หลกั คุณธรรมและจริยธรรมของผูบ้ ริหารสถานศึกษา
วชิ าคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
นายสมเกยี รติ วาดอกั ษร นายชยุตพงศ์ สมจรงิ นางวรรณนสิ า สุนทรชีรวทิ ย์
รหัสนสิ ติ 640320201๓ รหัสนิสติ 640320201๔ รหัสนสิ ติ 640320201๕
ความหมายของคณุ ธรรม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยฐาน (2546, หน้า 253) ได้ระบุคํา
ว่า คณุ ธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี
ความหมายของคุณธรรม
กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๔๘, หนา้ ๒) ได้ระบคุ วามหมายคําว่า คณุ ธรรม หมายถงึ
ส่ิงทบ่ี คุ คลสว่ นใหญย่ อมรบั ว่าดงี าม ซงึ่ ส่งผลใหเ้ กิดการกระทําทเ่ี ป็นประโยชน์ และความดี
งามทีด่ ที ี่แทจ้ รงิ ต่อสังคม
ความหมายของคุณธรรม
จากความหมายของคุณธรรมดังกล่าว สรุปได้ว่า คุณธรรมของผู้บริหาร
สถานศกึ ษา หมายถึง คณุ งามความดีเป็นแบบประพฤติท่แี สดงใหเ้ ห็นถึงลักษณะความ
ดีงาม เป็นความดีอันสูงสุดของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่ดีตามหน้าที่
ของวิญญาณ เป็นชีวิตที่มีสติปัญญา มีความกล้าหาญและควบคุมตนเองได้
เป็นจิตวิญญาณของปจั เจกบุคคล ศาสนาและอุดมการณ์ เป็นดวงวิญญาณของปัจเจก
บุคคลและสังคม ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการกระทําท่ีเป็นประโยชน์และความดีงามท่ีดีที่
แทจ้ ริงตอ่ สงั คม
ความหมายของจรยิ ธรรม
พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายของ
จริยธรรมไว้ดังน้ี คําว่า จริย มีความหมายว่า อันพึงปฏิบัติ' ส่วนคําว่า ธรรมมี
ความหมายเดียวกับคําว่าคุณากร ซึ่งหมายถึง บ่อเกิดแห่งความดี ดังนั้น ผู้ท่ีมี
จริยธรรมจึงอาจหมายความโดยสรุปได้ว่าผู้มีแนวทางอันพึงปฏิบัติดี นั่นเอง ซ่ึงมา
ประกอบรวมกันให้ความหมายว่า ธรรมท่ีเป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรม
เนียมยุโรปอาจเรียกจริยธรรมว่า MoralPhilosophy หลักจริยธรรม คือ ธรรมที่เป็น
ขอ้ ประพฤตปิ ฏิบตั ิศลี ธรรม กฎ ศีลธรรม
ความหมายของจริยธรรม
คําว่า "ธรรม" แปลว่า หลักหรือระบบแนวทางของการปฏิบัติ ร่วมกัน หมายถึง
หลักหรือระบบการดาํ เนนิ ชีวิตท่ีถกู ตอ้ งดงี าม การดําเนินชีวติ ทีป่ ระเสรฐิ การ
พระเทพเวที กล่าวว่า จริยธรรม มาจากคําว่า "ริยะ" หรือ "จร" แปลว่า การนํา
ความรู้ ความจริงหรือกฎธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิต เพื่อให้เกิด
ประโยชนก์ บั ตนเองและสงั คมปัญญาไตร่ตรอง
ความหมายของจรยิ ธรรม
พระไพศาล วิสาโล ได้กล่าวไว้ว่า จริยธรรมของผู้นํา หมายถึง หลักปฏิบัติท่ี
เปน็ ไป เพอื่ ประโยชนข์ องส่วนรวม จริยธรรมหรือศีลธรรมจึงเป็นเง่ือนไขพ้ืนฐานท่ีทํา
ใหส้ ังคมอยูไ่ ด้ไม่ใชแ่ คก่ ารไม่ทําความช่ัวเพียงอย่างเดียวแต่จะต้องไม่เบียดเบียนซ่ึงกัน
และกัน หวั ใจของภาวะผู้นาํ เชงิ จรยิ ธรรมของผทู้ จ่ี ะนาํ พาผู้คนนั้นจะตอ้ งนําตัวเองใหไ้ ด้
ก่อน ซึ่งหมายถึงจะต้องชนะใจตัวเองและนําตนเองให้ได้ ผู้นําท่ีทําให้เกิดการ
เปลย่ี นแปลงอันดีงามจะต้องเปล่ยี นแปลงตนเองก่อน
ความหมายของจริยธรรม
สรุปได้ว่า จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง การปฏิบัติตนให้เป็น
แบบอย่างที่ดี ทั้งทางด้านศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อ
ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน มีความรับผิดชอบต่อสังคมบนพื้นฐานของคุณธรรม
จริยธรรม ไม่ผิดศีลธรรม เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อตนเอง ต่อครู บุคลากรทางการศึกษา
ต่อชุมชนและสังคม และต้องปฏิบัติตามกฎของกลุ่มเพ่ือส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและ
สร้างศรัทธาให้เกดิ ขึ้นแก่บคุ คลอนื่ ๆ
แนวคดิ ความสาคญั ของคณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับ
ผบู้ ริหารในสถานศกึ ษา
การจัดการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กล่าวไว้ว่า
การปฏิรูปการศึกษาจะ ประสบผลสําเสร็จไปได้ยากหากผู้บริหารโรงเรียนขาดคุณธรรม
ท้งั น้เี พราะผบู้ ริหารโรงเรียนเป็นผู้ท่ีมีอิทธิพลมากต่อผู้ใต้บังคับบัญชา การที่ผู้เรียนซึ่งเป็น
ผลผลิตของการจัดการศึกษาจะมีความรู้คู่คุณธรรมได้ ครูจําเป็นต้องมีความรู้และ
คุณธรรมก่อนเพราะครูคือแบบอย่างของนักเรียนและในขณะเดียวกันผู้บริหารโรงเรียน
ตอ้ งเปน็ แบบอย่างที่ดีใหก้ บั ผใู้ ต้บงั คับบัญชา
แนวคดิ ความสาคัญของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาหรบั
ผู้บริหารในสถานศกึ ษา
(ทองอินทร์ วงศ์โสธร, 2538 : 5) กล่าวไว้ว่า ผู้บริหารท่ีขาดคุณธรรมย่อมเป็นเหตุของ
ความเส่ือมของหน่วยงานบุคคลในหน่วยงานมักจะแตกแยกขาดขวัญและกําลังใจในการ
ปฏิบัติงานด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหน่วยงานย่อมลดลง ผู้บริหารที่มี
คุณธรรมยอ่ มเปน็ ที่รักของผู้ร่วมงานเป็นท่ียอมรับของผู้ร่วมงานผู้ร่วมงานให้ความร่วมมือ
สามารถรวมพลังแห่งการยอมรับ เป็นพลังสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาหน่วยงานให้ก้าวหน้า
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหน่วยงานย่อมสูง ดังน้ันความสําคัญของคุณธรรมและ
จรยิ ธรรมจงึ อาจแบง่ ได้ ด้งั น้ี คอื
แนวคิดความสาคญั ของคุณธรรมและจริยธรรมสาหรบั
ผูบ้ ริหารในสถานศกึ ษา
๑. ความสาคัญต่อสังคม
สังคมเป็นแหล่งรวมกันของผู้คนท่ีมีความแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความ
แตกต่างทางความคิดเป็นความแตกต่างที่สําคัญ เพราะความคิดเป็นจุดเร่ิมต้นของการ
กระทํา ถ้าคิดอย่างไรการกระทําก็มักจะเป็นอย่างนั้นเสมอ เม่ือความคิดของคนในสังคม
แตกตา่ งกันกจ็ ะเกิดการกระทําทีแ่ ตกต่างกันอย่างหลากหลายตามไปด้วย ซึ่งอาจจะทําให้
เกดิ ความขัดแยง้ ต่างๆตามมา ดังน้ันสังคมต้องอาศัยคุณธรรมจริยธรรมเป็นเคร่ืองควบคุม
ความคิดและการปฏิบัตขิ องผคู้ นไม่ให้ไปคิดและกระทําอันเปน็ การละเมิดผอู้ น่ื
แนวคิดความสาคญั ของคณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับ
ผ้บู ริหารในสถานศกึ ษา
๒. ความสาคญั ตอ่ หนว่ ยงาน
ถา้ หน่วยงานใดมสี มาชิกที่ประกอบไปด้วยคุณธรรมจริยธรรมแล้ว หน่วยงานน้ัน
ก็จะเป็นหน่วยงานที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เพราะคุณธรรมท่ีดีในตัวแต่ละคนน้ัน
จะเป็นตัวบ่งบอกถึงความเป็นผู้มีคุณภาพพร้อมที่จะดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนจริยธรรมนั้นเป็นตัวบ่งบอกถึงความเป็นผู้ท่ีสามารถในการปฏิบัติที่ดีที่ถูกต้อง
ทําให้เกิดผลงานท่ีมีคุณภาพกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า หน่วยงานท่ีมีบุคลากรที่มีคุณธรรม
จริยธรรม คือ มีปัจจัยตัวป้อนด้านบุคลากรท่ีดี และเม่ือเข้าสู่กระบวนการก็จะได้ผู้ที่
ควบคมุ กระบวนทดี่ ี และจะไดผ้ ลงานออกมาที่ดีในที่สุด
แนวคดิ ความสาคัญของคุณธรรมและจรยิ ธรรมสาหรับ
ผบู้ ริหารในสถานศกึ ษา
๓. ความสาคญั ต่อการบรหิ าร
การบริหารประกอบด้วย วัตประสงค์ขององค์การ กิจกรรมที่จะดําเนินการและ
ทรัพยากรในการบริหาร ทรัพยากรบริหารนั้นประกอบด้วย คน เงิน วัสดุอุปกรณ์และ
วิธีการ ซึ่งคนเปน็ ทรัพยากรท่มี ีความสําคัญท่สี ดุ ถา้ หากคนมีคุณธรรมจรยิ ธรรมแล้ว
การบริหารงานก็จะดําเนินไปได้และบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ถ้าหากคนไม่มีคุณธรรม
จรยิ ธรรมก็ยากท่ีจะดําเนนิ การให้บรรลวุ ัตถุประสงคไ์ ด้
แนวคิดความสาคัญของคณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับ
ผู้บริหารในสถานศึกษา
๔. ความสาคัญต่อผบู้ รหิ าร
คณุ ธรรมจริยธรรมเป็นคุณสมบัติที่ดีของทุกคนโดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ดํารงตําแหน่ง
ผนู้ าํ หรือผู้บรหิ ารจําเป็นต้องมีคุณธรรมจริยธรรมมากกว่าตําแหน่งอ่ืนๆ เน่ืองจากผู้บริหาร
เป็นผู้ผลักดันให้เกิดการดําเนินงานขับเคล่ือนไปข้างหน้าตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงคุณธรรม
จริยธรรม มคี วามสาํ คญั ตอ่ ผ้บู ริหารเปน็ อยา่ งมาก
แนวคดิ ความสาคญั ของคณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับ
ผูบ้ รหิ ารในสถานศกึ ษา
๕. ความสาคญั ตอ่ การสรา้ งภาวะผ้นู า
ผู้นํา คือ ผู้ท่ีแสวงหาความเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึน ส่วนผู้บริหาร คือ ผู้ดําเนินงาน
ตามการเปลี่ยนแปลงให้บรรลุผล ท้ังผู้นําและผู้บริหารจึงเป็นเสมือนหัวก้อยของเหรียญ
แต่การที่จะได้รับการยอมรับเพื่อที่จะก้าวไปสู่ความเป็นผู้นําจะต้องอาศัยคุณธรรม
จริยธรรม กล่าวคือ มีการบรหิ ารงานด้วยความซ่อื สัตยส์ ุจริต โปร่งใส ให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
เป็นต้น คุณธรรมจริยธรรมเป็นลักษณะของความดี ถ้าผู้บริหารมีความดีมีคุณธรรม
จรยิ ธรรมก็จะไดร้ บั การยอมรับนับถือ เท่ากับเป็นการสร้างภาวะผนู้ าํ ให้เกิดข้ึน
แนวคิดความสาคัญของคุณธรรมและจรยิ ธรรมสาหรับ
ผูบ้ ริหารในสถานศกึ ษา
๖. ความสาคญั ตอ่ การจงู ใจ
การบริหารงานนอกจากจะวางระบบการบริหารงานที่ดีแล้ว ยังต้องพยายาม
สร้างแรงจูงใจเพ่ือให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งการสร้าง
แรงจูงใจมที ้ังทางบวกและทางลบ เช่น การให้รางวัล หรือการลงโทษ เป็นต้น แต่ในความ
เปน็ จรงิ ในการสรา้ งแรงจงู ใจทีด่ ที ส่ี ุดคือการทําให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรู้สึกว่าได้ปฏิบัติ
หน้าท่ีกับผู้บังคับบัญชาที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม ดังนั้น ถ้าผู้บริหารมีคุณธรรม
จริยธรรมกจ็ ะเป็นการสร้างแรงจงู ใจให้แกผ่ ใู้ ตบ้ งั คับบญั ชาไดเ้ ปน็ อย่างดี
แนวคดิ ความสาคัญของคุณธรรมและจริยธรรมสาหรบั
ผู้บรหิ ารในสถานศึกษา
๗. ความสาคญั ตอ่ การสร้างผลงาน
การดําเนินงานโครงการหรืองานประจําใดๆท่ีได้รับการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับ
ความไม่คุ้มค่าในการใช้งบประมาณ เป็นส่ิงท่ีเห็นได้ว่า ขาดคุณธรรม จริยธรรม มี
การทจุ รติ คอรปั ช่นั แฝงอยใู่ นกระบวนการดําเนนิ งาน ถา้ การบรหิ ารไม่ว่าระดับใดหรือฝ่าย
ใดก็ตามยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม ไม่โลภ ไม่อยากได้ ในส่ิงที่ไม่ควรได้ เมื่อมีการ
บริหารงานด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริตแล้ว การใช้งบประมาณก็จะทําได้เต็มเม็ดเต็ม
หน่วย ผลงานต้องเกิดขึ้นและคมุ้ ค่ามากทส่ี ดุ
แนวคดิ ความสาคญั ของคุณธรรมและจรยิ ธรรมสาหรบั
ผูบ้ รหิ ารในสถานศึกษา
๗. ความสาคญั ตอ่ การสร้างผลงาน
การดําเนินงานโครงการหรืองานประจําใดๆท่ีได้รับการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับ
ความไม่คุ้มค่าในการใช้งบประมาณ เป็นส่ิงท่ีเห็นได้ว่า ขาดคุณธรรม จริยธรรม มี
การทจุ รติ คอรปั ช่นั แฝงอยใู่ นกระบวนการดาํ เนนิ งาน ถา้ การบรหิ ารไม่ว่าระดับใดหรือฝ่าย
ใดก็ตามยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม ไม่โลภ ไม่อยากได้ ในส่ิงที่ไม่ควรได้ เมื่อมีการ
บริหารงานด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริตแล้ว การใช้งบประมาณก็จะทําได้เต็มเม็ดเต็ม
หน่วย ผลงานต้องเกิดข้นึ และคมุ้ ค่ามากทส่ี ุด
แนวคดิ ความสาคญั ของคุณธรรมและจรยิ ธรรมสาหรับ
ผ้บู ริหารในสถานศกึ ษา
จากแนวคิดที่เก่ียวกับความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรม สําหรับผู้บริหารใน
สถานศึกษา ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าคุณธรรม จริยธรรมมีความสําคัญในการพัฒนา
จิตใจของผู้บริหารสถานศึกษาให้ตั้งอยู่ในความมีสติ สมาธิ ปัญญา สามารถบริหารคน
บริหารงานให้เหมาะสม โดยอยู่บนพื้นฐานในหลักคุณธรรม และ สามารถทําให้บุคลากร
สถานศกึ ษาอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ย่างมีความสุข
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
ผู้บรหิ ารที่ดีต้องประกอบดว้ ย คุณสมบตั ิดังต่อไปน้ี
๑. เป็นผู้มีบุคลิกภาพท่ีดี (Good Personality) คือ เป็นผู้มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิต
ทดี่ ี
๑.๑ มีสุขภาพกายท่ีดี คือ เป็นผู้มีสุขภาพอนามัยท่ีดี มีท่วงท่ากิริยา รวมท้ัง
การแตง่ กาย ท่ีสุภาพ เรยี บร้อยดีงาม สะอาด และดสู ง่างามสมฐานะ
๑.๒ มีสุขภาพจิตท่ีดี คือ เป็นผู้มีอัธยาศัยใจคอท่ีงาม เป็นคนดี มีศีลธรรม ได้แก่
ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา กับทั้งมีกัลยาณมิตรธรรม คือมี
คณุ ธรรมของคนดี
คณุ ธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา
๒.เป็นผู้มีหลกั ธรรมในการครองงานทีด่ ี ด้วยคุณธรรม คอื อทิ ธบิ าทธรรม ไดแ้ ก่
๒.๑ ฉันทะ ความรักงาน คือ จะต้องเปน็ ผรู้ ักงานทีต่ นมีหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบอยู่
๒.๒ วิริยะ ความเพียร คือ จะต้องเป็นผู้มีความขยันหม่ันเพียร ประกอบด้วยความ
อดทน
๒.๓ จติ ตะ ความเป็นผมู้ ใี จจดจ่ออย่กู บั การงาน
๒.๔ วมิ งั สา ความเปน็ ผู้รจู้ ักพิจารณาเหตสุ ังเกตผลในการปฏิบัตงิ านของตนเอง
คณุ ธรรมจริยธรรมของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
๓.เป็นผู้รู้จักหลักปฏิบัติต่อกันด้วยดี ระหว่างผู้บังคับบัญชากับลูกน้อง หรือผู้อยู่ใต้ บังคับ
บัญชา ตามหลกั ธรรมของพระพุทธเจา้ ช่อื “เหฏฐิมทศิ ” มีเน้ือความวา่
๓.๑ ด้วยการจัดงานใหต้ ามกาํ ลงั มอบหมายหน้าทีก่ ารงานใหต้ ามกําลงั ความรู้
ความสามารถ
๓.๒ ดว้ ยการให้อาหารและบําเหน็จรางวัล กล่าวคอื เม่ือทาํ ดี กร็ ู้จักยกยอ่ งชมเชย
๓.๓ ดว้ ยการรกั ษาพยาบาลในยามเจบ็ ไข้ กลา่ วคือ ต้องรจู้ กั ดูแลสารทุกข์ สุกดบิ
๓.๔ ด้วยแจกของมีรสดแี ปลกๆ ให้กนิ หมายความวา่ ให้รจู้ กั มีน้าํ ใจแบง่ ปันของกนิ
๓.๕ ดว้ ยปลอ่ ยในสมัย คือ รจู้ ักใหล้ กู นอ้ ง หรือผูอ้ ยใู่ ต้บงั คบั บญั ชาไดล้ าพักผอ่ น
คณุ ธรรมจริยธรรมของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
๔.เป็นผูม้ มี นุษยสัมพันธ์ (Human Relation) ท่ดี ี ดว้ ยคณุ ธรรม คอื พรหม-วหิ ารธรรม
๔.๑ เมตตา คอื ความรกั ปรารถนาทีจ่ ะใหผ้ ู้อน่ื อย่ดู มี ีสขุ
๔.๒ กรุณา คอื ความสงสาร ปรารถนาใหผ้ ู้มที ุกข์ เดอื ดร้อน ใหพ้ ้นทกุ ข์
๔.๓ มทุ ติ า คือ ความพลอยยนิ ดี ท่ีผู้อื่นไดด้ ี ไม่คิดอจิ ฉารษิ ยากัน
๔.๔ อเุ บกขา คือ ความวางเฉย ไม่ยินดียินร้าย เมื่อผู้อ่นื ถงึ ซึง่ ความวิบตั ิ
คุณธรรมจริยธรรมของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
๕.เป็นผู้มีความคิดริเร่ิม (Initiatives) ด้วยความคิดสร้างสรรค์ (Creative)
โครงการใหม่ๆ ท่ีเป็นประโยชน์สุขแก่หมู่คณะ สังคม และประเทศชาติ และ
วิธีการทํางานใหม่ๆ ให้การ ปกครองการบริหาร กิจการงานได้บังเกิดผลดี มี
ประสทิ ธภิ าพสงู ยิง่ ข้ึน
คุณธรรมจรยิ ธรรมของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
๖. เป็นผมู้ ีสานึกในภาระหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบ (Sense of Responsibilities)สูง
คือ มีสาํ นึกในความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง โดยการศึกษาหาความรู้ เพิม่ พูนศกั ยภาพ
และสาํ นกึ ในการสรา้ งฐานะของตน และมสี ํานึกในหน้าท่ีความรับผดิ ชอบต่อสว่ นรวม
คือต่อครอบครัว ต่อ องคก์ รและหมู่คณะที่ตนรบั ผิดชอบอยู่ และตอ่ สงั คมประเทศชาติ
ให้เจริญสันติสุขและม่นั คง โดยเฉพาะอย่างย่งิ สํานึกในหน้าท่รี บั ผดิ ชอบตอ่ สถาบนั หลกั ท้ัง
๓ ของประเทศชาติไทยเรา คอื สถาบนั ชาติ สถาบนั พระพทุ ธศาสนา และสถาบนั
พระมหากษตั ริย์
คุณธรรมจริยธรรมของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
๗. ผ้นู าท่ดี ีจงึ ย่อมต้องสาเหนียก และจกั ต้องมคี วามสาํ นึก ในหน้าทคี่ วามรับผิดชอบ
ตอ่ สถาบนั หลกั ทั้ง ๓ น้ี อย่างจรงิ ใจ และจะตอ้ งรับช่วยกันดําเนินการใหค้ วามคุ้มครอง
ป้องกัน แก้ไข บาํ รุงรกั ษา อย่างเขม้ แขง็ จรงิ จงั และต่อเนอ่ื ง ใหเ้ กดิ ความเจริญ
และความสนั ตสิ ุขอยา่ งมัน่ คง ให้ได้
คุณธรรมจรยิ ธรรมของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
๘.เปน็ ผู้มีความมั่นใจตนเอง (Self Confidence) สงู หมายถึง มีความมัน่ ใจโดยธรรม
คือมีความม่ันใจในความรู้ ความสามารถ สตปิ ัญญาและวสิ ัยทศั น์ และทงั้
คณุ ธรรม คอื ความเป็นผมู้ ศี ีล มธี รรม อนั ตนได้ศึกษาอบรมมาดแี ลว้ มิใช่มีความมนั่ ใจ
อย่างผดิ ๆ ลอยๆ อย่างหลงตัวหลงตน ท้งั ๆ ท่ี แท้จรงิ ตนเองหาได้มคี ุณสมบตั แิ ละ
คณุ ธรรมดสี มจรงิ ไม่ และจักตอ้ งรจู้ ักแสดงความม่ันใจ ในเวลา คิด พูด ทาํ ให้เหมาะสม
กับกาละ เทศะ บุคคล สถานที่ และประชุมชน
คณุ ธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา
๙. เปน็ ผู้มี “หลักธรรมาภบิ าล” คือ คณุ ธรรมของนักปกครองนกั บริหารทดี่ ี คือ
๙.๑ หลักความถูกต้อง คือ มีการพิจารณาวินิจฉัยปัญหา การทําการตัดสินใจ และส่ัง
การ ด้วยความถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมือง และกฎระเบียบข้อบังคับ ขององค์กร ท่ีออกตาม
กฎหมาย ถกู ตอ้ งตามหลักศีลธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ีดีของสังคม
๙.๒ หลักความเหมาะสม คือ รู้จักคิด พูด ทํา กิจการงาน และปฏิบัติงานได้เหมาะสม
๙.๓ หลกั ความบรสิ ุทธ์ิ คือ มกี ารวนิ จิ ฉยั สัง่ การ กระทาํ กิจการงาน
ดว้ ยความบริสุทธิ์ ใจ คอื ดว้ ยเจตนา ความคิดอา่ น ทีบ่ รสิ ทุ ธิ์
๙.๔ หลกั ความยุติธรรม คอื มีการวินิจฉยั ส่งั การ และปฏิบตั ิต่อผ้อู ย่ใู ตป้ กครอง
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครับ