The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การดำเนินวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saysamorn.song23, 2019-10-17 03:00:03

การดำเนินวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การดำเนินวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การดาเนนิ วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

พระราชดารัสเร่ืองเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“ เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความมนั่ คงของแผน่ ดิน เปรีบบเสมือน

เสาเขม็ ท่ถี ูกตรอกรองรับบา้ นเรือนตวั อาคารไวน้ น่ั เอง สิ่งก่อสร้างจะมน่ั คงไดก้ อ็ ยทู่ เี่ สาเขม็ แตค่ นส่วนมาก

มองไม่เห็นเสาเขม็ และลืมเสาเขม็ เสียดว้ ยซ้าไป..”

พระราชดารสั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั จากวารสารชยั พฒั นา

เศรษฐกิจพอเพียง

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็ นปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนว

ทางการดาเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 25 ปี ต้งั แตก่ ่อนเกิดวกิ ฤติการณ์ทาง

เศรษฐกิจ และเม่ือภายหลงั ไดท้ รงเนน้ ย้าแนวทางการแกไ้ ข เพอ่ื ใหร้ อดพน้ และสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ ง

มน่ั คง และยง่ั ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์ และความเปล่ียนแปลงตา่ งๆ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

“เศรษฐกิจพอพยี ง” เป็ นปรชั ญาช้ีถึงแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทกุ

ระดบั ต้งั แต่ ครอบครวั ระดบั ชุมชนจนถึงระดบั รัฐ ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสาย

กลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอื่ ใหก้ า้ วทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภิวตั น์

ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่จี ะตอ้ งมีระบบ

ภมู ิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากความเปล่ียนแปลงท้งั ภายนอกและ

ภายใน ท้งั น้ีจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ ในการนาวชิ าการตา่ งๆมา

ใชใ้ นการวางแผน และการดาเนินการทกุ ข้นั ตอน และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพน้ื ฐานจติ ใจของคนใน

ชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐ นกั ทฤษฏี และนกั ธุรกิจในทุกระดบั ใหม้ ีความสานึกในคุณธรรม ความ

ซ่ือสตั ยส์ ุจริต และใหม้ ีความรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มีสติปัญญา และความ

รอบคอบ เพอ่ื ใหส้ มดุล และพรอ้ มตอ่ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว และกวา้ งขวางท้งั ดา้ น

วตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจาก

โลกภายนอกไดอ้ ยา่ งดี

หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง
การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คอื การพฒั นาที่ต้งั อยบู่ นพ้นื ฐานของทางสายกลาง และความ

ไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสรา้ งภูมิคุม้ กนั ที่ดีในตวั ตลอดจนใช้
ความรู้ ความรอบคอบ คุณธรรมประกอบการวางแผนการตดั สินใจ และการกระทา

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มีหลกั พจิ ารณาปรชั ญาอยู่ 5 ส่วน ดงั น้ี

1.กรอบแนวคิด

เป็นปรชั ญาทีช่ ้ีแนะแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏบิ ตั ิตนในทางที่ควรจะเนน้ โดยมีพ้นื ฐานมาจากวถิ ีชีวติ

ด้งั เดิมของสงั คมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ

เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤต เพอ่ื ความมน่ั คงและความยง่ั ยนื ของการ

พฒั นา

2.คุณลกั ษณะ

เศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั การปฏิบตั ติ นไดใ้ นทุกระดบั โดยเนน้ การปฏบิ ตั ิบนทาง

สายกลางและการพฒั นาอยา่ งเป็ นข้นั ตอน

3.คานิยามความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 ลกั ษณะพรอ้ มๆกนั ดงั น้ี

• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไี่ ม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบยี ดเบยี นตนเองและ

ผอู้ ่ืน เช่นการผลิตและการบริโภคท่อี ยใู่ นระดบั พอประมาณ

• ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความเพยี งพอน้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมเี หตผุ ล โดย

พจิ ารณาจากเหตุปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดวา่ จะเกิดข้นึ จากการกระทาน้นั ๆอยา่ งรอบคอบ

• การมีภูมิคุม้ กนั ทีด่ ีในตวั หมายถึงการเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปลี่ยน แปลงดา้ นต่างๆที่จะ

เกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ต่างๆที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคตท้งั ใกลไ้ กล

4.เงอื่ นไข

การตดั สินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆใหอ้ ยรู่ ะดบั พอเพยี งน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้ และคุณธรรมเป็น

พ้นื ฐาน กล่าวคือ

• เง่อื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความ รอบรู้ เนน้ เก่ียวกบั วชิ าการตา่ งๆท่ีเก่ียวขอ้ ง อยา่ งรอบ

ดา้ น ความ รอบคอบ ทีจ่ ะนาความรูเ้ หล่าน้นั มาพจิ ารณาใหเ้ ช่ือมโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผน และความ

ระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ

• เง่อื นไขคุณธรรม ท่จี ะตอ้ งเสริมสรา้ งประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซื่อสตั ยส์ ุจริต มี

ความอดทน และมีความเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ

5.แนวทางปฏบิ ตั ิ/ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ

จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คอื การพฒั นาทส่ี มดลุ และยงั่ ยนื พรอ้ มรบั การ

เปลี่ยนแปลงในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม ความรูแ้ ละเทคโนโลยี

การดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
*** *** *** *** ***
หลัก : การพ่ึงตนเอง

 ใชเ้ งนิ ทนุ ตวั เอง
 ใชแ้ รงตวั เอง
 ใชอ้ ุปกรณ์เครื่องมือตวั เอง
 ทาบญั ชีครวั เรือนและใชบ้ ญั ชีประเมินผลปรับปรุงตนเอง
 วเิ คราะห์ปัญหาและแกไ้ ขปัญหาตวั เอง

หลกั : ความพอมพี อกนิ

 เรียนรู้ (ฝึก) อาชีพทางการเกษตรอยา่ งหลากหลาย
 ปลูก – เล้ียงทกุ อยา่ งทกี่ ินได้
 กินทุกอยา่ งท่ีปลูกหรือเล้ียงได้
 เผอื่ แผเ่ ก้ือกูลตอ่ เพอ่ื นบา้ น

หลกั : พอมีพอใช้ (เงนิ )

 ลดรายจา่ ยดว้ ยการปลูก – เล้ียง กินเอง (ประหยดั เงนิ )
 เพมิ่ รายไดด้ ว้ ยการปลูก – เล้ียง สิ่งทขี่ ายไดง้ า่ ย
 ไม่เล่นการพนนั – หวยเบอร์
 ไม่ใชจ้ ่ายกบั สิ่งที่ฟ่ มุ เฟื อย (สุรา – เบียร์ – บุหรี่ – เครื่องดื่มราคาแพง ฯลฯ)
 ออมเงินอยา่ งต่อเน่ือง

หลกั : ความรู้จักพอประมาณ (นกน้อยทารังน้อยแต่พอตวั )

 ทาส่ิงต่างๆ ใหพ้ อเหมาะกบั เงินทุน/แรงงาน หรือ ศกั ยภาพของตวั เอง (อยา่ ทาเกินตวั )
 ไม่จดั งานบุญแข่งขนั กนั (แต่งงาน – บวช ฯลฯ)
 ไม่สร้างบา้ นแข่งขนั กนั
 ไม่ซ้ือรถ/ซ้ือสิ่งของอวดร่าอวดรวยแขง่ ขนั กนั
 พอใจในสิ่งที่ตวั เองมีอยู่ (สนั โดษ)

หลัก : ความมีภูมคิ ้มุ กนั

 พจิ ารณาเรื่องของเหตุและผลในทุกเรื่องจนเป็ นพน้ื ฐานของจติ
 ปฏิเสธคาชกั ชวนไปในทางทเี่ สี่ยง/เสียหนุ่มนวล
 ทาอาชีพการเกษตรแบบผสมผสานเชิงเกษตรอินทรีย์
 ฝึกไม่ตามใจตวั เอง

 ตอ้ งออมเงนิ ออมดิน (ปรบั ปรุงดิน) ออมน้า (เกบ็ น้า) ออมมิตร (ผกู มิตร) *****

หลกั : ความมีคณุ ธรรม

 ไม่โลภเอาแต่ประโยชน์ส่วนตวั
 ไม่ลกั ขโมย
 ปลูกเมตตาจิตใหก้ บั ตวั เอง (ไม่พยาบาทจองเวร/ไม่เบยี ดเบยี น/ใหอ้ ภยั )
 รบั ผลประโยชนต์ ามสิทธิของตวั เอง
 ความนอบนอ้ มถ่อมตน
 สารวมตนอยใู่ นกรอบของศีล 5 หรือคาสอนในศาสนาตา่ งๆ (เหตดุ ี)

 ***** ***** ***** *****

ท่มี า : คดั ยอ่ จากเอกสารการดาเนินวถิ ีชีวติ ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย จงั หวดั ขอนแก่น


Click to View FlipBook Version