The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PP STORY, 2021-05-30 04:52:16

ภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทย

ภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทย

ท่ใี ชใ้ นภาษาไทย

พระเจ้าชัยวรมนั ท่ี ๗ นั้นเป็นกษตั รยิ ์ของอาณาจกั รเขมร
ที่ยง่ิ ใหญใ่ นช่วง พ.ศ. ๑๗๒๔ - ๑๗๖๒ ในบริเวณที่เปน็
ประเทศกมั พูชาในปจั จบุ นั ซงึ่ เปน็ พระโอรสของพระเจ้า

ธรนนิ ทรวรมนั ที่ ๒ และพระนางศรี ชยราชจุฑามณี
พระเจ้าชัยวรมันท่ี ๗ ทรงเป็นทรี่ ูจ้ ักในฐานะ
ผูส้ ถาปนา “นครธม” นครหลวงแหง่ สุดทา้ ย
ของอาณาจักรเขมร

ลกั ษณะของ
ท่ใี ชใ้ นภาษาไทย

ลกั ษณะคาไทยทีม่ าจากภาษาเขมร

๑. เป็นคา ๒ พยางค์ พยางคต์ ้นจะใช้คาว่า

บัง บญั บัน บา บรร

ลกั ษณะคาไทยทม่ี าจากภาษาเขมร

๒. คาที่มีเสยี งควบกลา้ และอักษรนา เชน่

โตนด จมูก ไถง เขนย ขนาด ไพร

ฉนา (ป)ี เขลา ตลบ ขจี ไผท
กระบอื กระบอง กระโถน

ลักษณะคาไทยที่มาจากภาษาเขมร

๓. คาภาษาเขมรมกั ใช้ตวั จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด

เผดจ็ เสด็จ
อาจ อานาจ

ลกั ษณะคาไทยทีม่ าจากภาษาเขมร

๓. คาภาษาเขมรมักใช้ตวั จ ร ล ญ เป็นตวั สะกด

ขจร เดริ จร

ลกั ษณะคาไทยท่มี าจากภาษาเขมร

๓. คาภาษาเขมรมักใช้ตวั จ ร ล ญ เป็นตวั สะกด

ถวิล ตาบล เมลิ (ด)ู

ลกั ษณะคาไทยทีม่ าจากภาษาเขมร

๓. คาภาษาเขมรมกั ใช้ตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด

เจริญ เชญิ ชาญ

ลกั ษณะคาไทยท่มี าจากภาษาเขมร

๔. เปน็ คา ๒ พยางค์ทขี่ น้ึ ต้นด้วยคาวา่

กา คา ชา ดา ตา ทา สา

กาเนิด คานบั ชารดุ ดาริ ตารวจ
กาจดั ทานูล สาเรจ็ สาราญ สาคญั

ลักษณะคาไทยทม่ี าจากภาษาเขมร

เปน็ คาทแ่ี ทรก -ำ หรอื -ำน ตรงกลางคาได้

ทลาย + -ำ = ทาลาย

ตรัส + -ำ = ดารสั
ตรวจ + -ำ = ตารวจ
สราญ+ -ำ = สาราญ

เกดิ + -ำน = กาเนดิ
เดนิ + -ำน = ดาเนิน
ชาญ + -ำน = ชานาญ

ลกั ษณะคาไทยท่มี าจากภาษาเขมร

๕. คาเขมรมักใช้เปน็ ราชาศัพท์ในภาษาไทย เช่น

สรง เสวย โปรด บรรทม เสด็จ
ขนง ขนอง เขนย สมเด็จ ถวาย
มาน ใน (ของ) กราน ตรสั ทูล

ลักษณะคาไทยทมี่ าจากภาษาเขมร

๖. คาเขมรท่เี ปน็ คาโดด มใี ช้ในภาษาไทย
จนคดิ ว่าเปน็ คาไทย

แข (ดวงจนั ทร์) มาน (ม)ี อวย (ให)้

โปรด (ชอบ) บาย (ขา้ ว) เลกิ (ยก)

ลกั ษณะคาไทยท่มี าจากภาษาเขมร

๗. คาเขมรมัก ไม่ใช้ รปู วรรณยกุ ต์ ยกเว้น บางคา

เสน่ง(เขาสัตว์) เขม่า

ลกั ษณะคาไทยที่มาจากภาษาเขมร

8. คาทีม่ ี ผ และ ข นาหนา้

จะไม่มี ประวิสรรชนีย์ (-ะ)

ขจี ขจดั เผอิญ ผสมผสาน

หลกั สงั เกตคาเขมร

คาเขมรสว่ นมาก เรานามาใชโ้ ดย
เปลี่ยนรปู และเสยี งใหม่ตามความถนดั

ซึ่งเป็นเหตใุ หร้ ปู คาผิดไปจากเดมิ
และทาใหเ้ กิดการแผลงอกั ษรขึ้น

คาเขมร คาอ่าน คาไทย คาแปล
กระบอื ควาย
กรบุ ี กรอ-เบย เกลอ เพื่อน
เกลรี เกลอ เฌอ ต้นไม้
เฌอ เฌอ

คาเขมร คาอ่าน คาไทย คาแปล
ตระกอง กอด
ตรกง ตรอ-กอง โขมด ผี
เขมาจ ขม้อจ เผด็จ ตัด, ขจดั
ผดาจ ผดจ้ั

วธิ ีทีเ่ รานาคาเขมรมาใช้

๑. ใช้ตามรปู เดมิ เช่น กังวล(หว่ งใย)

แข(ดวงเดือน) ถกล(กอ่ สร้าง)

ขจร(ฟงุ้ ไป) ฉนา(ป)ี

ขจาย(ฟุ้งไป) ฉงาย(ไกล, หา่ ง)

วิธีท่ีเรานาคาเขมรมาใช้

๒. เปลย่ี นตัวสะกดให้ผดิ ไปจากเดมิ เชน่
กราล >> กราน เผอลิ >> เผอิญ
สาราล >> สาราญ ขนล >> ขนน

ลงาจ >> ละงาด

วิธที ่ีเรานาคาเขมรมาใช้

๓. เปลี่ยนรูปและเสียงไปจากเดิม เช่น
กรสวง >> กระทรวง
กัญฌสู >> กระฉูด

ครัวส >> กรวด กรุ >> กรม

ท่ีใช้ในภาษาไทย


Click to View FlipBook Version