รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลัง
จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่
ประจำเดือนตุลาคม 2565
ฉบั บที่ 10/2565
สำนั กงานคลั งจั งหวั ดเชี ยงใหม่
ศู นย์ราชการกระทรวงการคลังจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา ตำบลช้างเผือก
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศั พท์ 053-112882-3
E-mail : [email protected]
https : www.cgd.go.th/cs/cmi/cmi/หน้าหลัก.html
รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลัง
จังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดเชียงใหม่ ประจำเดือนตุลาคม 2565
เดือนตุลาคม 2565 ขยายตัว ฉบับที่ 10/2565
ด้านอุปทาน...ขยายตัว ตามภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม โดย สำนักงานคลังจังหวัดเชียงใหม่
ด้านอุปสงค์...ขยายตัว ตามการบริโภคภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ และการลงทุนภาคเอกชน
ขณะที่เสถียรภาพเศรษฐกิจโดยรวม...อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น สถานการณ์ด้านแรงงานมีทิศทางที่ดีขึ้น
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต)
ภาคบริการ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม
ขยายตัว 16.5% จาก ขยายตัว 3.0% จาก หดตัว -21.6% จาก
-จำนวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยาน -อัตราการเข้าพัก - ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรม ปริมาณผลผลิตของ
- สุกร
-จำนวนผู้โดยสารรถประจำทาง -ยอดขายด้านกิจกรรมทางการเงิน -จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม
-ยอดขายธุรกิจการค้าส่งค้าปลีก และการประกันภัย - จำนวนทุนจดทะเบียนของอุตสาหกรรม
- จำนวนผู้เยี่ยมเยือน - ยอดขายด้านการศึกษา
- ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรม - ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าภาคบริการ
และภัตตาคาร
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย)
การบริโภคภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน
ขยายตัว 30.8% จาก ขยายตัว 6.8% จาก ขยายตัว 6.4% จาก
- ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการค้าส่ งค้าปลีก - สิ นเชื่อธุรกิจ
- จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ - องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
- งบประจำ (ขยายตัว) - ยอดขายวัสดุก่อสร้าง
- จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ - งบลงทุน (ขยายตัว ทั้งการค้าส่ งค้าปลีก
- ส่ วนราชการ - พื้นที่อนุญาตก่อสร้าง
- งบประจำ (ขยายตัว)
- งบลงทุน (หดตัว)
เสถียรภาพเศรษฐกิจ การคลัง
เงินเฟ้ อ การจ้างงาน จำนวนผู้ประกันตน การจัดเก็บรายได้ รายได้นำส่ งคลัง
สู งขึ้น 1,055.4 ล้านบาท 282.4 ล้านบาท
ขยายตั ว มาตรา 33 ขยายตัว 32.0% ขยายตัว 27.8%
4.5%
0.5% ขยายตัว 8.8%
การเงิน การเบิกจ่ายภาพรวม ดุลเงินงบประมาณ
เงินฝาก สิ นเชื่อ 6,484.0 ล้านบาท ขาดดุ ล
ขยายตัว 6.4% ขยายตัว 2.8%
หดตัว -6.3% -6,201.6 ล้านบาท
ดาวน์โหลดรายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดเชียงใหม่ ฉบับเต็ม
ได้ที่ https://www.cgd.go.th/cs/cmi/cmi/หน้าหลัก.html
กลุ่ มงานนโยบายและเศรษฐกิ จจั งหวั ด
โทรศั พท์ 053-112882 ต่อ 322 โทรสาร 053-112399 E-mail : [email protected]
รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจงั หวัดเชยี งใหม่
Chiang Mai Economic & Fiscal Report
ฉบบั เดอื น 10/2565
เศรษฐกจิ ของจังหวัดเชียงใหม่ ประจำเดือนตุลาคม 2565
เศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่ ในเดือนตุลาคม 2565 ขยายตัว โดยแรงขับเคลื่อนหลักจากภาคบริการและ
การบริโภคที่มีการขยายตัวอย่างต่อเน่ือง อีกทั้งจังหวัดเชียงใหม่ได้รับเลือกเป็น “เมืองเทศกาลโลก (World Festival and
Event City)” ประจำปี 2022 จากสมาคมเทศกาลและกิจกรรมระหว่างประเทศ (International Festivals & Events
Association : IFEA) ซ่ึงคัดเลือกจากเมืองที่มีงานเทศกาลโดดเด่น รวมถึงการเข้าสู่ช่วง Hi Season ส่งผลให้การดำเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและบรรยากาศการท่องเทย่ี วมีทิศทางท่ีดีขึ้น อย่างไรก็ดชี ่วงต้นเดือนหลายพื้นท่ีประสบกับภัยธรรมชาติ
(อทุ กภัย) ทำใหพ้ ื้นทที่ างการเกษตรบางแห่งเกดิ ความเสียหาย และนักทอ่ งเทีย่ วบางส่วนเล่ือนการจองทพ่ี ัก แตไ่ ม่ไดก้ ระทบกับ
ภาพรวมการท่องเที่ยวอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากน้ีจังหวัดเชียงใหม่มีจุดแลนด์มาร์กใหม่ (Landmark) คือ คลองแม่ข่า
ท่ีมีความคล้ายกับคลองโอตารุ ประเทศญี่ปุ่น อันแฝงไปด้วยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์คู่เมืองเชียงใหม่ ให้นักท่องเที่ยวสามารถ
เข้ามาสัมผัสกับวิถีชีวิตและความผูกพันกับสายน้ำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และเป็นอีกหนึ่งสถานที่ในการเตรียมจัดงานประเพณี
เดือนยเ่ี ปง็ ประจำปี 2565
เสถียรภาพเศรษฐกิจโดยรวม อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้น ตามระดับราคาของสินค้าและบริการในทุกประเภท (ข้าว/
แป้ง/ผลิตภัณฑ์จากแป้ง เนื้อสัตว์/เป็ดไก่/สัตว์น้ำ ไข่/ผลิตภัณฑ์นม ผักและผลไม้ และเคร่ืองประกอบอาหาร เคร่ืองด่ืม
ไม่มีแอลกอฮอล์ และอาหารบริโภคในบ้าน/นอกบ้าน) และราคาสินค้าในกลุ่มพลังงาน (น้ำมันเชื้อเพลิง ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าก๊าซหุงต้ม)
ทั้งนภี้ าครฐั ได้มีมาตรการแบ่งเบาภาระของประชาชน เช่น การลดคา่ ไฟฟ้า โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 5 โครงการเพิ่มกำลงั ซื้อ
ให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และโครงการเพิ่มกำลังซื้อให้กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ เป็นต้น สำหรับ
สถานการณ์ดา้ นแรงงาน การจ้างงานปรับตัวดีขน้ึ อย่างต่อเนือ่ ง
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) ขยายตัว โดยดัชนีการผลิตภาคบริการ ขยายตัว ร้อยละ 16.5 เมื่อเทียบกับ
เดือนเดียวกันปีก่อน และเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 13.8 ตามการเติบโตของทุกเครื่องช้ี ได้แก่ จำนวนผู้โดยสาร
ผ่านท่าอากาศยาน จำนวนผู้โดยสารรถประจำทาง ยอดขายธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก จำนวนผเู้ ยีย่ มเยือน ภาษีมูลค่าเพ่ิมหมวดโรงแรมและ
ภัตตาคาร และอัตราการเข้าพัก เป็นต้น เน่ืองจากมีแรงส่งสำคัญจากช่วงวันหยุดยาว สภาพอากาศที่หนาวเย็น มาตรการ
เราเที่ยวด้วยกัน และวันท่ี 1 ตุลาคม 2565 มีการยกเลิก COVID-19 จากโรคติดต่ออันตรายให้เป็นโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง
การยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินให้สามารถเดินทางเข้าประเทศไทยโดยไม่ต้องแสดงเอกสารฉีดวัคซีนและผลตรวจ ATK ส่งผลให้
บรรยากาศการท่องเที่ยวมีทิศทางที่ดีขึ้น ทั้งนักท่องเท่ียวชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางมายังจังหวัดเชียงใหม่อย่างต่อเนื่อง
อีกทั้งจังหวัดเชียงใหม่ได้รับเลือกเป็น “เมืองเทศกาลโลก (World Festival and Event City)” ประจำปี 2022 จากสมาคม
เทศกาลและกิจกรรมระหว่างประเทศ (International Festivals & Events Association : IFEA) อย่างไรก็ดีช่วงต้นเดือน
บางพื้นที่ประสบกับภาวะน้ำท่วม ทำให้มีนักท่องเท่ียวบางส่วนเล่ือนการจองท่ีพัก แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเท่ียว
อยา่ งมีนัยสำคญั ดัชนีการผลิตภาคอตุ สาหกรรม ขยายตวั ร้อยละ 3.0 เม่ือเทยี บกับเดอื นเดยี วกันปกี อ่ น และคงทจี่ ากเดือนกอ่ น
โดยภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดอุตสาหกรรม จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม และจำนวนทุนจดทะเบียนของอุตสาหกรรม ขยายตัว ร้อยละ 22.4
3.4 และ 5.8 ตามลำดับ เป็นผลต่อเนื่องจากการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีความต้องการสินค้า
เพื่อการอุปโภคบริโภค สำหรับเดือนนี้มีโรงงานประเภทสีข้าวและอบพืชผลทางการเกษตร คัดขนาดคุณภาพผลิตผลทางการเกษตร
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลังจังหวัดเชียงใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 1
และประเภทผลิตน้ำด่ืมและบรรจุภัณฑ์จากพลาสติกท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ ดัชนีการผลิตภาคเกษตรกรรม หดตัว
ร้อยละ -21.6 เมอื่ เทยี บกับเดอื นเดยี วกนั ปีกอ่ น และปรับตวั ดีข้ึนจากเดอื นกอ่ นที่หดตัว -33.6 โดยเฉพาะปรมิ าณผลผลิตของสุกร
ที่ยังลดลง เน่ืองจากปัจจัยกดดันในด้านต้นทุนราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่อยู่ในระดับสูง อันส่งผลกระทบต่อเกษตรกรรายย่อย
ในการตัดสินใจเล้ียงสุกร ส่วนปริมาณผลผลิตของข้าวและลำไยเพ่ิมขึ้น จากอานสิ งส์ของสภาพแวดล้อมท่ีเอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูก
โดยเฉพาะผลผลิตของข้าวท่ีอยู่ในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวนาปี อย่างไรก็ตามเกษตรกรบางรายประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติ
(อุกทภัย) ทำให้พ้ืนท่ีทางการเกษตรเสียหาย ซ่ึงหลายหน่วยงานได้มีการให้ความช่วยเหลือ เยียวยา พร้อมกับการให้กำลังใจแก่ผู้เดือดร้อน
อยา่ งทนั ทว่ งที
เครอื่ งชี้ด้านอุปทาน 2564 Q1 2565 YTD
(Supply Side) (สดั สว่ นต่อ GPP) Q2 Q3 ส.ค. ก.ย. ต.ค. 14.3
1.0
ดัชนีผลผลติ ภาคบรกิ าร (%yoy) 12.1 18.6 12.2 11.8 12.0 13.8 16.5 -22.2
(โครงสรา้ งสดั สว่ น 69.8%)
ดัชนผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) 0.6 -1.5 0.6 2.9 5.0 3.0 3.0
(โครงสรา้ งสัดส่วน 10.7%)
ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม (%yoy) 4.6 -31.5 -25.3 -8.0 17.4 -33.6 -21.6
(โครงสรา้ งสดั ส่วน 19.5%)
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ขยายตัว โดยดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (Cp Index) ขยายตัว ร้อยละ 30.8
เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนและเพ่ิมข้ึนจากเดือนก่อนท่ีขยายตัว ร้อยละ 3.8 ตามภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการค้าส่งค้าปลีก
จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ท่ีขยายตัว ร้อยละ 33.8 40.4 และ 27.4
ตามลำดับ โดยบรรยากาศการท่องเที่ยวที่มีทิศทางดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง ส่งผลบวกต่อการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ
การจบั จา่ ยใช้สอยของผบู้ รโิ ภค รวมถึงการกระตุ้นสำคัญจากภาครฐั ในมาตรการรกั ษาระดับการบรโิ ภคภายในประเทศปี 2565
ระยะที่ 2 อย่างไรกด็ ียังมคี วามทา้ ทายในดา้ นกำลงั ซื้อและภาระหนสี้ ินทส่ี ง่ ผลต่อการใช้จา่ ย ดชั นีการใช้จ่ายภาครฐั (G Index)
ขยายตัว ร้อยละ 6.8 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนและเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่หดตัวร้อยละ -2.7 โดยเฉพาะ
การเบิกจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ขยายตัว จากการเบิกจ่ายงบรายจ่ายประจำ ประเภทค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
และค่าวัสดกุ ่อสรา้ ง และการเบิกจ่ายงบรายจ่ายลงทุน ประเภทค่าก่อสร้างส่ิงสาธารณูปการ ค่าปรับปรุงท่ดี ิน/ส่ิงกอ่ สร้าง และ
ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่งทีเ่ พิ่มข้ึน สำหรับการเบกิ จา่ ยของส่วนราชการในงบรายจ่ายประจำเพ่ิมขึ้น ในหมวดเงินอุดหนุน
ทั่วไปของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสถาบันอุดมศึกษา ส่วนการเบิกจ่ายงบรายจ่ายลงทุนลดลง
ในหมวดเงินอุดหนุนค่าก่อสร้างของสถาบันอุดมศึกษา แต่โครงการก่อสร้างชลประทานและถนนขยายตัวดี ดัชนีการลงทุน
ภาคเอกชน (Ip Index) ขยายตัว ร้อยละ 6.4 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนและชะลอลงจากเดือนก่อนท่ีขยายตัว ร้อยละ 12.5
โดยสินเช่ือธุรกิจ ยอดขายวัสดุก่อสร้างท้ังการค้าส่งและค้าปลีก และพื้นที่อนุญาตก่อสร้างขยายตัว ร้อยละ 7.1 27.1 และ 5.8
ตามลำดับ สะท้อนถึงทิศทางภาคอสังหารมิ ทรพั ย์ท่ีปรับตัวดีขึ้น ส่วนหน่ึงจากการจัดกิจกรรมกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
ของจังหวัดเชียงใหม่ท่ีดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นในการลงทุนและมีความต้องการเงินทุน
เพ่ือหมุนเวยี นและขยายธุรกิจเพิม่ ขนึ้
เครือ่ งช้ีดา้ นการใช้จา่ ย 2564 Q1 Q2 2565 YTD
(Demand Side) Q3 ส.ค. ก.ย. ต.ค. 10.1
-0.3
ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชน (%yoy) 3.5 9.0 7.1 8.8 13.8 3.8 30.8 7.3
ดชั นีการใชจ้ ่ายภาครฐั (%yoy)
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน (%yoy) 1.8 14.2 -14.5 1.0 0.8 -2.7 6.8
6.9 2.7 4.3 18.4 14.2 12.5 6.4
กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวดั สำนักงานคลังจงั หวัดเชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 2
ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด พบว่า ดัชนีรายได้เกษตรกรหดตัว ร้อยละ -20.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน
และปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนที่หดตัว ร้อยละ -28.8 ตามดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมที่หดตัว ร้อยละ -21.6 จากปริมาณ
ผลผลติ ของสุกรทล่ี ดลง เน่อื งจากความกังวลของเกษตรกรในการแบกรบั ภาระตน้ ทุนราคาวัตถดุ ิบอาหารสตั วท์ ่ียังอยูใ่ นระดบั สงู
สว่ นดัชนรี าคาสินค้าเกษตรขยายตัว รอ้ ยละ 1.7 ตามระดบั ราคาผลผลติ ที่เพิม่ ขน้ึ ของสกุ รและขา้ ว
ด้านการเงิน พบว่า ปริมาณเงินฝากรวม ขยายตัว ร้อยละ 6.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนและเพ่ิมข้ึน
จากเดือนกอ่ นทขี่ ยายตวั ร้อยละ 6.2 ตามปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณชิ ย์ และสถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ ซึ่งสภาวะเศรษฐกจิ ทม่ี แี นวโน้ม
ดีข้ึนอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ประชาชนวางแผนการเก็บออมและการใช้จ่ายเงินอย่างเป็นระบบ สำหรับปริมาณสินเชื่อรวม ขยายตัว
ร้อยละ 2.8 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันปกี ่อนและเพิ่มข้ึนจากเดอื นกอ่ นที่ขยายตัว รอ้ ยละ 2.6 จากปริมาณสนิ เชอ่ื ของธนาคาร
พาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยเฉพาะสินเช่ือเพื่อท่ีอยู่อาศัยยังคงเป็นความต้องการท่ีจำเป็นในการดำรงชีพของ
ประชาชน
เครอ่ื งช้ีรายได้เกษตรกร 2564 Q1 Q2 2565 YTD
และด้านการเงนิ Q3 ส.ค. ก.ย. ต.ค. -18.1
6.4
ดชั นรี ายได้เกษตรกร (%yoy) -6.0 -20.3 -28.7 2.1 45.3 -28.8 -20.2 2.8
ปรมิ าณเงนิ ฝากรวม (%yoy)
ปริมาณสนิ เชือ่ รวม (%yoy) 4.4 5.9 6.7 6.2 6.9 6.2 6.4
2.9 2.8 2.9 2.6 2.7 2.6 2.8
เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบว่า อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปของจังหวัด ในเดือนตุลาคม ขยายตัว ร้อยละ 4.5 เมื่อเทียบกับ
เดือนเดียวกันปีกอ่ นและชะลอลงจากเดือนก่อนท่ีขยายตัว ร้อยละ 5.9 ปัจจัยหลักมาจากดัชนีราคาหมวดอาหารและเคร่อื งดื่ม
ไม่มีแอลกอฮอล์ขยายตัว รอ้ ยละ 6.2 ตามการสูงข้ึนของราคาสินค้าหมวดข้าว/แป้ง/ผลิตภัณฑ์จากแป้ง หมวดเนื้อสัตว์/เป็ดไก่/
สัตว์น้ำ หมวดไข่/ผลิตภัณฑ์นม หมวดผักและผลไม้ หมวดเคร่ืองประกอบอาหาร หมวดเคร่ืองดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และหมวด
อาหารบริโภคในบ้าน/นอกบ้าน สำหรับดัชนีราคาหมวดอ่ืน ๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องด่ืมขยายตัว ร้อยละ 3.2 ตามการสูงขึ้น
ของราคาสินค้าหมวดพาหนะ/การขนส่ง/การสื่อสาร หมวดเคหสถาน หมวดการตรวจรักษา/บริการส่วนบุคคล หมวดยาสูบ/
เครื่องด่ืมมีแอลกอฮอล์ และหมวดการบันเทิงการอ่าน/การศึกษา/การศาสนา สำหรับการจ้างงาน เดือนตุลาคม 2565 มจี ำนวน
1,019,975 คน ขยายตัว ร้อยละ 0.5 และจำนวนผู้ว่างงานมีจำนวน 12,689 คน อัตราการว่างงานอยู่ท่ี ร้อยละ 1.2 ทั้งนี้จำนวน
ผู้ประกนั ตน มาตรา 33 ขยายตวั ร้อยละ 8.8
เครอื่ งชี้เสถยี รภาพเศรษฐกิจ 2564 2565 ต.ค. YTD
Q1 Q2 Q3 ส.ค. ก.ย. 4.5 4.8
อัตราเงินเฟ้อ (Inflation) (%yoy) 1.1 3.6 4.8 6.0 6.3 5.9 0.5 -0.7
การจา้ งงาน (Employment) (%yoy) 2.8 -0.8 -4.3 0.5 0.5 0.4 14,334
จำนวนผ้วู า่ งงาน 12,689
(Unemployment) (person) 22,846 16,629 12,154 12,410 12,410 12,570 1.4
อัตราการว่างงาน 8.8
(Unemployment rate) (percent) 2.3 1.7 1.2 1.2 1.2 1.2 1.2
จำนวนผปู้ ระกันตน มาตรา 33 (คน) (%yoy) 0.1 1.6 5.6 8.8 7.8 8.8 8.8
ด้านการคลังในเดือนตุลาคม 2565 พบว่า ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวม มีจำนวนท้ังส้ิน 6,484.0
ล้านบาท หดตัว ร้อยละ -6.3 ตามการเบิกจ่ายงบรายจ่ายลงทุน จำนวน 1,291.2 ล้านบาท หดตัว ร้อยละ -26.0 ตามการเบิกจ่าย
ของสถาบันอุดมศึกษาที่ลดลง ส่วนการเบิกจ่ายงบรายจ่ายประจำ จำนวน 5,192.8 ล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 0.4 ตามการเบิกจ่าย
ทเี่ พมิ่ ข้นึ ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและสถาบนั อุดมศกึ ษา สำหรบั ผลการจัดเกบ็ รายได้ ในเดือนตลุ าคม
กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จังหวัด สำนักงานคลังจงั หวัดเชียงใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ตอ่ 322 E-mail: [email protected] 3
2565 มีจำนวนท้ังส้ิน 1,055.4 ล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 32.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน ตามการจัดเก็บรายได้
ที่เพ่ิมขึ้นของทุกหน่วยงาน ได้แก่ สรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ สรรพสามิตพื้นที่เชียงใหม่ ด่านศุลกากร ธนารักษ์พื้นท่ี และ
สว่ นราชการอนื่ ทั้งนี้ ดลุ เงินงบประมาณ ในเดอื นตลุ าคม 2565 ขาดดุล จำนวน -6,201.6 ลา้ นบาท
เคร่ืองชดี้ ้านการคลงั ปีงบประมาณ Q1/FY65 Q2/FY65 ปีงบประมาณ (FY) ส.ค. ก.ย. ปงี บประมาณ (FY)
(Fiscal) (FY) 3,024.3 2,960.5 พ.ศ. 2565 1,224.6 1,525.3 พ.ศ. 2566
21.5
พ.ศ. 2565 3.0 -4.0 Q3/FY65 Q4/FY65 6.6 ต.ค.
3,902.9 3,766.3 405.1 1,055.4
รายได้จัดเก็บ (ล้านบาท) 13,654.0 702.2 408.8 227.7 32.0
9.2 10.2 36.2
%yoy 4.9 30.2 16.0 22.8 773.0
871.1 840.8 286.6
ความแตกตา่ งเทยี บกับ 2,822.9 882.4 915.9 309.5 3.0 744.6
ประมาณการ (ลา้ นบาท) -7.9 -3.8 24.2 2,748.9
12,213.3 10,419.5 3,129.0 -30.7 282.4
รอ้ ยละความแตกตา่ ง 26.1 7.9 10.4 28.7 28.7 -16.5 -2,462.2 27.8
เทียบกับประมาณการ (%) -11,330.8 -9,503.6 -2,819.5 6,484.0
-6.3
รายได้นำส่งคลงั (ลา้ นบาท) 3,578.0 924.7 855.0 -6,201.6
13.2 7.5
%yoy 1.6 10,246.7 9,250.7
-0.3 -24.6
รายจ่ายรวม (ลา้ นบาท) 42,130.1 -9,322.0 -8,395.7
%yoy -2.7
ดุลเงนิ งบประมาณ (ล้านบาท) -38,552.2
กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สำนกั งานคลงั จงั หวดั เชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
สะสมตัง้ แต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นตลุ าคม 2565
หนว่ ย : ลา้ นบาท
รายการ งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ยจรงิ รอ้ ยละ เป้าหมาย
ทไี่ ด้รบั จัดสรร การเบิกจ่าย การเบิกจา่ ย
(รอ้ ยละ)
1.รายการจ่ายจริงปงี บประมาณปัจจุบนั 13,003.02 5,275.99 40.58 93
1.1 รายจ่ายประจำ 6,822.81 3,984.78 58.40
1.2 รายจ่ายลงทุน 6,180.21 1,291.21 20.89 75
2. รายจา่ ยงบประมาณเหล่ือมปี 1,554.52 93.80 6.03
2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1,554.52 93.80 6.03
2.2 ก่อนปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 0.00 0.00 0.00
3. รวมการเบิกจา่ ย (1+2) 14,557.54 5,369.79 36.87
ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกจิ จังหวดั สำนกั งานคลังจังหวดั เชียงใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 5
กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
เทยี บกับเป้าหมายการเบกิ จ่ายสะสมตัง้ แตต่ น้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนตุลาคม 2565
ร้อยละ
100
90 93
80
70 75
60
50 52
40.58
40
30 32
20
10
0
ต.ค.65 พ.ย.65 ธ.ค.65 ม.ค.66 ก.พ.66 มี.ค.66 เม.ย.66 พ.ค.66 มิ.ย.66 ก.ค.66 ส.ค.66 ก.ย.66
ผลการเบกิ จ่าย เปา้ หมาย
ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวัด สำนกั งานคลังจังหวดั เชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ตอ่ 322 E-mail: [email protected] 6
กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทนุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
เทียบกบั เป้าหมายการเบกิ จ่ายสะสมต้ังแตต่ น้ ปงี บประมาณจนถงึ เดอื นตุลาคม 2565
ร้อยละ
100
90
80
70 75
60
50 57
40 39
30 19
20.89
20
10
0
ต.ค.65 พ.ย.65 ธ.ค.65 ม.ค.66 ก.พ.66 ม.ี ค.66 เม.ย.66 พ.ค.66 ม.ิ ย.66 ก.ค.66 ส.ค.66 ก.ย.66
ผลการเบิกจา่ ย เป้าหมาย
ที่มา : รายงาน EIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวดั สำนักงานคลังจังหวดั เชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 7
ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทนุ ของหนว่ ยงานท่ีได้รับงบประมาณจดั สรรตงั้ แต่ 100 ลา้ นบาท
สะสมต้งั แตต่ น้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นตุลาคม 2565
หนว่ ย : ล้านบาท
ลาดบั ท่ี ช่อื หน่วยงาน งบประมาณ ผล ร้อยละ ผล ร้อยละ
1 มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ที่ไดร้ ับจัดสรร การใช้จ่าย การใช้จ่าย การเบิกจ่าย การเบกิ จ่าย
2 โครงการชลประทานเชียงใหม่
3 สานักงานกอ่ สร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 1 847.69 835.69 98.58 835.69 98.58
4 มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้
5 สานักงานภาคท่ี 3 หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา 814.46 71.13 8.73 17.79 2.18
6 สานักงานชลประทานที่ 1
7 สานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 1 730.66 382.80 52.39 133.80 18.31
8 ตารวจภูธรภาค 5 จังหวดั เชียงใหม่
9 จังหวัดเชียงใหม่ 395.27 0.00 0.00 0.00 0.00
10 สถาบันวจิ ัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน)
11 มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 387.99 0.00 0.00 0.00 0.00
359.85 9.16 2.54 6.26 1.74
306.03 72.17 23.58 9.93 3.25
295.74 0.00 0.00 0.00 0.00
293.56 0.00 0.00 0.00 0.00
182.69 182.69 100.00 182.69 100.00
132.15 0.00 0.00 0.00 0.00
ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)
หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุน วงเงินตั้งแต่ 100 ล้านบาทข้ึนไป จำนวน 11 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน
4,746.09 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.79 ของงบรายจ่ายลงทุนทไ่ี ดร้ ับจัดสรรทง้ั หมด
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนกั งานคลงั จงั หวัดเชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ตอ่ 322 E-mail: [email protected] 8
ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทุนของหน่วยงานทีไ่ ดร้ ับงบประมาณจดั สรรต้งั แต่ 10 ถงึ 100 ล้านบาท
สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถงึ เดอื นตลุ าคม 2565
ลาดบั ที่ ชื่อหน่วยงาน หนว่ ย : ล้านบาท
1 สถาบันวจิ ัยและพฒั นาพน้ื ที่สูง เชียงใหม่ (องคก์ ารมหาชน) งบประมาณ ผล ร้อยละ ผล ร้อยละ
2 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา ที่ไดร้ ับจัดสรร การใช้จ่าย การใช้จ่าย การเบิกจ่าย การเบกิ จ่าย
4 แขวงทางหลวงเชียงใหมท่ ี่ 2
5 สานักบริหารยุทธศาสตร์กลมุ่ จังหวดั ภาคเหนือตอนบน 1 97.90 97.90 100.00 97.90 100.00
6 กองบิน 41 96.04 35.51 36.98 0.00 0.00
7 แขวงทางหลวงเชียงใหมท่ ี่ 3 79.67 0.00 0.00 0.00 0.00
8 แขวงทางหลวงเชียงใหมท่ ่ี 1 75.11 2.22 2.96 2.11 2.81
9 สานักศลิ ปากรที่ 8 เชียงใหม่ 74.60 0.00 0.00 0.00 0.00
10 โรงพยาบาลจอมทอง 62.13 0.00 0.00 0.00 0.00
11 องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ 59.27 2.32 3.91 1.85 3.12
12 โรงพยาบาลธัญญารักษ์เชียงใหม่ 55.22 1.85 3.35 1.77 3.21
13 สานักงานบริหารพน้ื ท่อี นุรักษ์ที่ 16 49.79 0.00 0.00 0.00 0.00
14 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเชียงใหม่ 49.53 0.00 0.00 0.00 0.00
15 สานักงานป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 1 เชียงใหม่ 47.99 0.00 0.00 0.00 0.00
16 สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 47.39 47.39 100.00 0.00 0.00
17 ที่ทาการปกครองจังหวดั เชียงใหม่ 46.11 0.00 0.00 0.00 0.00
18 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 5 40.95 0.00 0.00 0.00 0.00
19 โรงพยาบาลนครพงิ ค์ 38.27 0.00 0.00 0.00 0.00
20 ศนู ย์อนามยั ท่ี 1 เชียงใหม่ 36.55 0.00 0.00 0.00 0.00
21 สถาบันการพลศกึ ษาวทิ ยาเขตเชียงใหม่ 35.94 4.55 12.66 0.00 0.00
22 โรงพยาบาลสวนปรุง 31.19 0.00 0.00 0.00 0.00
23 โรงพยาบาลประสาท 30.67 0.00 0.00 0.00 0.00
24 กองกากบั การตารวจตระเวนชายแดนที่ 33 (กก.ตชด.33) 23.70 0.57 2.40 0.57 2.40
25 สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ท่ี 1 23.12 0.00 0.00 0.00 0.00
26 เทศบาลนครเชียงใหม่ 22.62 0.00 0.00 0.00 0.00
27 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2 22.50 0.00 0.00 0.00 0.00
28 โรงพยาบาลฝาง 19.53 0.00 0.00 0.00 0.00
29 สานักงานทางหลวงท่ี 1 18.54 0.00 0.00 0.00 0.00
30 โรงพยาบาลสันทราย 18.31 0.00 0.00 0.00 0.00
31 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 16.08 0.00 0.00 0.00 0.00
32 องคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์ 16.01 0.00 0.00 0.00 0.00
12.58 0.83 6.62 0.56 4.45
12.47 0.00 0.00 0.00 0.00
11.33 0.00 0.00 0.00 0.00
10.10 0.00 0.00 0.00 0.00
ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
หน่วยงานท่ีมีรายจ่ายลงทุน วงเงินตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จำนวน 32 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน
1,281.18 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 20.73 ของงบรายจ่ายลงทุนท่ไี ด้รับจดั สรรทง้ั หมด
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวดั สำนกั งานคลงั จงั หวดั เชียงใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 9
เครื่องชร้ี ายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวดั (Economic and Fiscal)
ตารางท่ี 1 เครอ่ื งช้เี ศรษฐกิจ
เคร่อื งช้ี หน่วย 2564 Q2 Q3 2565 ก.ย. ต.ค. YTD
Q1 ส.ค.
-25.3 -8.0 -22.2
เศรษฐกิจด้านอุปทาน %yoy 4.6 -31.5 17.4 -33.6 -21.6
ดัชนปี ริมาณผลผลิตเกษตร 45,899.0 0.0 147,735.0 p
(โครงสร้างสดั ส่วน 19.5%) ตนั 462,549.0 6,573.0 -35.2 0.0 0.0 0.0 95,263.0 p -7.5
ปริมาณผลผลิต : ขา้ ว %yoy 29.1 0.0 319,666.0 0.0 0.0 8.9
ตนั 4,369.0 27.8 195,169.0 25,000.0 394,871.0 p
ปรมิ าณผลผลติ : ลำไย %yoy 508,181.0 69,683.0 -85.9 111,081 83.3 -46.7 1,153.0 p -21.7
ตัว 62.8 -68.6 -29.2 36,502 37,081 9.8
จำนวนผลผลติ : สกุ ร %yoy 112,385 -30.8 -27.0 370,508
583,683 115,027 -28.7 2.9 32,015 -27.0
ดัชนีปริมาณผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม %yoy -14.7 -26.1 5.0 -14.5
(โครงสรา้ งสัดส่วน 10.7%) 0.6 145.9 1.0
ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ลา้ น Kwh 0.6 -1.5 3.1 49.1 3.0 3.0
จำนวนทุนจดทะเบียน %yoy 137.9 3.3 453.3
ของอตุ สาหกรรม ลา้ นบาท 533.8 123.9 1.6 33,675.9 33,660.4 46.9 45.6 0.4
ภาษีมลู คา่ เพ่ิมหมวดอุตสาหกรรม %yoy -5.2 -2.9 5.5 6.0 4.2 -2.4
ล้านบาท 33,383.1 53.2 33,675.9 33,693.7 33,693.7
จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม %yoy 32,297.6 32,679.8 5.5 159.1 r 12.7 5.5 5.8 5.8
แห่ง 11.3 4.7 1.2 1,007 53.4 r 55.0 p
ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ %yoy 653.3 154.9 3.5 -1.6 22.4 513.9 p
(โครงสร้างสัดส่วน 69.8%) 17.6 144.9 -6.3 1,009 1,009 1,011 -0.9
ยอดขายธรุ กิจการคา้ สง่ ค้าปลีก %yoy 987 -4.1 3.1 12.0 3.1 3.4
2.1 998 1,004 1,011
ยอดขายด้านการศกึ ษา ลา้ นบาท 4.0 3.6 11.8 18,167.0 3.4
ยอดขายดา้ นกิจกรรมทางการเงนิ และ %yoy 23.4
การประกันภยั ลา้ นบาท 12.1 18.6 12.2 54,761.6 r 6.2 13.8 16.5 14.3
จำนวนผโู้ ดยสารรถประจำทาง %yoy 10.0 -24.9
ลา้ นบาท 195,113.5 52,621.6 55,812.0 33.9 r 394.3 17,908.3 r 18,143.6 p 181,338.8 p
จำนวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยาน %yoy 13.6 9.9 14.5 -0.7 9.7 -6.9 36.6 13.6
คน 130.3 39.1 41.4 22.2 p
จำนวนผู้เยีย่ มเยอื น %yoy 132.7 17.7 1,217.0 r 75,049 12.6 r 7.2 136.5 p
คน 143.2 10.9 1,087.9 5.0 28.7
ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าภาคบริการ %yoy 4,424.3 1,139.2 1,148.0 228,193 397.6 p
คน -1.2 5.5 223,614 47,839.7 431.8 r 9.6 3,901.7 p
%yoy 0.9 479.5 631,430 22.2 6.1
ล้าน Kwh 413,140 139,925 182,915 96,164
%yoy -59.8 122.6 668,219 820.3 68,219 251.4 642,618
-18.2 1,529.4 130.4 329.9 278,445 101.3
873,049 488,766 574,542 1,884,185 13.4 214,309 277.7
-63.3 284.6 679.2 724,904 2,009,972
84.5 555.0 629,097 237.6 279.9
3,734,006 2,182,516 1,879,485 382.8 320.7 122.1
-37.8 227.1 12.9 122.0 6,671,090
105.9 368.9 11.9 7.9 212.2
1,297.3 313.9 8.8
-5.1 1,187.7
6.3 9.3
กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวดั สำนกั งานคลังจงั หวดั เชียงใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ตอ่ 322 E-mail: [email protected] 10
เครอ่ื งชี้ หนว่ ย 2564 Q1 Q2 Q3 2565 ก.ย. ต.ค. YTD
76.1 65.9 87.4 r 32.0 r 28.3 p 257.6 p
ภาษีมลู ค่าเพม่ิ หมวดโรงแรม ลา้ นบาท 149.8 41.0 110.9 315.4 ส.ค. 356.9 236.3 124.8
และภตั ตาคาร %yoy -46.5 54.5 44.7 48.1 33.6 51.7 58.7 50.1
ร้อยละ 20.5 127.4 432.8 434.7 455.2 244.5 184.0 245.8
อัตราการเข้าพัก %yoy -51.0 47.6
698.0
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน %yoy 3.5 9.0 7.1 8.8 13.8 3.8 30.8 10.1
ภาษีมลู คา่ เพ่ิมหมวดการค้าสง่ ลา้ นบาท 2,345.4 634.2 634.5 625.8 r 213.2 202.7 r 202.6 p 2,097.2 p
คา้ ปลกี %yoy 10.0 11.3
5.1 5,216 8.2 6.7 1,416 0.3 33.8 10.3
จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบยี นใหม่ คนั 13,938 4,181 3,829 29.9 1,415 1,240 14,466
%yoy 7.5 26.7 4,925 20.8 40.4
จำนวนรถจกั รยานยนต์ คนั -5.3 11,874 8.9 11,590 61.5 4,202 3,688 14.9
จดทะเบยี นใหม่ %yoy 44,352 11,841 20.4 129.0 46.8 27.4 38,993
ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน ลา้ น Kwh -3.5 383.4 120.7 116.0
ท่อี ย่อู าศัย %yoy -5.2 305.5 -2.7 -5.0 5.4
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน %yoy 1,430.2 398.6 -3.9 14.2 -6.1 -6.6 1,203.5
ล้านบาท 7.9 18.4 122,233.0 12.5 6.4
สนิ เช่อื ธรุ กจิ %yoy 10.5 2.7 -3.1 144,095.0 r -0.2 144,095.0 r 132,089.0 p -1.2
ต.ร.ม. 6.9 123,262.0 4.3 16.5 366,352.0 16.5 7.1 7.3
พื้นที่อนญุ าตกอ่ สร้างรวม %yoy 122,614.0 4.1 122,507.0 744,062.0 r 145.1 215,193.0 r 200,157.0 p 132,089.0 p
ล้านบาท 4.8 579,576.0 4.1 30.3 976.1 -16.8 5.8 7.1
ยอดขายวัสดุกอ่ สร้างท้ังการคา้ ส่ง %yoy 2,416,649.0 -13.7 559,481.0 3,149.0 r 17.7 1,126.3 r 1,061.9 p 2,083,276.0 p
และค้าปลีก คัน 8.3 3,116.7 2.7 19.6 752 36.8 27.1 5.4
ปริมาณการจดทะเบียนรถบรรทกุ %yoy 11,440.3 4.7 3,133.3 2,003 18.6 594 540.0 10,461.0 p
ส่วนบุคคลใหม่ ล้านบาท 17.5 3,071 4.2 7.6 527.0 -1.7 -0.7 10.7
%yoy 8,422 3.2 2,522 1,985.5 32.4 635.2 474.9 8,136.0
จำนวนทุนจดทะเบียนธรุ กิจใหม่ %yoy -2.0 2,177.0 15.3 47.9 0.8 44.4 -34.6 7.5
ลา้ นบาท 9,284.1 59.6 5,358.0 1.0 3,344.3 -2.7 6.8 9,995.3
ดัชนรี ายจา่ ยภาครฐั %yoy 106.2 14.2 5.2 10,095.0 -5.9 3,114.8 5,614.9 17.2
รายจ่ายประจำ ลา้ นบาท 1.8 10,478.5 -14.5 -14.8 830.5 -22.4 3.1 -0.3
%yoy 43,185.3 12.6 10,393.7 2,513.9 -22.6 1,084.7 1,316.0 36,582.1
รายจา่ ยลงทุน 4.4 2,267.0 -3.5 -15.0 -5.7 -25.2 -2.1
ดา้ นรายได้ (Income) 10,629.9 5.3 2,363.7 8,460.6
ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร 0.3 -13.9 -12.0
ดชั นีผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ดชั นีราคาสนิ คา้ เกษตร %yoy -6.0 -20.3 -28.7 2.1 45.3 -28.8 -20.2 -18.1
ดา้ นการเงนิ (Financial) -22.2
ปริมาณเงินฝากรวม %yoy 4.6 -31.5 -25.3 -8.0 17.4 -33.6 -21.6
5.2
ปรมิ าณสินเชอื่ รวม %yoy -10.1 16.3 -4.5 11.0 23.8 7.1 1.7
434,545.3 p
ลา้ นบาท 412,882.8 419,869.1 420,720.2 423,314.1 r 424,013.5 423,314.1 r 434,545.3 p 6.4
%yoy 4.4 5.9 6.7 6.2 6.9 6.2 6.4
ลา้ นบาท 340,213.5 p
%yoy 332,987.3 334,018.8 337,249.0 339,332.5 r 338,677.1 339,332.5 r 340,213.5 p 2.8
2.9 2.8 2.9 2.6 2.7 2.6 2.8
กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลังจงั หวดั เชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 11
เคร่อื งชี้ หน่วย 2564 Q1 Q2 Q3 2565 ก.ย. ต.ค. YTD
ส.ค.
ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ 148.5 146.4
6.0 148.8 4.8
ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคทั่วไป 140.2 143.7 146.4 7.7 6.3 148.8 148.5 5.1
4.6 8.2 5.9 4.5 4.5
(อัตราเงินเฟ้อท่ัวไป) %yoy 1.1 3.6 4.8 2.0 4.8 8.7 6.2 1.3
2.0 3.7 3.2
- อาหารและเครื่องด่มื %yoy -0.3 3.0 4.1 117.1 2.1 2.0 116.1
11.1 116.7 11.3
- ไมใ่ ช่อาหารและเครื่องดื่ม %yoy 2.1 4.1 5.4 1,009,063 p 10.7 116.8 118.3 1,024,773 p
0.5 1,009,063 p 10.5 9.9 -0.7
(อัตราเงนิ เฟ้อพืน้ ฐาน) %yoy 0.1 0.6 1.2 12,410 p 0.5 1,015,916 p 14,334 p
1.2 p 12,410 p 0.4 1,019,975 p 1.4 p
ดชั นีราคาผ้ผู ลติ 105.0 112.2 118.2 229,572 1.2 p 12,570 p 0.5 228,532
8.8 227,880 1.2 p 8.8
(อัตราการเปลี่ยนแปลง) %yoy 4.7 9.8 13.3 7.8 229,572 12,689 p
8.8 1.2 p
การจา้ งงาน (Employment) คน 1,014,446 1,010,496 984,363
%yoy 2.8 -0.8 -4.3 228,532
8.8
จำนวนผวู้ า่ งงาน คน 22,846 16,629 12,154
อัตราการวา่ งงาน รอ้ ยละ 2.3 1.7 1.2
จำนวนลูกจ้างในระบบประกันสงั คม คน 209,994 r 219,522 225,107
มาตรา 33
%yoy 0.1 1.6 5.6
หมายเหตุ : 1. ดัชนกี ารใช้จา่ ยภาครัฐรวมรายจ่ายขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ (อปท.)
2. p คือ preliminary (ข้อมลู เบือ้ งตน้ )
3. r คอื revised (การปรับปรงุ ขอ้ มูลยอ้ นหลงั )
กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวัด สำนกั งานคลงั จังหวดั เชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ต่อ 322 E-mail: [email protected] 12
ตารางที่ 2 เครื่องช้ีด้านการคลงั
เคร่อื งชี้ด้านการคลงั ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ (FY) ส.ค. ปงี บประมาณ (FY)
(Fiscal) หนว่ ย (FY) พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566
1,224.6
เศรษฐกจิ ด้านอุปทาน พ.ศ. 2565 Q1/FY65 Q2/FY65 Q3/FY65 Q4/FY65 6.6 ก.ย. ต.ค.
รายไดจ้ ดั เก็บ
ลา้ นบาท 13,654.0 3,024.3 2,960.5 3,902.9 3,766.3 1,046.7 1,525.3 1,055.4
สรรพากรพ้นื ท่เี ชยี งใหม่ %yoy 4.9 3.0 -4.0 9.2 10.2 6.8 21.5 32.0
ลา้ นบาท 885.0
สรรพสามติ พน้ื ทเี่ ชียงใหม่ %yoy 11,499.5 2,357.6 2,453.9 3,409.8 3,278.2 120.6 1,375.5 38.2
ล้านบาท 9.2 0.1 4.0 15.3 14.6 -13.9 27.2 123.8
ด่านศลุ กากร %yoy 344.1 343.0 106.5 0.6
ล้านบาท 1,493.1 517.0 289.0 -22.1 -23.7 0.5 -20.2 0.3
ธนารักษพ์ ื้นทีเ่ ชยี งใหม่ %yoy -16.8 16.5 -37.1 0.8 1.0 85.7 0.2 3.8
ล้านบาท 4.8 1.9 -11.8 -43.8 6.7 -80.4 10.7
สว่ นราชการอนื่ %yoy -12.3 -1.0 1.1 4.7 22.0 518.5 12.1 317.6
ล้านบาท 69.1 23.1 29.3 50.5 312.0 50.1 35.6
รายได้นำสง่ คลงั %yoy 106.2 131.5 19.1 143.5 122.0 80.4 1,647.8 6.5
ล้านบาท 587.5 124.7 27.7 -16.4 24.8 309.5 31.0 282.4
รายจา่ ยเงนิ งบประมาณรวม %yoy -8.7 -0.7 197.3 924.7 855.0 24.2 -20.7 27.8
ดลุ เงินงบประมาณ ลา้ นบาท 882.4 -20.6 13.2 7.5 3,129.0 286.6
%yoy 3,578.0 -7.9 915.9 -16.5 3.0 6,484.0
ล้านบาท 1.6 12,213.3 -3.8 10,246.7 9,250.7 -2,819.5 -6.3
7.9 10,419.5 -0.3 -24.6 2,748.9
42,130.1 -11,330.8 10.4 -30.7 -6,201.6
-2.7 -9,503.6 -9,322.0 -8,395.7
-2,462.2
-38,552.2
หมายเหตุ : รายจา่ ยเงนิ งบประมาณรวมเฉพาะสว่ นราชการ ไมร่ วมองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
FY คือ ปีงบประมาณ (ตุลาคมปีก่อน – ตลุ าคมปีปจั จบุ ัน)
Q1 คอื ยอดสะสมตั้งแต่เดือนตลุ าคม 2564 ถึงเดือนธนั วาคม 2564
Q2 คือ ยอดสะสมต้ังแตเ่ ดือนมกราคม 2565 ถึงเดือนมนี าคม 2565
Q3 คอื ยอดสะสมต้งั แต่เดือนเมษายน 2565 ถึงเดอื นมิถนุ ายน 2565
Q4 คือ ยอดสะสมตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2565 ถึงเดือนกันยายน 2565
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่, สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงใหม่, สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่,
สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร, ธนาคารอาคารสงเคราะห,์ ธนาคารออมสนิ ภาค 8,
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนอื , สำนักงานประกันสังคมจังหวัดเชียงใหม่, การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาคเขต 1 ภาคเหนือ,
การประปาส่วนภูมิภาคเขต 9, สำนักงานธุรกิจการค้าจังหวัดเชียงใหม่, สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,
สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงใหม่, สรรพากรภาค 8, สรรพากรพื้นท่ีเชียงใหม่ 1, สรรพสามิตพื้นที่เชียงใหม่, ด่านศุลกากร
ท่าอากาศยานจงั หวัดเชียงใหม่, ธนารักษ์พ้ืนที่เชียงใหม่, บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และกระทรวงการท่องเท่ียว
และกีฬา
กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวดั สำนักงานคลังจังหวัดเชียงใหม่ โทรศพั ท์ 053-112882-3 ตอ่ 322 E-mail: [email protected] 13