The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atittaya2000, 2022-03-26 02:43:38

การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน

การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน

หนังสืออิเล็กทรอนิกส/ฉบับนี้เป5นส6วนหนึ่ง
ในรายวิชา MAP4405 สัมมนาการศึกษาคณิตศาสตร/
เพื่อเป5นประโยชน/แก6นักศึกษาวิชาชีพครูหรือผูQที่สนใจ
ที่จะศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูQแบบเพื่อนช6วยเพื่อน (Peer
Assisted Learning) ซ ึ ่ ง ผ ู Q จ ั ด ท ำ ร ว บ ร ว ม อ ง ค / ค ว า ม ร ูQ
และนำสิ่งที่ไดQจาการคQนควQา ประยุกต/ใชQในการจัดการเรียน
การสอน

ผูQจัดทำหวังเป5นอย6างยิ่งว6าหนังสืออิเล็กทรอนิกส/ฉบับน้ี
จะเป5นประโยชน/แก6นักศึกษาวิชาชีพครูทุกท6าน รวมไปถึง
ผูQที่สนใจในการจัดการเรียนรูQแบบเพื่อนช6วยเพื่อน
(Peer Assisted Learning) หากรายงานฉบับนี้มีขQอบกพร6อง
ประการใด ผูQจดั ทำขออภยั มา ณ ทีน่ ้ี

อาทิตยา มณีงาม
ผูจQ ัดทำ

หนา#
ความหมายการจดั การเรียนร0แู บบเพือ่ นชว8 ยเพื่อน...................1
วัตถปุ ระสงค@การจดั การเรียนรแู0 บบเพื่อนชว8 ยเพือ่ น.................6
ประเภทการจัดการเรียนร0แู บบเพ่อื นชว8 ยเพือ่ น.......................10
รปู แบบการจัดการเรียนร0ูแบบเพอื่ นชว8 ยเพ่ือน........................11
ขน้ั ตอนการจดั การเรียนรแ0ู บบเพือ่ นชว8 ยเพ่อื น........................14
ตวั อยา8 งแผนการจัดการเรยี นร0ูแบบเพอื่ นชว8 ยเพอ่ื น................17
ตวั อยา8 งกิจกรรมการจดั การเรยี นรู0แบบเพือ่ นช8วยเพ่อื น..........21
ผลการจัดการเรยี นรแู0 บบเพ่ือนช8วยเพอื่ น..............................23
การวดั และประเมินผลการจัดการเรยี นรู0
แบบเพื่อนชว8 ยเพ่ือน.............................................................28
ประโยชนก@ ารจดั การเรยี นรูแ0 บบเพอื่ นช8วยเพอ่ื น....................29
บรรณานุกรม .....................................................................30

การจดั การเรยี นรแ,ู บบเพอ่ื นช4วยเพอื่ น (Peer Assist)
ยังสามารถเรียกในแบบอ่ืน ๆ ได, เชน4

- เพ่ือนช4วยสอน (Peer Tutoring)
- การเรียนรูโ, ดยกลุ4มเพอ่ื น (Peer Learning)
- การเรยี นรร,ู 4วมกนั (Peer Collaboration)
- เพอื่ นผช,ู 4วย (Peer Helper)
- เพอื่ นผ,เู อื้ออำนวย (Peer facilitator)
- การปรึกษา (Peer Counselor)

ซึ่งความหมาย และขั้นตอนยังคงเดมิ

1

Mark and Kemly (2004) กล4าวว4า เพื่อนช4วยเพื่อน
คือ การจัดประชุมที่นำกลุ4มคนมาร4วมกัน มาแลกเปลี่ยนความรูM
ประสบการณQที่ตรงกับปTญหา โครงการหรือกิจกรรมที่ตMองการ
จะทำโดยเรียนรูMจากการมีปฏิสัมพันธQกัน ในการแลกเปลี่ยน
เรียนรูM ประสบการณQตามหัวขMอที่ตMองการเป]นเหตุการณQ
ที่เกิดขึ้นเพื่อที่จะช4วยเหลือ ก4อนที่จะเริ่มดำเนินกิจกรรม
หรือโครงการใด ๆ และระหว4างดำเนินการก็ยังมีการติดตาม
ใหคM วามช4วยเหลอื ต4อไปดMวย

วิจารณQ พานิช (2548) เพื่อนช4วยเพื่อน คือ การเรียนรูM
จากกัลยาณมิตร อาจเป]นเพื่อนร4วมงานในหน4วยงานเดียวกัน
หรือเป]นคนที่อยู4ในหน4วยงานอื่นก็ไดM จะทำใหMเกิดปฏิสัมพันธQ
ระหว4างเพื่อนช4วยเพื่อน เพื่อนช4วยตรวจสอบ และเพื่อนร4วม
แลกเปลี่ยนวิธีการทำงาน ส4งเสริมใหMมีทักษะในการเรียนรูM
เป]นทีม ซึ่งเป]นกิจกรรมที่จัดขึ้นก4อนจะเริ่ม "ลงมือทำ”
เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามหัวขMอที่กำหนด โดยหาขMอมูล
(ความรูM ว4าเรื่องนั้น ๆ มีใคร ที่ไหน หน4วยงานใด ที่ทำไดM
ผลดีมาก แลMวไปขอความรูMจากเขา ไปเรียนรูMจากเขา
โดยวิธีไปดูงาน โทรศัพทQหรือ e-Mail ไปถามเชิญมาบรรยาย
หรือวิธีอื่น ๆ ก็ไดM เอามาปรับใชMกับงานของเรา แลMวพัฒนาใหMดี
ยงิ่ ข้นึ นน่ั คือ "เรยี นลัด" แลวM ต4อยอดนน่ั เอง

2

ก ร ม ว ิ ช า ก า ร ( 2544, น . 61-63) ไ ด 7 ใ ห 7 ค ว า ม ห ม า ย
ของการจัดการเรียนรู7แบบเพื่อนชIวยเพื่อนไว7วIา เปKนวิธีการ
ที่ให7ผู7เรียนสอนกันเอง ซึ่งจะชIวยให7ผู7เรียนได7รับประโยชนT
ทางด7านวิชาการด7วยกันทั้งสองฝWาย โดยมุIงเน7นเพื่อชIวยเหลือ
ผู7เรียนที่เรียนได7ช7าและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ต่ำ
มีป^ญหาทางด7านพฤติกรรม และด7านอื่น ๆ วิธีการเรียนนี้
จะชIวยให7ผู7เรียนเกิดการเรียนรู7ที่ดีขึ้นจากการสื่อสาร
สื่อความหมายระหวIางกันและกันได7เปKนอยIางดี เนื่องจาก
นักเรียนเปKนวัยเดียวกัน ซึ่งสามารถถIายทอดสิ่งที่เรียนรู7มาให7
เพื่อนฟ^งด7วยภาษาและรูปแบบของเขาเอง ทำให7งIาย
ตIอการเรยี นรแ7ู ละเข7าใจ

สุคนธT สินธพานนทT และคณะ (2545, น. 12) กลIาววIา
กลวิธีการเรียนรู7แบบเพื่อนชIวยเพื่อน เปKนวิธีการสอนวิธีหนึ่ง
ที่สืบทอดเจตนารมณTของปรัชญาการศึกษาที่วIา Leaning
by Doing Topping กลIาววIา กลวิธีการเรียนรู7แบบเพื่อน
ชIวยเพื่อน หมายถึง การจัดกิจกรรมการสอนเพื่อให7ได7มาซึ่ง
ความรู7และทักษะ โดยการให7ความชIวยเหลือสนับสนุน
จากเพื่อนรIวมชั้นที่ได7จากการจับคูIกัน โดยผู7เรียนทั้งคูIชIวยเหลือ
กันเรียนและได7เรียนรู7ซึ่งกันและกัน โดยอาศัยการกระทำ
ผู7เรียนมสี IวนรวI มในการเรียน

3

ศิวนิต อรรถวุฒิกุล (2551, น. 86) กล7าวว7า การจัดการเรียนร@ู
แบบเพื่อนช7วยเพื่อน หรือ เพื่อนช7วยสอน เปJนแนวคิด
ที่นำกลุ7มคนมาร7วมแลกเปลี่ยนความรู@ ประสบการณQ
ที่ตรงกับปSญหา ประเด็นที่ต@องการขอความช7วยเหลือ
โดยเรียนรู@จากการมีปฏิสัมพันธQกัน ร7วมมือกันทำกิจกรรม
การเรียนเปJนคู7หรือกลุ7มย7อย ถ7ายทอดความรู@แก7เพื่อนร7วมชั้น
หรือต7างชั้นเรียน โดยผู@ที่มีความสามารถทางการเรียนสูงกว7า
จะเปJนผู@ให@ความช7วยเหลือ ผู@สอนทำหน@าที่ให@ความช7วยเหลือ
ให@คำแนะนำ และสนับสนุนการเรียนการสอน นอกจากนี้
จะช7วยให@ผู@เรียนได@เรียนรู@ก7อนลงมือปฏิบัติจริง เรียนลัดวิธีการ
ทำงานต7าง ๆ โดยผ7านประสบการณQผู@อื่น และไม7ทำผิดพลาดซ้ำ
ในสิ่งที่เคยมีผู@ทำผิดพลาด และจะได@รู@ว7าใครรู@อะไร
เพื่อขอความช7วยเหลือในสิ่งที่เราอาจไม7เคยรู@มาก7อน
ทั้งนี้สิ่งสำคัญ คือ จะช7วยสร@างแรงจูงใจ และทัศนคติที่ดี
ในการเรียนส7งผล ให@เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น
และช7วยส7งเสริมความสัมพันธQที่ดี เพิ่มพูนทักษะทางสังคม
อีกด@วย

4

สรุปได'ว)า การจัดการเรียนรู'แบบเพื่อนช)วยเพื่อน
เป;นวิธีการสอนที่ให'ผู'เรียนได'สอนกันเองผ)านการดำเนินกิจกรรม
ร)วมกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด และประสบการณIช)วยเหลือ
ซึ่งกันและกัน โดยเกิดการเรียนรู' จากการมีปฏิสัมพันธIกับเพื่อน
ไม)ว)าจะเป;นการดำเนินกิจกรรมแบบจับคู)หรือเป;นกลุ)ม
มุ)งเน'นให'ผู'เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีช)วยเหลือผู'เรียน
ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่น'อยกว)า ซึ่งวิธีการนี้จะช)วยให'
ผู'เรียนเกิดการเรียนรู'ที่ดีขึ้น จะส)งเสริมให'ผู'เรียนได'เกิดการพัฒนา
ทั้งสองฝTาย ไม)ว)าจะเป;นผู'ให'ความช)วยเหลือหรือผู'ได'รับความ
ช)วยเหลือจะได'ประโยชนI ในด'านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และด'านความสัมพันธIที่ดีขึ้น เพราะผู'เรียนจะใช'ระดับภาษา
ทเี่ ขา' ใจไดง' า) ยมากกวา) ครผู สู' อน

5

การจัดการเรียนรู,แบบเพื่อนช4วยเพื่อนจะช4วยให,ผู,เรียนมีการพัฒนา
ในด,านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด,านกระบวนการทำงานกลุ4ม
และด,านเจตคติที่ดีกับการเรียน โดยรวมการจัดการเรียนรู,แบบเพื่อน
ช4วยเพื่อนจะส4งผลดีทั้งต4อครูผู,สอน เนื่องจากมีผู,เรียนที่ได,แบ4งเบา
ภาะระในการสอน และผู,เรียนได,รับความรู,และความคิดเห็นจากเพื่อน
ซึ่งเปQนสิ่งที่ดี เพราะหากทำงานคนเดียวก็จะมีความคิดของคนคนเดียว
เมื่อได,ทำงานร4วมกันก็จะได,แบ4งปSนความคิดเห็นกัน ได,รับความรู,ใหม4
เรียนรู,การทำงานร4วมกับผู,อื่น รู,จักรับฟSงแล,วนำมาปรับใช,ให,สอดคล,อง
กับงานของตนเอง ทั้งยังได,รับการมีปฏิสัมพันธVที่ดี และได,รู,จัก
กับบุคคลอ่นื มากขน้ึ

6

อุทัย เพชรช+วย (2527, น. 13-14) กล+าวว+า การสอนโดย
วิธีเพื่อนช+วยเพื่อน เปEนวิธีการสอน ที่มุ+งใหJนักเรียนเกิดแรงจูงใจ
ต+อการเรียนมากขึ้น เนื่องจากนักเรียนทุกคนเปEนผูJที่มีบทบาท
ในกิจกรรมการเรียนการสอนวิธีการสอนดังกล+าวมีจุดประสงคV
ดงั นี้
1. เพื่อเปEนการส+งเสริม เรื่อง กระบวนการกลุ+ม

โดยเนJนการใหJนักเรียนช+วยเหลือกัน ตลอดจนการเห็น
คุณคา+ ของการศึกษาหาความรJูดวJ ยตนเอง
2. เพื่อใหJนักเรียนที่มีระดับความสามารถแตกต+างกัน
สามารถเรียนประสบการณVอยา+ งเดยี วกนั ไดJ
3. เพื่อใหJนักเรียนเรียนรูJจากแหล+งต+าง ๆ มากขึ้น
เช+น จากเพื่อนนักเรียนดJวยกัน หรือจากอุปกรณVต+าง ๆ
ที่นำมาประกอบบทเรยี น
4. เพื่อสรJางทัศนคติที่ดี รวมทั้งแรงจูงใจในการเรียน
เนื่องจากนักเรียนผูJสอนจะรูJสึกภาคภูมิใจ
หรือรูJสึกว+าตนเองไดJรับความสำเร็จในการเรียน
เนื่องจากมีโอกาสไดJทำประโยชนVใหJเพื่อนนักเรียน
สำหรับนักเรียนผูJมีป`ญหาในการเรียนก็จะลดความกังวล
ในเร่ืองขอJ บกพรอ+ งของตนเอง

7

5. เพื่อให*การสอนเป1นลักษณะที่มีการสื่อสารมากขึ้น
ลักษณะดังกล@าว จะทำให*ปฏิสัมพันธGระหว@างนักเรียน
มีมากขึ้น เนื่องจากบรรยากาศในชั้นเรียน
จะมีความเปน1 กนั เอง

6. ครูจะเป1นแต@เพียงผู*ให*คำแนะนำ ให*คำปรึกษา
และคอยสังเกต ตลอดจนทำการแก*ไขปSญหาที่เกิดขึ้น
ในการเรียนการสอนของนักเรียนแตล@ ะคน

วัตถุประสงคGของการจัดการเรียนรู*แบบเพื่อนช@วยเพื่อน
ในการแลกเปลี่ยนความรู*กันระหว@างทีม สามารถออกแบบ
เป1นองคGความรอ*ู ย@างง@าย ดังนี้

รูปที่ 1 แสดงความรูจ* ากการแลกเปลย่ี นความรู*ระหว@างทมี 8
ทีม่ า สาโรจนG เกษมสโุ ชตกิ ุล (2550)

จากรูปที่ 1. เริ่มต1นจากความรู1ข1อที่มีความรู1 1 ก1อนที่ทีมเรามี
อยู8หรือสิ่งที่เรารู1 เมื่อทีมผู1ช8วยเข1ามาก็จะนำความรู1จากภายนอก
เข1ามานั่นคือข1อที่ 2 ซึ่งเปGนความรู1จากสิ่งที่ผู1อื่นรู1จักอีก 1 ก1อน
เข1ามาประกอบกับสิ่งที่เรารู1และในข1อ 2 ก1อนของความรู1ดังกล8าว
ก็จะมีบางส8วนของความรู1ที่ทั้งทีมเราและทีมผู1ช8วยรู1ร8วมกัน
ซึ่งก็คือข 1อท ี่ 3. ท ี่แสดงให1เห็น ถ ึงสิ่งท ี่รู1ร8วมกัน
ทั้งนี้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู1ระหว8างกันก็จะก8อให1เกิด
"สิ่งที่รู1ใหม8” ซึ่งเปGนความรู1อีกก1อนที่สามารถนำไปสู8การปฏิบัติได1
ในท่สี ุดในข1อท่ี 4

9

การจัดการเรียนรู,แบบเพื่อนช4วยเพื่อน สามารถจัดประเภท
ได, 3 ประเภท

1.การสอนแบบเพื่อนช4วยเพื่อน คือ การที่ให,ผู,เรียนได,ศึกษา
หาความรู,จากเพื่อนด,วยกันเอง ผู,สอนมีบทบาทหน,าท่ี
ใหค, ำแนะนำ ชว4 ยเหลือ ส4งเสรมิ ความคดิ ของผเู, รียน

2.การให,คำปรึกษาแบบเพื่อนช4วยเพื่อน คือ การช4วยเหลือ
ให,คำแนะนำทางจิตใจจากเพื่อน เพื่อส4งเสริมความคิด
ความเชื่อมั่น ความเข,มแข็ง และชี้แนะแนวทางการแก,ปRญหา
ให,แก4ผูเ, รยี น

3.การจัดกิจกรรมแบบเพื่อนช4วยเพื่อน คือ การดำเนินกิจกรรม
ในรูปแบบจับคู4หรือกลุ4ม ร4วมกันแก,ไขปRญหาร4วมกัน
รจ,ู กั กระบวนการทำงานในรูปแบบกล4ุม
10

การจัดการเรียนรู,แบบกลุ1มเพื่อนช1วยเพื่อนสามารถ
นำมาประยุกต@ใช,ได,กับการจัดชั้นเรียนตามปกติหรืออาจจะจัด
ชั้นเรียนพิเศษ โดยให,นักเรียนเรียนรู,จากเพื่อนในวัยเดียวกัน
หรือต1างชั้นเรียน นอกจากนี้ครูผู,สอนยังสามารถนำไปใช,กับ
เนื้อหาตามปกติหรือใช,ในการทบทวนหรือสอนซ1อมเสริม
ได,ตามความเหมาะสม สามารถแบ1งรูปแบบของการจัดการเรียนร,ู
แบบเพอ่ื นช1วยเพือ่ น ดังน้ี

1. การสอนโดยเพื่อนรว1 มช้ันเรยี น
2. การสอนโดยเพื่อนต1างชั้นเรยี น
3. การสอนโดยการจบั ค1ู
4. การสอนโดยการสลบั บทบาท
5. การสอนโดยบคุ คลทางบา, น

11

1. การสอนโดยเพือ่ นรว0 มชั้นเรียน
การสอนโดยเพื่อนร.วมชั้นเรียน เป7นการเป8ดโอกาสให;ผู;เรียน
ได;ทำงานร.วมกันในรูปแบบกลุ.ม โดยผู;เรียนทุกคนจะผลัดกัน
สลับบทบาทหน;าที่ระหว.างคนสอน และคนเรียนในระหว.าง
การทำกิจกรรม

2. การสอนโดยเพอ่ื นต0างช้นั เรยี น
การสอนโดยเพื่อนต.างชั้นเรียน เป7นการสอนที่จับคู.ของผู;เรียน
ทอ่ี ายุแตกตา. งกนั แต.ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยใ.ู นระดบั เดยี วกนั

3. การสอนโดยการจบั ค0ู
การสอนโดยการจับคู. เป7นการสอนที่ผู;เรียนอยู.ในระดับชั้น
เดียวกันจับคู.ระหว.างผู;เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
อยู.ในระดับสูงกับผู;เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
ให;ดำเนนิ กจิ กรรมร.วมกัน

12

4. การสอนโดยการสลบั บทบาท
การสอนโดยการสลับบทบาท เป1นการสอนที่ให6ผู6เรียน
ที่มีอายุมากกว<า แต<ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำจับคู<กับผู6เรียน
ที่อายุน6อยกว<าแต<ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลางได6ทำงาน
ร<วมกัน ผู6เรียนทั้งสองจะได6สลับบทบาทในเวลาเดียวกัน
เป1นทั้งผู6สอนที่สามารถถ<ายทอดความรู6 และผู6เรียนที่ได6รับ
การสอน
5. การสอนโดยบคุ คลทางบ5าน
การสอนโดยบุคคลทางบ6าน เป1นการสอนของคนในครอบครัว
ท่ีใหค6 วามช<วยเหลอื แกบ< ตุ รหลานของตนในระหว<างทอี่ ย<ูทีบ่ า6 น

13

การดำเนินการการจัดการเรียนรู.แบบเพื่อนช6วยเพื่อน
จำเป:นต.องมีการวางแผนเพื่อให.การจัดการเรียนรู.เป:นไปได.ดี
และส6งผลประโยชนFมากในการวางแผนการทำงาน
จะ ต.องวา งแผน ตั้งแต6ก6อน เร ิ่ม กา ร จัดกา ร เร ียน ร ู.
โดยแบง6 ได. 3 ระยะ ดงั นี้

ระยะเตรียมการ
ระยะดำเนินกิจกรรม
ระยะติดตามผล

14

ระยะเตรยี มการ
1. ผูส% อนกำหนดหวั ข%อหรือปญ3 หาในการจดั การเรยี นรู%

แบบเพื่อนชAวยเพือ่ นใหช% ดั เจน
2. ผู%สอนวางแผนสำหรับการจดั การเรยี นรู%แบบเพอ่ื น

ชวA ยเพื่อน โดยกำหนดระยะเวลาใหเ% หมาะสมกับกจิ กรรม
3. ผส%ู อนตรวจสอบวAามผี %ูเรียนคนใดเคยแก%ปญ3 หาน้แี ลว% หรอื ไมA

ไมคA วรจัดให%ผทู% ผี่ Aานการแกป% 3ญหาแลว% อยรูA วมกลุAมเดยี วกนั
4. ผู%สอนจดั กลมAุ ให%แกAผเ%ู รียน จำนวนสมาชิกควรอยูAท่ี 6 – 8

คน (ผู%สอนพิจารณาตามความเหมาะสมของชน้ั เรยี นอีกคร้งั
หนึ่ง) ในแตAละกลุAมให%มสี มาชิกท่มี ีทักษะและความสามารถ
อยาA งหลากหลาย

15

ระยะดำเนนิ กจิ กรรม
1. ผ%ูสอนแจ%งวตั ถปุ ระสงคแ5 ละหัวขอ% หรอื ป:ญหา

ของการดำเนินกจิ กรรมใหแ% ก%ผเ%ู รียนทราบ
2. ผเ%ู รียนคิดคน% วิธีการแก%ปญ: หาภายในกลLมุ

ผ%ูสอนคอยสงั เกต และใหค% ำแนะนำแกผL เ%ู รียน
3. ผู%เรยี นนำเสนอวิธีการแกป% :ญหาของกลLุมตนเอง

หน%าช้นั เรยี น
4. ผู%เรียนกลมุL อืน่ เสนอความคดิ เหน็ ทีม่ ตี LอกลมLุ ทน่ี ำเสนอ

เนน% เปนS การใหข% อ% เสนอแนะและวิธีการแก%ไข
5. ผู%เรียนรวL มกนั และเปลีย่ นความคิดระหวาL งกลLมุ
ระยะตดิ ตามผล
1. ผ%เู รียนนำข%อเสนอของเพ่ือนตLางกลุมL มาปรับใช%ให%

สอดคลอ% งกับงานของตนเอง
2. ผเ%ู รียนทำรูปเลLมรายงานหรือนำเสนอผลงานตอL ผู%สอน

16

ตวั อย&างท่ี 1 กลุ$มสาระการเรยี นคณติ ศาสตร3
ช้ัน มัธยมศึกษาปท9 ี่ 1
เร่ือง การสรา6 งสว& นของเสน6 ตรง
ขน้ั นำ
1. ครใู ชบB ัตรคำทบทวนความรเBู ดมิ เก่ยี วกับจดุ ส$วนของเสBนตรง

เสBนตรง รงั สี และมุม

17

ขัน้ สอน
1. ครแู จ(งจดุ ประสงคก/ ารเรยี นรู(ภายในคาบน้ี
2. ครูสอนการสร(างสว< นของเสน( ตรง
3. ครแู บ<งกลมุ< นักเรียนคละระดับความร(ู
4. ครูใหน( ักเรยี นแตล< ะกลุ<มสร(างส<วนของเสน( ตรงตามความยาว

ทก่ี ำหนด
5. ครูสม<ุ นักเรียนให(นำเสนอวิธกี ารสรา( งสว< นของเสน( ตรง

หนา( ชั้นเรยี น
6. ครใู หข( (อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ
ขนั้ สรปุ
1. ครูและนักเรียนร<วมกันสรปุ บทเรียน เรื่อง การสรา( ง

สว< นของเส(นตรง
การวัดและประเมนิ ผล
- แบบฝกR หดั

18

ตวั อยา& งที่ 2 กลมุ$ สาระการเรยี นรู/ภาษาต$างประเทศ

ชนั้ ประถามศกึ ษาป9ท่ี 4

เร่อื ง Wild Animals

ขน้ั นำ
1. ครูแจง/ จดุ ประสงคกL ารเรียนรภู/ ายในคาบ
2. ครแู บง$ กล$มุ นกั เรยี นคละระดบั ความร/ู

ข้ันสอน
1. ครสู อนการอ$านออกเสียงคำศัพทใL นหัวข/อ Wild Animals
2. ครูใหน/ กั เรยี นฝXกการอ$านออกเสยี งภายในกลม$ุ ของตนเอง
3. ครูใหน/ กั เรียนแต$ละกลุ$มอ$านออกเสียงหนา/ ช้นั เรยี น
4. ครบู อกข/อบกพร$องและขอ/ เสนอแนะในการอา$ นออกเสียง

ข้นั สรปุ
1. ครใู หน/ ักเรียนฝXกอ$านออกเสยี งนอกเวลาเรยี นเพ่ิมเตมิ

การวัดและประเมินผล 19
- ใบความร/กู ารอา$ นออกเสียงภาษาอังกฤษหัวข/อ Wild

Animals

ตวั อย&างที่ 3 กลมุ$ สาระการเรยี นรก/ู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท> ี่ 3

เรื่อง เคร่อื งมอื และอุปกรณDเขียนแบบ

ขน้ั นำ
1. ครูนำตวั อย$างแบบบ/านใหแ/ ก$นักเรียนเพือ่ ศึกษาวิธกี ารสรา/ ง
2. ครแู บ$งกลุม$ นกั เรยี นคละระดับความรู/

ข้นั สอน
1. ครูแจกอุปกรณDการเขียนแบบใหแ/ กน$ ักเรยี น
2. นักเรียนทำแบบฝกS หดั การสร/างแบบบ/านเปTนรายบุคคล

โดยมีเพอ่ื นภายในกลุ$มใหค/ วามช$วยเหลือ
3. ครคู อยใหข/ อ/ เสนอแนะ และช$วยแกป/ Vญหา

ขั้นสรุป
1. ครแู ละนกั เรียนชว$ ยกนั สรปุ บทเรียน

การวัดและประเมนิ ผล
- แบบฝSกหัด

20

กิจกรรม จับคห+ู ลอดไฟ
ครูจับกลุ*มให.นักเรียนคละระดับความรู.ได.ร*วมกันแก.ป:ญหา

สถานการณร? *วมกนั ดงั น้ี
มีห.องอย*ู 2 ห.อง
ห.องที่ 1 : เปนI หอ. งทีม่ สี วิตชส? ำหรับเปNดไฟ
ห.องที่ 2 : เปIนห.องทมี่ หี ลอดไฟ

ต.องการจับคู*สวิตซ?ไฟกับหลอดไฟให.ถูกต.อง
สามารถเดนิ ขา. มห.องได.เพียงคร้ังเดยี วเทา* นน้ั

21

ทั้งนี้ ครูสามารถใช1ป3ญหาสถานการณ8ใกล1ตัวนักเรียน
เพื่อให1นักเรียนได1แก1ป3ญหารEวมกัน หรือจัดการเรียนร1ู
ตามหนEวยการเรียนร1ูน้ัน ๆ

สามารถรับชมวิดีโอการจัดการเรียนรู1แบบเพื่อนชEวยเพื่อน
เพ่ิมเตมิ ได1

22

ช่อื ผวู' จิ ัย ไอลดา จันทร,ลอย
ป/ทีท่ ำวิจยั พ.ศ. 2562
ช่ือวจิ ัย

การอ5านออกเสียงคำศัพท,ภาษาอังกฤษ โดยการเรียนรAู
แบบเพอ่ื นช5วยเพ่ือนของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปทO ี่ 4

ผลการวจิ ยั

นักเรียนมีความรูAภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว5าก5อนเรียน
โดยก5อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยนอยู5ที่ 3.37และหลังเรียนอยู5ที่ 7.37
(คะแนนเต็ม 10) เมื่อทดสอบค5า paired t-test นักเรียนมีความรูA
ภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว5าก5อนเรียนอย5างมีนัยสำคัญ
ท่รี ะดบั .05 และนักเรยี นมีเจตคตทิ ีด่ ตี อ5 วชิ าภาษาอังกฤษ

23

ช่อื ผ'วู จิ ัย พัดชา บตุ รดีวงศ/, สมโภชน/ อเนกสขุ
และ ณฐั กฤตา งามมีฤทธ์ิ

ปท/ ที่ ำวิจยั พ.ศ. 2561

ชอื่ วจิ ัย
การวิจัยและพัฒนาวิธีการเพื่อนชNวยสอนโดยรNวมชั้นแบบจับคNู

เ พ ื ่ อ ย ก ร ะ ด ั บ ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ ท า ง ก า ร เ ร ี ย น ว ิ ช า ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร/
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปVที่ 5 โรงเรียนวิทยาศาสตร/จุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลยั

ผลการวิจยั
ผูXวิจัยคัดเลือกนักเรียนเขXารับวิธีการสอนจากการทำแบบทดสอบ
วิชาคณิตศาสตร/ โดยกลุNมนักเรียนที่ไดXคะแนนตำแหนNงเปอร/เซ็นต/
ไทล/ที่ 75เป_นผูXสอน และนักเรียนที่ไดXคะแนนต่ำกวNาตำแหนNง
เปอร/เซ็นต/ไทล/ที่ 25เป_นผูXไดXรับการสอน ครูมีวิธีวัดและประเมินผล
คือ 1)การสังเกตพฤติกรรม 3 ดXาน คือ ดXานความรูX ดXานทักษะ
และกระบวนการ และดXานจิตพิสัย 2)ตรวจแบบฝcกหัด
3)ตรวจแบบทดสอบ ผลการวิจัย พบวNา นักเรียนที่เป_นผูXรับ
การสอน จากเพื่อนมีคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยอยูNที่70.51
อยูNในเกณฑ/พัฒนาในระดับสูง และนักเรียนมีเจตคติที่ดี
ตNอวิชาคณิตศาสตร/
24

ชื่อผ'ูวิจยั พลอยรุง' ศรแี ยม'
ป/ทที่ ำวิจัย พ.ศ. 2561
ชอื่ วิจยั

ก า ร เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ ท า ง ก า ร เร ี ย น ว ิ ช า ค ณ ิ ต ศ า ส ต รA
เรือ่ ง การดำเนนิ การของฟHงกAชนั ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปNที่ 4
ที่สอนด'วยการจัดการเรียนรู'แบบเพื่อนชRวยเพื่อนกับการสอน
แบบปกติ
ผลการวิจัย

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปNที่ 4ที่สอนด'วยการจัดการเรียนรู'
แบบเพื่อนชRวยเพื่อนกับการสอนแบบปกติ พบวRา นักเรียนบางสRวน
มีทักษะทางคณิตศาสตรAคRอนข'างน'อย และในขณะเดียวกัน
สามารถพัฒนานักเรียนที่มีทักษะทางคณิตศาสตรAที่สูงอยูRแล'ว
ให'สูงขึ้นอีกได' โดยการใช'การจัดการเรียนรู'แบบเพื่อนชRวยเพื่อน
โดยวิเคราะหAความแตกตRางของคRาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของกลุRมทดลองโดยการทดสอบคRาที (t-test) กลุRมตัวอยRาง
สองกลุRมเปdนอิสระจากกัน (IndependentSample)พบวRา
นักเรียนที่ได'รับการจัดการเรียนรู'แบบเพื่อนชRวยเพื่อนสูงกวRา
นักเรียนที่ได'รับการจัดการเรียนรู'แบบปกติมีนัยสำคัญทางสถิติ

ท่ี .05 25

ชื่อผูว' ิจัย เกศรา ขนั ทองดี

ปท/ ี่ทำวจิ ยั พ.ศ. 2561

ช่อื วจิ ัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชBวิธีการเรียนการสอน

แบบเพื่อนชHวยเพื่อนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปMที่ 4/1
โรงเรยี นบอH แกBววิทยา ต.พานทอง อ.ไทรงาม จงั หวัดกำแพงเพชร

ผลการวจิ ัย
1. นักเรียนไดBรับประโยชนVจากเพื่อนและมีโอกาสไดBรับ
ประสบการณVในการแกปB Xญหาหลายวิธี
2. นักเรียนที่เรียนเกHงมี โอกาสขยายความรูBใหBเพื่อนฟXงไดB
และชวH ยเหลอื เพอ่ื นทเี่ รยี นอHอนไดB
3. ทำใหBนักเรียนรูBจักทำงานรHวมกับผูBอื่น ปรับตัวเขBากับสังคม
และรสBู ึกชอบโรงเรียนมากย่ิงขึ้น
4. นักเรียนเขBาใจวัฒนธรรมของผูBอื่นมากยิ่งขึ้น มีความสัมพันธV
กันเปน^ อันดี แมBจะมีพื้นฐานที่แตกตHางกันไดBชHวยกันแกBปXญหา
ซง่ึ สงิ่ เหลHานีช้ Hวยพฒั นาทักษะทางชีวิตทีส่ ำคัญ
5. ทำใหBบรรยากาศในการเรยี นมีความสนุกสนานนาH เรียน
6. ทำใหBนักเรียนกลBาพูดกลBาซักถาม และกลBาแสดง
ความคดิ เห็นตHอหนBาเพอื่ นในช้นั
7. ชHวยครูในการสอนและควบคุมช้ันเรยี น 26

ชอื่ ผว'ู ิจัย Elisabeth Schuetz
ปท/ ี่ทำวจิ ัย ค.ศ. 2017
ชอ่ื วจิ ัย

A large-scale peer teaching programme acceptance
and benefit
ผลการวิจัย

นักเรียนเกือบ 70% พึงพอใจกับการสอนแบบเพื่อน
ชUวยเพื่อน และเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับป^กUอนหน`าน้ี
ซึ่งไมUได`รับการสอนแบบเพื่อนชUวยเพื่อนได`รับผลที่ดีขึ้น
การสอนแบบเพื่อนชUวยเพื่อนยังสUงผลประโยชนgอีก
ในเรื่องของการลดระยะเวลาเรียนรู`และเพิ่มผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นให`ดขี ึน้

27

การจัดการเรียนรู,แบบเพื่อนช4วยเพื่อน เป8นการพิจารณา
กระบวนการทำงานกลุม4 การวัดและประเมนิ สามารถทำได, ดงั น้ี
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- แบบฝ/กหัด
- แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ

28

การจัดการเรียนรู,แบบเพื่อนช4วยเพื่อน ส4งผลประโยชน>ในด,านดี
ท้งั แก4ครผู ส,ู อนและนกั เรยี น ดังน้ี

1. นักเรยี นได,ฝกG กระบวนการทำงานรว4 มกับผ,อู ่นื
2. นักเรยี นมคี วามสขุ สนุกสนานกับการเรียน

ส4งผลใหน, ักเรียนมเี จตคติท่ีดตี อ4 การเรยี น
3. นกั เรียนสามารถแบ4งเบาภาระการสอนจากครูผู,สอนได,
4. ครสู ามารถแกป, ญT หาทางการเรยี นไดอ, ย4างตรงจุด

29

กรมวชิ าการ. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2544 คGูมอื การจดั การเรียนรูL
กลมGุ สาระการเรียนรูคL ณติ ศาสตรN. กรุงเทพฯ.
โรงพมิ พคN รสุ ภา ลาดพราL ว.

เกศรา ขนั ทองด.ี (2561). การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
โดยใชLวิธกี ารเรียนการสอนแบบเพอ่ื นชวG ยเพอื่ น
ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาป\ที่ 4/1 โรงเรียนบGอแกวL
ตำบลพานทอง อำเภอไทรงาม จงั หวดั กำแพงเพชร.

พลอยรุLง ศรีแยมL . (2561). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรN เร่อื ง การดำเนินการ
ของฟงa กNชันของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาป\ที่ 4
ที่สอนดวL ยการจดั การเรยี นรูLแบบเพ่อื นชวG ยเพอ่ื น
กบั การสอนแบบปกติ. วิทยานพิ นธปN ริญญามหาบณั ฑติ
สาขาวิชาคณติ ศาสตรN คณะศึกษาศาสตรN
มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.

พดั ชา บุตรดีวงศN, สมโภชนN อเนกสุข และ ณัฐกฤตา งามมฤี ทธิ์.
(2561). การวิจัยและพัฒนาวิธีการเพื่อนชวG ยสอน
โดยรวG มชน้ั แบบจับคเูG พอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตรNของนกั เรยี น
ช้ันมัธยมศกึ ษาป\ท่ี 5 โรงเรยี นวิทยาศาสตรNจุฬาภรณ
ราชวิทยาลยั . มหาวิทยาลัยบรู พา. 30

วิจารณ' พานิช. (2548). การจดั การความรู9 ฉบบั ทา9 จริงอย@างงา@ ย
สถาบนั สง@ เสรมิ การจัดการความร9ู เพอ่ื สังคม (สคส.)
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร
เพอ่ื สรปุ บทเรียนการจดั การความร9ู ปL 2548.
ณ โรงแรมเดอะทวนิ โลตสั นครศรีธรรมราช.

ศิวนติ อรรถวุฒกิ ลุ . (2551). การพฒั นากระบวนการแลกเปลี่ยน
เรยี นร9ูโดยใชค9 อมพิวเตอรส' นบั สนุนการเรยี นร9ู
อยา@ งร@วมมอื ตามแนวคิดการเรยี นร9แู บบเพื่อนช@วยเพอ่ื น
เพื่อสร9างพฤตกิ รรมการสร9างคสามรขู9 องนิสิตนกั ศึกษา
ระดับบัณฑติ ศกึ ษา. วิทยานิพนธ'ปรญิ ญาครุศาสตร
ดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสาร
คณะครุศาสตร' จุฬาลงกรณม' หาวิทยาลยั . กรงุ เทพฯ.

สาโรจน' เกษมสขุ โชตกิ ลุ . (2550). Peer Assist: เรียนรู9ก@อนทำ
ผ@านทมี ช@วยคิดนอกกะลา
.http://hpc4.anamai.moph.go.th/pmqa12/data/
kpi13/peer_assist.pdf.

สุคนธ' สินธพานนท' และคณะ. (2545). การจัดกระบวนการ
เรยี นร:ู9 เน9นผ9ูเรียนเปyนสำคญั ตามหลักสูตรการศกึ ษา
ขนั้ พืน้ ฐาน. กรุงเทพ: อักษรเจรญิ ทัศน'.

31

อุทยั เพชรช+วย. (2527). การทดลองสอนคณิตศาสตร?
ชัน้ ประถมศึกษาปทG ่ี 5 โดยใหนM ักเรยี นที่มผี ลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนสูงและปานกลางเปTนผMสู อนนักเรียน
มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นต่ำ.ปริญญานพิ นธก? ารศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศกึ ษา
มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

Elisabeth Schuetz. (2017). A large-scale peer teaching
programme - acceptance and benefit. LMU Co.
Med, Ludwig-Maximilians-University.

Mark and Kemly. (2004). Knowledge Sharing Toolkit:
An Evolving Collection of Practical Knowledge
Sharing Techniques.

32




Click to View FlipBook Version