The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

HRM-Lesson 3 การวิเคราะห์งาน กำหนดตำแหน่ง ค่าตอบแทนok

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pookpick.sensiri, 2021-09-28 05:31:47

HRM-Lesson 3 การวิเคราะห์งาน กำหนดตำแหน่ง ค่าตอบแทนok

HRM-Lesson 3 การวิเคราะห์งาน กำหนดตำแหน่ง ค่าตอบแทนok

การวิเคราะหง์ าน

•ความหมาย กระบวนการศกึ ษาและ
รวบรวมข้อมลู ท่ีเก่ียวกบั การปฏิบัตงิ าน
และความรับผดิ ชอบในงานทศ่ี กึ ษานนั้ ทา
ให้ไดข้ ้อมูลสาคัญเกี่ยวกับงาน



ขอ้ มูลสาคญั เกยี่ วกับงาน คอื

• รายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบ
• ลกั ษณะงาน
• ระยะเวลาทใี่ ช้ในการทางาน
• วิธปี ฏิบตั ิงาน
• ผลสาเร็จของงาน
• คุณสมบตั ขิ องบคุ คลทจ่ี ะปฏบิ ตั ิงานน้นั

ประโยชนแ์ ละการนาการวเิ คราะหง์ านไปใช้

คาพรรณนาลักษณะงานท่ีสมบูรณ์จะตอ้ ง
ประกอบดว้ ยการสรุปงาน ภารกิจหลกั และหน้าท่ี
รับผิดชอบ และสภาพการทางาน

ประโยชน์และการนาการวเิ คราะห์งานไปใช้ (ต่อ)

การเขยี นขอ้ กาหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะของงาน เปน็ การ
ระบุรายละเอยี ดดา้ นคุณลกั ษณะส่วนบคุ คล และคุณสมบตั ิ
ท่ตี อ้ งการในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทขี่ องงานตา่ ง ๆ อันรวมถงึ
ความรคู้ วามชานาญและความสามารถท่ีจะทางานได้อย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ

ประโยชนแ์ ละการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ต่อ)

3. การออกแบบงาน (job design)

ข้อมูลตา่ ง ๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์งานจะถูกนาไป
กาหนดโครงสรา้ งปรับปรงุ และเปลีย่ นแปลงขอบเขตของ
งานหรือความรับผิดชอบ กระบวนการวเิ คราะห์งานช่วยให้
มีการตรวจสอบ และการจัดระบบงานตา่ ง ๆ ให้เหมาะสม
ขนึ้ ในที่สดุ อาจนาไปสู่การร้อื ปรับระบบงาน (job
reengineering) นบั เป็นการเพ่มิ ประสิทธิภาพงาน

ประโยชนแ์ ละการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ตอ่ )

ขอ้ มลู ของการวเิ คราะห์งานจะชว่ ยให้ ผู้สรรหามี
ขอ้ มูลเกีย่ วกบั คุณสมบตั ขิ องพนกั งานท่ีเหมาะสมกบั งาน
และพยายามแสวงหา เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ บคุ ลากรทส่ี ามารถ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดแก่องค์การได้

ประโยชน์และการนาการวเิ คราะหง์ านไปใช้ (ต่อ)

เพือ่ ใหไ้ ด้มาซึ่งบคุ ลากรท่ีมคี ณุ สมบัตทิ ่ีดี และจาเป็นตอ้ ง
ใช้ข้อมูลท่รี ะบุไวใ้ นคาพรรณนาลักษณะงานประกอบการ
ตดั สินใจขน้ั สุดทา้ ยว่าควรจะจา้ งใครโดยเฉพาะ ทีจ่ ะให้
องค์การได้บรรจบุ คุ คลที่มคี วามรู้ ความสามารถ ความ
เชี่ยวชาญ และความถนัดในงานทท่ี าตรงกบั ความตอ้ งการ

ประโยชนแ์ ละการนาการวิเคราะหง์ านไปใช้ (ตอ่ )

เป็นกจิ กรรมท่ีตอ้ งทาการเปรียบเทียบระหว่างผลการ
ปฏิบตั ิงานจริงกบั ผลงานทค่ี าดหวัง ตามท่ไี ดร้ ะบไุ ว้ในการ
วิเคราะหง์ าน ขอ้ มลู จากการวิเคราะหง์ าน จะระบรุ ะดับผลการ
ปฏิบัติงานทยี่ อมรับได้ ซึ่งไดน้ ามาใช้เปน็ มาตรฐานในการ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของพนกั งานทุกระดบั

ประโยชน์และการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ตอ่ )

7. การชี้นา (Induction)

รายละเอยี ดของงานทว่ี เิ คราะห์จะชว่ ยชีน้ าให้
พนกั งานใหมส่ ามารถเร่ิมตน้ ทางานได้ อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ โดยไดร้ บั การปฐมนเิ ทศกอ่ นเข้าทางาน
นอกจากนี้งานบางประเภทจะต้องมีการสาธติ การ
สอนแนะ หรือการทดลองปฏิบัติก่อน

ประโยชน์และการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ตอ่ )

8. การฝึกอบรมและการพฒั นา (training and
development)

สารสนเทศจากการวิเคราะห์งานจะถกู นาไปใช้
ประกอบการออกแบบและดาเนินการโครงการฝึกอบรม
รายละเอียดในคาพรรณนาลักษณะงานจะชีว้ ัดวา่ ทกั ษะและ
สมรรถนะใดบ้างที่ จาเปน็ ต่อการปฏิบตั งิ านข้อมูลจงึ ช่วยให้
การกาหนดเน้อื หาและวธิ ีการดาเนินงาน

ประโยชนแ์ ละการนาการวิเคราะหง์ านไปใช้ (ต่อ)

9. การวางแผนและพฒั นาอาชพี (career
planning and development)

การโยกยา้ ยและสบั เปลี่ยนทางดา้ นตาแหนง่
งานหรืออาชีพ มกั จะเกดิ ขึน้ เสมอในหนว่ ยงาน การ
วิเคราะห์งานจะใหข้ ้อมลู ท่ลี ะเอยี ดและชดั เจน
ประกอบการพิจารณาตดั สินใจ

ประโยชน์และการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ต่อ)

10. การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์เก้อื กลู
(compensation and fringe benefits)

ข้อมลู รายละเอียดเกีย่ วกับงานจะทาให้ทราบ
และเข้าใจขอบเขตเนือ้ หาและปริมาณงานทีแ่ ทจ้ ริงได้
อย่างถกู ต้องครบถ้วน ซง่ึ จะช่วยใหก้ ารประมาณคา่
และจัดโครงสร้างของคา่ ตอบแทน

ประโยชนแ์ ละการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ต่อ)

11. ความปลอดภยั (safety)

ข้อมูลหลายอย่างท่ีได้จากการวิเคราะห์งาน เชน่
แผนภูมิของหน่วยงานมาตรฐานเครอื่ งมือ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ น
การทางานสภาพทางาน ประเภทคนงาน และสภาพทาง
กายภาพอ่นื ๆ จะชว่ ยชน้ี าให้องค์การสามารถกาหนด
มาตรการปอ้ งกันอนั ตรายและท่ีอาจจะเกิดข้นึ ได้

ประโยชน์และการนาการวเิ คราะห์งานไปใช้ (ต่อ)

12. แรงงานสัมพนั ธ์ (labor relations)

รายละเอียดของงานและมาตรฐานของงานจะเป็น
ข้อมลู ประกอบการตดั สนิ ใจของฝา่ ยบรหิ าร เมอ่ื มี
ปัญหาการละทิ้งหน้าที่ มคี วามแย้งหรอื โตเ้ ถียงกนั

ประโยชนแ์ ละการนาการวิเคราะห์งานไปใช้ (ตอ่ )

13. การจา้ งงานทีเ่ ป็นธรรม (equal
employment)

รายละเอียดและข้อมลู ที่ไดจ้ ากการวเิ คราะหง์ านจะ
ช่วยสนบั สนุนให้มีการจา้ งงานทเี่ ป็นธรรม นายจา้ ง
ได้ใช้เครอื่ งมอื คัดเลอื กที่ยุติธรรม สามารถใช้ทานาย
ถึงความสาเร็จในงานได้

ไปใชใ้ นกจิ กรรมการบริหาร HRM

หนำ้ ที่ Duty งำน/ภำรกจิ ควำมรับผดิ ชอบ กำรวำงแผน HRM
Task Responsibility กำรสรรหำ
กำรคัดเลอื ก
การ คำพรรณนำ
วเิ คราะห ์ ลกั ษณะงำน JD กำรพฒั นำ HRM
กำรประเมนิ ผลกำรปฏิบตั ิงำน
งาน กำรกำหนดคณุ สมบัตเิ ฉพำะ คำ่ ตอบแทนและผลประโยชน์อน่ื
ของงำน JS สขุ ภำพและควำมปลอดภัย
พนักงำนและแรงงำนสัมพันธ์
ควำมรู้ ทกั ษะ ควำมสำมำรถ
กำรวจิ ัย HRM
กำรจำ้ งงำนทเ่ี สมอภำค

กระบวนกำรวิเครำะหง์ ำน

3.กำหนดผวู้ เิ ครำะหง์ ำน สังเกต
แบบสอบถำม
2.ระบุขอบเขตงำน 4.ศึกษำขอ้ มูลเกีย่ วกับงำนที่
จะวเิ ครำะห์ ประชุม
บันทกึ งำน
1.กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ 5.กำรพฒั นำและ
เอกสำรพรรณนำลกั ษณะงำน เลือกวธิ ีเก็บขอ้ มลู สมั ภำษณ์

มำตรฐำนกำรทำงำน 8.สำรสนเทศ 6.เกบ็ ข้อมูลของงำน ทดลอง
เอกสำรระบขุ อ้ กำหนดงำน ปฏบิ ัตงิ ำน
7.วเิ ครำะห์และ
ตรวจสอบข้อมลู



ข้นั ตอนในการวเิ คราะหง์ าน

• มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการวิเคราะห์งาน
เพื่ออะไร

• มีเป้าหมายชัดเจนว่าจะนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์งานไปใช้
ประโยชนใ์ นเรื่องใดบา้ ง

• มีความหลากหลายในงานที่จะทาการวเิ คราะห์

• เลอื กวิเคราะหง์ านทส่ี ามารถเป็นตัวแทนในระดบั ต่าง ๆ ได้
มากทส่ี ดุ

• เลือกวเิ คราะหง์ านที่จะส่งผลสาเร็จตอ่ หน่วยงานมากทีส่ ดุ

• เลือกวิเคราะหง์ านที่เปน็ ผลกระทบตอ่ การดาเนินงานของ
องค์กรมากท่สี ดุ

• พิจารณากาหนดตัวเจ้าหน้าที่/พนักงาน ผู้ที่จะทาหน้าท่ี
วเิ คราะหง์ าน

• เจ้าหนา้ ท่ี/พนักงานจากหนว่ ยทรพั ยากรบคุ คล

• เจ้าหนา้ ท่พี นักงานจากหนว่ ยงานทีต่ อ้ งการวเิ คราะหง์ าน

• แผนภมู ิการจดั องค์กร (Organization chart)
• แผนภูมขิ ั้นตอนการปฏิบตั งิ าน (Work process chart)
• แผนภูมกิ ารเคล่อื นไหวเชอ่ื มโยงของการทางาน (Work flow chart)
• อุปกรณ์เครื่องมือการทางาน
• คู่มอื การปฏิบัติงาน

• มีหลายวธิ ี เช่น

• การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)

• การสัมภาษณ์ (Interview)
• การสังเกต (Observation)
• การบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน (Work log)

• ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล

• จดั ทาคาบรรยายรายละเอยี ดของลกั ษณะงานทวี่ เิ คราะหใ์ น
รูปแบบของคาพรรณนาลักษณะงาน (Job Description)

• จดั ทาคาบรรยายหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบในแต่ละระดับความ
ยากงา่ ยของงานที่วเิ คราะหแ์ ละกาหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะของ
บุคคลท่จี ะปฏิบัตงิ านนนั้ (Job Specification)

วธิ กี ารวิเคราะหง์ าน

วิธีการวเิ คราะหง์ าน

การวิเคราะหง์ านอาจใชว้ ิธีการตา่ ง ๆ กนั ขน้ึ อยู่
กับความตอ้ งการและเครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์
งาน การจะเลือกวิธีใดจะต้องพิจารณาวัตถุประสงค์
ของการวิเคราะห์งานและความเป็นไปได้

วธิ วี ิเคราะห์งานทีส่ าคญั มี 7 ประการ
คอื

1. การใช้แบบสอบถาม(Questionnaire)

• นยิ มใชก้ ันมาก เพราะสะดวก เสียค่าใชจ้ ่ายตา่
• ใหผ้ ู้ปฏิบัติงานทกุ คนเป็นผกู้ รอกแบบสอบถามในเบ้ืองตน้
• ใหห้ วั หน้าหรือผบู้ งั คบั บัญชาตรวจสอบ
• หวั หนา้ เรียกผู้ที่เกย่ี วขอ้ งหารือ แก้ไขขอ้ ผิดพลาดต่าง ๆ
• รวบรวมแบบสอบถาม แยกเปน็ หมวดหมู่
• ส่งให้ผู้รับผิดชอบวิเคราะห์ตอ่

หัวขอ้ ที่ควรกาหนดในแบบสอบถาม

2.1 ชื่อ ตาแหน่ง แผนกงาน และหัวหนา้ งาน
2.2 หนา้ ทีง่ านทที่ าเป็นประจาและทท่ี าเปน็ ครง้ั คราว
2.3 ลักษณะของการควบคุมงานท่ที า
2.4 วตั ถดุ ิบ เคร่อื งมือ และอุปกรณท์ ่ีใช้
2.5 ค่มู อื ท่ีใช้เป็นแนวทางในการทางาน
2.6 หนว่ ยงานหรือบุคคลทตี่ ้องประสานในการทางาน
2.7 ตดั สินใจทาคนเดียวหรอื ร่วมกับหัวหน้างาน
2.8 ลักษณะของความรับผดิ ชอบในงาน

หัวขอ้ ทค่ี วรกาหนดในแบบสอบถาม

2.9 การเก็บบนั ทึกขอ้ มลู และการรายงาน
2.10 การตรวจความถกู ตอ้ งของงาน
2.11 ลักษณะการใช้กาลังทางร่างกายในการทางาน
2.12 สภาพของการทางาน
2.13 โอกาสของการเกดิ อันตรายในการทางาน
2.14 การศกึ ษาท่จี าเป็นสาหรับทใี่ ช้ในการทางาน
2.15 ประสบการณ์ในการทางาน
2.16 การฝึกอบรม

2. การสังเกต (Observation)

• สังเกตการปฏบิ ตั ิงานในแตล่ ะวนั แลว้ จดบนั ทกึ
• มกั ใชก้ บั งานท่ีไมใ่ ช้ฝมี อื หรือกง่ึ ฝมี ือ
• งานทเ่ี กิดซ้า ๆ กระบวนการสนั้ ๆ
• เป็นข้อมูลท่ีมองเห็นและสมั ผสั ได้
• เห็นสภาพงานท่เี กดิ ขึ้นจริง

3. การสมั ภาษณ์ (Interview)

• วิธนี ท้ี าใหท้ ราบทศั นคติและความรู้สกึ ของผูร้ บั การ
สมั ภาษณ์

• แตล่ ะงานใช้เพียง 2-3 คน เท่าน้นั
• มักไดข้ อ้ มูลทถี่ กู ตอ้ งมากกวา่ แบบสอบถาม
• อาจต้องใช้เวลามากในการสมั ภาษณ์



การสัมภาษณ์ที่ถกู วิธี

• ผสู้ ัมภาษณ์แนะนาตนเอง
• แจ้งวตั ถุประสงค์ในการสัมภาษณ์
• แสดงให้เห็นถงึ ความสนใจและจริงใจตอ่ ผรู้ บั การสัมภาษณ์
• ใช้ภาษาท่ีเขา้ ใจง่าย
• อย่าให้ผ้รู ับการสมั ภาษณเ์ กิดความสบั สน
• สร้างความเปน็ มติ รตลอดการสัมภาษณ์
• ก่อนจบสมั ภาษณ์ ต้องแน่ใจวา่ ได้ข้อมูลครบถ้วน ถกู ต้องแลว้

4.การให้เลือกรายการ (check list)

• ใชก้ บั องค์กรขนาดใหญ่ มคี นจานวนมากทางานอย่าง
เดยี วกนั

• ตอ้ งกาหนดข้อมลู ของงานต่าง ๆ ให้ครอบคลุมงานทุก
อย่าง เช่น ข้ันตอนการทางาน เวลาที่ใช้ ระดบั
ความสามารถ ความรับผดิ ชอบ ความชานาญ เป็นตน้

• ผู้วเิ คราะหต์ อ้ งใช้เทคนิคจัดแบ่งขอ้ มูล การตคี วาม
• ใชเ้ วลามากและเสยี ค่าใช้จา่ ยสูง

5. การเกบ็ บันทกึ ประจาวัน (Work log)

• อาศัยการบันทกึ ประจาวันของผปู้ ฏบิ ัตงิ านเอง
• ตอ้ งบันทกึ ทกุ วนั สม่าเสมอ
• ผูป้ ฏบิ ตั งิ านมกั ไม่บันทึกเป็นปจั จุบนั จงึ ไมน่ ิยมใช้วธิ ีน้ี

6. การประชมุ ของผูเ้ ชี่ยวชาญ

• ทาใหไ้ ดข้ อ้ มลู เก่ยี วกับงานไดม้ าก
• ไดค้ วามคิดเห็นและแนวคิดต่าง ๆ
• ผเู้ ชี่ยวชาญอาจไม่ค้นุ กับรายละเอียดและความซบั ซ้อน

บางอยา่ งเทา่ กบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน

7. วธิ ีผสม

• เอาทง้ั 6 วธิ มี าผสมผสานกัน ตามความเหมาะสมของ
ลกั ษณะงาน

สรปุ

ไมม่ ีวธิ ใี ดดที สี่ ุด ขึน้ อยู่กับว่าวิธใี ดจะได้ขอ้ มลู
ท่ถี กู ตอ้ ง ครบถ้วน สมบูรณ์ และมี
ประสทิ ธภิ าพท่ีสุด น่นั เอง



ขอ้ มูลในการวเิ คราะห์งาน

วัตถปุ ระสงค์ตอ้ งชัดเจน การเก็บขอ้ มูล
ต้องรู้ว่าจะนาข้อมลู ไปใช้เรือ่ งใด

ข้อมลู หรอื หวั ข้อในการวเิ คราะหง์ าน
ควรมดี งั น้ี

1. ชอื่ ของตาแหน่งงาน

• เป็นสว่ นสาคญั ทสี่ ดุ เพราะบอกถึงคณุ คา่ และ
สถานภาพของผดู้ ารงตาแหน่ง

ดงั นนั้
ตอ้ งกระชับและสะท้อนใหเ้ หน็ ตาแหนง่ งาน

2. สรุปงาน

• เปน็ ส่วนทท่ี าให้ผู้อา่ นเข้าใจลักษณะงานได้ทันที
• เขียนบรรยายสนั้ ๆ ถึงเป้าหมายของงาน

3. หน้าทงี่ าน

• เป็นส่วนที่ระบถุ งึ สาระสาคญั ของงานทง้ั หมด
• แสดงให้เหน็ วา่ ผู้ปฏิบัตงิ านทาอะไรและทางานอย่างไร

4. เครื่องจกั รเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ น
การทางาน

• เป็นสว่ นที่ระบวุ ่า การปฏิบตั งิ านนั้นต้องใช้ เคร่ืองจักร
เครือ่ งมอื อะไรบ้าง เชน่ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ ในการ
ปฏบิ ัตงิ าน

5. วตั ถุดิบสนิ คา้ และบริการ

• เป็นขอ้ มูลท่ีระบุถงึ วตั ถดุ บิ ทใี่ ชใ้ นการผลิตสนิ คา้ และ
บริการที่มคี ุณภาพเป็นที่พอใจแกล่ ูกคา้

6. การควบคุม

• ข้อมูลนเี้ ปน็ สว่ นที่ระบุขอบเขตของอานาจในการ
ปฏิบตั ิงาน ที่จะแสดงใหเ้ หน็ วา่ หัวหน้างานเป็นใคร
และผู้ใต้บังคับบัญชาท่ตี ้องควบคุม

7. ความสมั พนั ธ์กบั งานอื่น

• แสดงใหเ้ ห็นว่า งานนเี้ ลื่อนตาแหนง่ มาจากงานใด
หรอื จะเลื่อนตาแหน่งไปงานส่งู านใด หรือมีความ
เกี่ยวข้องกบั งานใดบ้าง

8. ความสามารถในการใช้ความคิด

• คอื งานนั้นจะต้องใชค้ วามคิดในดา้ นใด เช่น การแปล
ความหมายของข้อมูลทย่ี ่งุ ยากซบั ซ้อน

9. ความต้องการในการใชก้ าลังกาย

• ระบถุ ึงสภาพรา่ งกายทตี่ ้องใชใ้ นการทางาน เชน่ การยนื
การนั่ง การเดิน เปน็ ต้น


Click to View FlipBook Version