครอบครวั
ติวเข้มเตมิ เตม็ ความรู้
๑. บคุ คลผมู้ สี ญั ชาติไทยทีม่ ีอายุเท่าไร จะต้องทาบัตรประจาตวั ประชาชน
ก. ๗ ปีบริบรู ณ์ขึ้นไป แตไ่ มเ่ กิน 60 ปีบริบูรณ์
ข. ๗ ปีบรบิ ูรณ์ขนึ้ ไป แต่ไมเ่ กนิ 70 ปีบริบูรณ์
ค. ๗ ปีบริบูรณข์ ้ึนไป แต่ไมเ่ กนิ 75 ปีบริบูรณ์
ง. ๗ ปีบรบิ ูรณข์ ึน้ ไป แต่ไมเ่ กิน 80 ปบี รบิ รู ณ์
เฉลยขอ้ สอบ
ขอ้ ข. ๗ ปีบริบรู ณ์ขึ้นไป แตไ่ ม่เกนิ 70 ปบี ริบรู ณ์
กฎหมายแพง่ เก่ยี วกับตนเองและครอบครัว
ตวิ เข้มเติมเต็มความรู้
๒. การหมั้นท้ัง ๒ ฝ่ายจะตอ้ งมอี ายกุ ี่ปบี ริบรู ณ์ข้ึนไป
ก. ๑๖ ปีบริบูรณข์ ้ึนไป
ข. ๑๗ ปบี ริบรู ณข์ ึ้นไป
ค. ๑๘ ปีบริบรู ณ์ข้ึนไป
ง. ๑๙ ปีบริบูรณข์ ้ึนไป
เฉลยข้อสอบ
ข้อ ข. ๑๗ ปบี รบิ ูรณ์ขึ้นไป
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั ตนเองและครอบครัว
ติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้
๓. การสมรสในขอ้ ใดเปน็ โมฆยี ะ
ก. สมรสกบั คนไร้ความสามารถ
ข. สมรสซอ้ น
ค. สมรสก่อนอายุ ๑๗ ปบี รบิ ูรณ์
ง. สมรสกับญาตสิ ืบสายโลหติ กันโดยตรง
เฉลยขอ้ สอบ
ข้อ ค. สมรสก่อนอายุ ๑๗ ปีบริบรู ณ์
กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ตนเองและครอบครวั
ติวเข้มเติมเตม็ ความรู้
๔. ขอ้ ใดทค่ี นไร้ความสามารถกระทาแลว้ มผี ลเปน็ โมฆะ
ก. ทาพนิ ัยกรรม
ข. ทาสัญญาซอ้ื ขาย
ค. ทาสญั ญาเชา่ ทรพั ย์
ง. ใหโ้ ดยเสนห่ า
เฉลยข้อสอบ
ข้อ ก. ทาพินยั กรรม
กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเองและครอบครัว
ตวิ เข้มเตมิ เต็มความรู้
๕. ขอ้ ใดทผี่ ู้เยาว์สามารถทาเองไดโ้ ดยไม่ต้องรบั ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
ก. ทาพินยั กรรมเม่ืออายุ ๑๔ ปี
ข. ทาสญั ญาซ้ือขาย
ค. ทาสญั ญาเช่าทรพั ย์
ง. จดทะเบียนรบั รองบุตร
เฉลยขอ้ สอบ
ขอ้ ง. จดทะเบียนรบั รองบตุ ร
กฎหมายแพ่งเกย่ี วกับตนเองและครอบครัว
ตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรู้
๖. ขอ้ ใดถือเป็นอสังหารมิ ทรัพย์
ก. ตน้ ขา้ วที่ปลกู บนพื้นดนิ
ข. รถยนต์
ค. เสาท่ีวางไวเ้ ตรยี มปลูกบา้ น
ง. ตน้ มะม่วงในสวน
เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ง. ต้นมะมว่ งในสวน
กฎหมายแพ่งเก่ียวกับตนเองและครอบครวั
ติวเขม้ เติมเต็มความรู้
๗. ข้อใดถือเป็นสนิ ส่วนตัว
ก. ของหมั้น
ข. ดอกผลของสินส่วนตัว
ค. บา้ นทซ่ี ้อื ดว้ ยเงนิ สินสมรส
ง. รางวลั ท่ี ๑ ของสลากกินแบง่ รฐั บาลที่ซอื้ ระหว่างสมรส
เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ก. ของหมนั้
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครัว
ติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้
๘. ผ้ทู จ่ี ะรบั ผู้อื่นเปน็ บตุ รบุญธรรมต้องมีอายุไม่ตา่ กวา่ กปี่ ี
ก. อายไุ ม่ตา่ กว่า ๑๕ ปี
ข. อายไุ ม่ตา่ กวา่ ๒๐ ปี
ค. อายไุ มต่ ่ากว่า ๒๕ ปี
ง. อายไุ ม่ตา่ กวา่ ๓๐ ปี
เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ค. อายไุ มต่ า่ กว่า ๒๕ ปี
กฎหมายแพ่งเกยี่ วกับตนเองและครอบครัว
ติวเข้มเตมิ เต็มความรู้
๙. บตุ รในขอ้ ใดไมส่ ามารถรบั มรดกของบดิ าได้
ก. บตุ รบญุ ธรรม
ข. บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย
ค. บุตรนอกกฎหมาย
ง. สามารถรับไดท้ ุกประเภท
เฉลยข้อสอบ
ข้อ ค. บตุ รนอกกฎหมาย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั
ตวิ เข้มเตมิ เต็มความรู้
๑๐. เด็กท่เี กดิ ภายในเวลาก่ีวนั นบั แต่วันทีก่ ารสมรสสิน้ สดุ ลง กฎหมายสันนษิ ฐานว่าเปน็ บตุ ร
ชอบดว้ ยกฎหมายของชายผู้เคยเปน็ สามี
ก. 120 วัน
ข. 310 วนั
ค. 320 วนั
ง. 360 วนั
เฉลยข้อสอบ
ข้อ ข. 310 วัน