The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yimma.yo, 2022-06-03 11:24:04

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

หลกั สตู รปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๕

ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์

สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๒
สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการมีคาส่ังท่ี สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เมื่อ วันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
เพื่อใหส้ ถานศึกษาหรอื สถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสงั กดั นาหลักสูตรไปใช้โดยให้ปรับปรุงให้เหมาะสมกับเด็ก
และสภาพทอ้ งถ่นิ

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ จัดการศึกษาปฐมวัย โดยยึดนโยบายการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาจัดการศึกษามาอย่าง
จรงิ จังและตอ่ เนอ่ื ง จากคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ โรงเรียนจึงแต่งต้ังคณะกรรมการ
จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ข้ึน และได้ดาเนินการใช้หลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวัยมาระยะเวลาหน่งึ โรงเรยี นจึงไดม้ ีการประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย และนามาสู่การ
พฒั นาปรบั ปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยฉบับนใี้ ห้มีคณุ ภาพ และความสอดคลอ้ งกับสภาพการเปลี่ยนแปลง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน และ
ประเทศชาติ รวมถึงความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ จึงได้พัฒนาปรับปรุง
หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ฉบับนข้ี นึ้

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ขอขอบคุณ ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ทั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา
ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ า้ นการศึกษาปฐมวยั ศกึ ษานิเทศก์ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะผู้บริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย
ครชู ั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตลอดจนบุคลากรทุกคนท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทา
หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยโรงเรียนนิกรราษฎร์บารงุ วิทย์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ให้สาเรจ็ และมคี วามเหมาะสม
มคี ุณภาพในการนาไปใชจ้ ัดการศกึ ษาปฐมวัย

(นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทย)
ผู้อานวยการโรงเรยี นนกิ รราษฎร์บารงุ วิทย์



ประกำศโรงเรียนนกิ รรำษฎรบ์ ำรงุ วทิ ย์
เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลกั สตู รสถำนศึกษำปฐมวัย โรงเรยี นนกิ รรำษฎรบ์ ำรุงวิทย์ พทุ ธศกั รำช ๒๕๖๕

ตำมหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวยั พุทธศกั รำช ๒๕๖๐
ดว้ ย กระทรวงศกึ ษาธิการมคี าสง่ั ที่ สพฐ. ๑๒๒๓ /๒๕๖๐ ใหใ้ ช้หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพอ่ื ใหก้ ารจัดการศึกษาปฐมวัยที่ต้องพฒั นาเดก็ ตัง้ แตแ่ รกเกดิ – ๖ ปี ให้มพี ัฒนาการด้าน
รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญาทเ่ี หมาะสมกบั วัย ความสามารถ และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มท่จี ะเรียนรูแ้ ละสรา้ งรากฐานชีวิต ใหพ้ ัฒนาเด็กปฐมวัยไปสคู่ วามเป็นมนุษยท์ ่ี
สมบูรณ์ เปน็ คนดี มีวนิ ยั ภมู ใิ จในชาติ และมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองครอบครวั ชมุ ชน สังคม และ
ประเทศชาติ ตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ และโดย
อาศยั อานาจความในมาตรา ๕ แหง่ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับ
ท่ี ๒ ) พ.ศ.๒๕๕๔ กระทรวงศึกษาธิการจึงให้ใช้หลักสตู ร พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ แทนหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั
๒๕๔๖ เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษาหรือสถาบนั พัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด นาหลกั สตู รไปใช้โดยให้ปรับปรงุ ให้
เหมาะสมกับเด็กและสภาพท้องถน่ิ
โรงเรยี นนกิ รราษฎร์บารงุ วทิ ย์ จงึ ดาเนินการพฒั นาปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรยี น
นกิ รราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยนา
สารสนเทศจากการประเมนิ หลักสูตรมาพฒั นาปรับปรุงหลักสูตรใหม้ ีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน และ
ความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถิ่น เพอื่ นาไปใชจ้ ัดการศกึ ษาระดับปฐมวัย ให้เดก็ ได้รับการพฒั นาใหบ้ รรลุ
จดุ หมายวิสัยทศั น์ เปา้ หมาย และมาตรฐานคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ตามทหี่ ลกั สตู รกาหนด

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๕

ลงชอื่ ลงชอ่ื
(นายจานงค์ อ่อนแย้ม) (นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทย)

ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ผ้อู านวยการโรงเรียนนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์

สำรบญั ค

คำนำ หนำ้
ประกำศใชห้ ลกั สูตรสถำนศึกษำปฐมวยั โรงเรยี น ก
สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพ้นื ฐำนโรงเรียน ข
ส่วนท่ี ๒ ควำมนำเก่ียวกบั หลกั สูตรกำรศึกษำปฐมวัย ๑
๑๑
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั ๑๑
วิสยั ทัศน์ ๑๑
หลกั การ ๑๑
จุดหมาย ๑๒
พัฒนาการเด็กปฐมวัย ๑๒
แนวคดิ การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ๑๓
ส่วนท่ี ๓ หลกั สตู รสถำนศึกษำปฐมวยั โรงเรียนนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วิทย์ ๑๙
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยของโรงเรียน ๑๙
วิสยั ทัศน์ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ของโรงเรยี น ๑๙
จุดหมาย ๒๐
มาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ๒๒
- ตัวบ่งชี้ ๒๒
- สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๒๒
การจัดเวลาเรยี น ๒๙
สาระการเรียนรู้ ๓๑
๓๑
- ประสบการณส์ าคญั ๔๙
- สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ๕๒
การวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรรู้ ายปี ๕๓
- ชัน้ อนุบาล ๒ อายุ ๔-๕ ปี ๖๙
- ชนั้ อนุบาล ๓ อายุ ๕-๖ ปี



สำรบญั

หนำ้

ขอบข่ายเวลาเรยี นและสาระการเรียนรู้ เดก็ อายุ ๔ ปี ๘๔

ขอบขา่ ยเวลาเรยี นและสาระการเรียนรู้ เดก็ อายุ ๕ ปี ๘๖
การจัดหน่วยการเรียนรรู้ ายปี ๘๗
การจดั ประสบการณ์ ๘๙

การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้ ๑๑๐
การประเมนิ พัฒนาการ ๑๑๙

การบริหารจัดการหลักสตู ร ๑๓๔
การเชอ่ื มรอยตอ่ ระดับการศกึ ษาปฐมวัย กบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๑๓๗

บรรณานกุ รม ๑๔๑

ภำคผนวก คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย ๑๔๒
- คาสัง่ กระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ งให้ใชห้ ลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ.2560 ๑๔๓
- แบบประเมินคณุ ภาพของแผนการจัดประสบการณ์ ๑๔๕
- แบบฟอร์มการเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ ๑๔๖
- แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการเรียนการสอน (นิเทศภายใน) ๑๔๘
- การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษาก่อนนาไปใช้ ๑๖๘
- การตรวจสอบคุณภาพของหลกั สูตรสถานศกึ ษาหลังการนาไปใช้ ๑๗๑
- ๑๗๕



สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลพืน้ ฐานโรงเรียน

๑. ข้อมลู ท่วั ไป
ชื่อโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ท่ีตั้งเลขที่ 1 / 1 หมู่ 4 ตาบลบึงบอน อาเภอหนองเสือ

จังหวัดปทุมธานี 12170 สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ติดต่อผ่านทางอีเมล์
[email protected] และทางเวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี น http://www.nikornwit.com
- เปดิ สอนระดบั ชัน้ อนุบาล 2 ถึงระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
- พน้ื ทบี่ รกิ าร หมู่ที่ 3 , 4 , 9 ตาบลบึงบอน

2. ประวัตโิ รงเรยี นโดยย่อ
โรงเรียนนกิ รราษฎร์บารงุ วิทย์ จัดตงั้ ขึ้นเมอื่ วันที่ 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2477 โดย นายชม ชาตินนท์

นายอาเภอหนองเสอื เป็นผูร้ เิ ริ่มจดั ตง้ั และมอบใหน้ ายเฉลียว ทยานศลิ ป์ ศึกษาธิการอาเภอ นายสุบรรณ
ปลัดอาเภอ เปน็ ผูท้ าพธิ ีเปิดใช้ชื่อว่า โรงเรียนประชาบาล ตาบลบึงบอน 2 (วัดบึงบอน) สถานที่เรียนใช้
ศาลาการเปรียญของวดั บงึ บอน

พ.ศ. 2485 เดือนมิถุนายน ได้ปลูกสร้างโรงเรียนแบบ ป.1 ก กว้าง 8 เมตร ยาว 24
เมตร ยกพ้ืนสูง 2 เมตร หลังคากระเบื้องปลูกในที่ดินของวัด สิ้นค่าก่อสร้าง 1,800 บาท เป็นเงิน
งบประมาณ 1,000 บาท เงินราษฎรบริจาค 800 บาท โดยนายอาเภอหนองเสือ ขุนนิกร พัว
ไพโรจน์และครใู หญ่ นายเชอ้ื ม่วงเจก๊ ประสานงานขอตงั้ ชื่อโรงเรยี นประชาบาล ตาบล บึงบอน 2 (วัด
บงึ บอน) ให้ชอ่ื ใหมว่ ่า โรงเรียนนิกรราษฎร์บารงุ วิทย์ นายฟู สถานนท์ ศกึ ษาธิการอาเภอหนองเสือผู้มา
ตรวจรับและเปดิ ป้ายช่ือโรงเรียนในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2485

พ.ศ. 2504 อาคารชารุด หักพัง ได้อาศัยศาลาการเปรียญของวัดบึงบอนเป็นที่เรียนและ
ดาเนินการขอบริจาคท่ีดินจากหลวงประสิทธ์ิ กลมัย ได้มอบท่ีดินให้ประมาณ 200 ตารางวา โดยทา
หนังสือมอบกรรมสิทธ์ิไว้ให้โรงเรยี นเป็นหลกั ฐาน แต่ยังไม่แยกโฉนด

พ.ศ. 2505 ไดร้ บั งบประมาณจากทางราชการ 30,000 บาท และเงินราษฎรบริจาคสมทบ
16,000 บาท รวม 46,000 บาท เดือนมีนาคมขอเงินจากราษฎรขุดดินถมท่ีปลูกสร้างอาคารเรียน
รวม 7 วัน เดอื นกรกฎาคมดาเนินการปลกู สรา้ งอาคารเรยี นแบบ ป.1 ขนาด 3 ห้องเรียน 8 × 27
เมตร ยกพื้นสูง 0.90 เมตร หลังคาสังกะสี ไม่มีประตู หน้าต่าง ฝ้าเพดาน และได้ติดต่อขอที่ดิน
เพ่ิมเติมพร้อมกับทาการแบ่งแยกโฉนดให้เป็นของโรงเรียน โฉนดเลขท่ี 5149 เล่มท่ี 56 หน้า 49
และเลขที่ 2394 เล่มท่ี 24 หนา้ 94 รวมเนื้อทท่ี งั้ สองโฉนด 1 ไร่ 82 ตารางวา

พ.ศ. 2523 ไดด้ าเนินการถมทเี่ ตรยี มไว้ปลกู สร้างอาคารเรยี นหลังใหม่ขนาด 35 × 85 เมตร
ในท่ีของวัด พ.ศ. 2535 ได้รับเงินงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.101/26 จานวน 1
หลัง ขนาด 3 หอ้ งเรียน งบประมาณ 910,000 บาท

พ.ศ. 2536 ไดง้ บประมาณสรา้ งอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.202/26 จานวน 1 หลัง
งบประมาณ 289,000 บาท



พ.ศ. 2537 ได้รับมอบสนามเด็กเลน่ จากผปู้ กครอง มลู ค่า 8,000 บาท ได้รับมอบเคร่ืองโรเนียว
ไฟฟ้า จากบุตร-ธดิ า ของนายเยื้อน สายเงิน จานวน 1 เครื่อง 25 ธันวาคม พระครูโสภณกิจจารักษ์
บรจิ าคเครอ่ื งพิมพด์ ดี จานวน 1 เคร่ือง มลู ค่า 9,500 บาท

พ.ศ. 2539 ได้รับเคร่ืองโทรทัศน์สี National ขนาด 20 นิ้ว มูลค่า 9,000 บาท เครื่องเล่น
VDO มูลค่า 8,500 บาท ได้รับหม้อหุงข้าวแก๊ส 1 ใบ พร้อมถัง ราคา 4,500 บาท จากนางทองม้วน
แยม้ ผกา

พ.ศ. 2540 ศิษย์เก่าบริจาคเครอ่ื งถ่ายเอกสาร จานวน 1 เครอื่ ง มูลค่า 26,000 บาท
ผ้ใู หญ่สมศกั ดิ์ หอมเกษร บริจาคโทรทัศน์สี SHARP ขนาด 20 น้ิว จานวน 1 เครื่อง มูลค่า 6,990
บาท นางสมบตั ิ ย้มิ ใหญ่ บรจิ าคเคร่อื งคอมพิวเตอร์ จานวน 1 เคร่ือง มูลค่า 7,500 บาท พร้อมเคร่ือง
สารองไฟฟ้า 3,770 บาท

พ.ศ. 2541 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม แบบ สปช. 601/26 จานวน 1 หลัง 4 ที่ มูลค่า
110,836 บาท

พ.ศ. 2543 ไดร้ บั งบประมาณเปลยี่ นประตเู ล่ือน 20,000 บาท
พ.ศ. 2546 ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน บริจาคตู้เย็นใช้ในกิจการสหกรณ์ จานวน 1 เครื่อง
มลู ค่า 7,200 บาท กรกฎาคม นักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย บริจาคเงิน 13,000 บาทและเงิน
ผ้าป่าการศึกษา14,600 บาท สร้างโรงจอดจักรยานของนักเรียน สิงหาคมได้รับบริจาคเหล็กดัดติดประตู
หนา้ ตา่ ง อาคาร สปช.101/26 มลู คา่ 5,800 บาท
พ.ศ. 2547 ได้รับงบประมาณเปล่ียนหลังคากระเบ้ืองอาคารเรียนแบบ ป 1 ก 56,000 บาท
เงินผ้าป่าอีก 8,000 บาท เดือนตุลาคม ได้รับงบประมาณเปลี่ยนหลังคากระเบื้อง อีก 30,000 บาท
เปลย่ี นสายไฟฟ้า อาคารเรียนแบบ ป 1 ก และสว้ ม สปช.601/26 มลู คา่ 35,900 บาท
18 พฤศจิกายน 2547 ได้รับเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งปริ้นท์ พร้อมโต๊ะ เก้าอ้ี และเครื่องสารองไฟฟ้า 1
ชดุ
พ.ศ. 2548 วันที่ 3 พฤษภาคม ได้รับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องปร้ินท์และเครื่องสารองไฟฟ้า
1 ชุด , มูลค่า รวม 89,800 บาท นอ.สมบูรณ์ นอ.ระเบียบ รวงผ้ึงหลวง มอบพระพุทธรูป มูลค่า
9,000 บาท
พ.ศ. 2549 ได้รับงบประมาณเปลี่ยนตอม่อเสาอาคารเรียน แบบ ป 1 ก จานวน 111,000
บาท พระครูโสภณกิจจารักษ์ เจา้ อาวาสวัดบึงบอน บริจาคอังกะลุง 15,000 บาท อิเล็คโทน 12,000
บาท
พ.ศ. 2551 เดือนสิงหาคม องค์การบริหารส่วนตาบลบึงบอน ได้ก่อสร้างโครงหลังคาสนามเด็ก
เล่น ขนาด 6 X 16 เมตร มูลค่า 25,000 บาท เดือนตุลาคม ได้ต่อเติมช้ันล่าง อาคาร สปช.
101/26 เปน็ ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก (3 ขวบ) ขนาด 6 X 18 เมตร มลู คา่ 602,000 บาท
พ.ศ. 2552 เดือนกรกฎาคม องค์การบริหารส่วนตาบลบึงบอน ได้ต่อเติมหลังคารอบอาคาร สปช.
101/26 มลู คา่ 100,000 บาท
พ.ศ. 2554 นางสุรดา อิ่มพงษ์ ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์
เมอื่ วนั ท่ี 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2554
งานปรับปรุงห้องสมุดบึงบอนสามัคคี งบประมาณจากผู้บริจาครวมจานวน 48,100 บาท ,
พระครูโสภณกิจจารักษ์ เจ้าอาวาสวัดบึงบอน มอบเงินทอดผ้าป่าสามัคคีวันที่ 3 เมษายน 2554
จานวน 48,930 บาท และเงินถวายเทียนวันเข้าพรรษา จาวน 20,200 บาท รวมท้ังส้ิน



117,230 บาท
ได้รบั งบประมาณกอ่ สร้างอาคารเรยี น แบบ สปช. 2/28 ปรบั ปรงุ 3 ช้นั 6 หอ้ งเรยี น

ใตถ้ ุนโลง่ งบประมาณ 5,000,000 บาท
ได้รับงบประมาณซอ่ มแซมถนนหน้าโรงอาหาร เน่ืองจากประสบภัยนา้ ทว่ ม งบประมาณ 50,000

บาท
ในปี พ.ศ. 2559 นายสุทิน ยิ้มถนอม ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์

เม่ือวนั ที่ 22 ธนั วาคม 2559
ในปี พ.ศ. 2561 ได้รบั งบสนบั สนุนจากชุมชนจดั ทาป้ายช่ือโรงเรียนทาด้วยหินอ่อน งบประมาณ

35,000 บาท
ในปี พ.ศ. 2563 ได้รับงบปรบั ปรงุ ซ่อมแซม จานวน 192,000 บาท ปรบั ปรุงทางเชื่อมระหว่าง

โรงอาหารไปอาคารอนบุ าลเพ่อื ป้องกนั แดดและฝน
ในปี พ.ศ. 2564 นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทยดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ เม่ือ
วนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2564
พล.ต.ท.คารณวทิ ย์ ธูปกระจ่าง นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดปทุมธานี ได้สนับสนุนงบประมาณส่วนตัว
กอ่ สร้างหลังคาอาหารโดม “ธปู กระจ่าง”

ปัจจุบันเปิดเรียนต้ังแต่ระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีอาคารเรียน 2 หลัง
อาคารเอนกประสงค์ 1 หลัง ส้วม 1 หลัง การจัดการเรียนการสอน โรงเรียนเปิดทาการสอนตั้งแต่ชั้น
อนุบาลปีท่ี 2 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6





อกั ษรยอ่ ของโรงเรียน น.ว.
สีประจาโรงเรียน ม่วง – เหลือง
คติพจน์ สจั เจอัตเถจ ธมเฺ มจ อหุสนั โต ปติฏฐติ า สัตตบรุ ุษ
(บัณฑติ ) ยอ่ มมน่ั คงอยใู่ นสัจจะ
ปรชั ญาของโรงเรยี น มีความสุขในการเรยี นรู้ มงุ่ สู่การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื
ทีต่ ้งั 1/1 หมทู่ ี่ 4 ตาบลบึงบอน
อาเภอหนองเสอื จังหวัดปทุมธานี 12170
ทต่ี ง้ั ทางภูมิศาสตร์ ละตจิ ดู 14.076191
ลองติจูด 100.777953
วิสัยทศั น์ ผ้เู รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
บนพืน้ ฐานการบริหารแบบมสี ว่ น
อัตลักษณ์ ร่วมของชุมชน เพื่อการพฒั นาคุณภาพอย่างยั่งยนื
เอกลกั ษณ์ ภมู ทิ ศั น์เดน่ เนน้ วิชาการ สานสัมพันธช์ ุมชน
คุณธรรมอัตลักษณ์ ซ่อื สัตย์ สามัคคี มจี ิตอาสา
กลยุทธ์ มวี นิ ัย ซื่อสัตย์ จติ สาธารณะ
๑. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพือ่ ความเป็นเลิศทางวิชาการ
๒. ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ระเบยี บวินัย จติ สานกึ ของ
ผเู้ รยี นและเสรมิ สร้างทกั ษะในการดาเนินชวี ติ ในสังคมอย่างมี
ความสุข

พนั ธกิจ ๕

๓.ส่งเสริมกจิ กรรมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด
วิเคราะห์และทักษะที่จาเป็น เข้าใจหลักศาสนา รักษาสุขภาพ
และสิ่งแวดล้อมเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับภูมิปัญญา และ
ประเพณีวฒั นธรรมในท้องถ่นิ
๔. พฒั นาครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทั้งระบบ ให้เป็นครูมือ
อาชีพมีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษา
๕. บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลประสานความร่วมมือ
กับชุมชน และ อง ค์กร ภายน อ กสนับสนุ น ให้มีการ จัด
สภาพแวดลอ้ มที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ และ
ย่ังยืน
๖. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ครู และบุคลากรในสถานศึกษาสร้างสื่อ
และนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน
อยา่ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๑. พฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๒. พฒั นาการบริหารแบบมสี ว่ นร่วมโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล
๓. พัฒนาครู และบุคลากรในสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานวิชาชีพ
๔. พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ และสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้
อยา่ งเตม็ ศักยภาพ
๕. จัดหา พัฒนา และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ในการจัดการ
เรยี นการสอน
๖. สร้างสอ่ื นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
๗. ส่งเสริมให้ชมุ ชน องคก์ ร มสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา



แผนที่โรงเรียนนกิ รราษฎร์บารงุ วทิ ย์

ห้องนา้ โรงอาหาร ลาน BBL อาคารเรยี น สปช แปลง
2/28 เกษตร

ประตู

สนามเดก็ เลน่

หอ้ งพยาบาล อาคารบึงบอนสามคั คี ลานอเนกประสงค์
ทางเขา้
อาคารเรียน สปช
101/26



3. ข้อมูลผบู้ ริหาร
ผู้อานวยการโรงเรียน ช่ือ-สกุล นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทย วุฒิการศึกษาสูงสุดปริญญาโท

ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) โทรศัพท์ 063 246 1059 ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ 1
กมุ ภาพนั ธ์ 2564 จนถงึ ปัจจบุ ัน

4. ขอ้ มลู ครู และบุคลากร

ท่ี ช่ือ – สกลุ ตาแห วิชาเอก สอนวชิ า สอน
นง่ วุ หลัก ประจาชน้ั

/ ฒิ (ระบุ 1 อนบุ าล 3
อันดั วิชา)
บ ป.1-ป.3
ป.1-ป.6
ครู บธ ระบบ วิทยาศาส ป.1-ป.3
ป.3-ป.6
1. น า ง ส า ว นั น ท วั น คศ.๒ .บ. สารสนเทศ ตรแ์ ละ ป.4-ป.6
สรอ้ ยปทมุ เทคโนโล อนบุ าล ๓
ป.4-ป.6
ยี

2. นางสาวก่ิงรัก เยาว ครู ค. วจิ ัยและ
ภักดิ์ คศ.2 ม. ประเมนิ ผล
การศึกษา ภาษาไทย

3. นางสาวกานดา บัว ครู ค. สงั คมศึกษา สงั คม

ประดิษฐ์ คศ.๒ บ. ศึกษา

4. นางสาวกันต์กม ล ครู ค. การศึกษา ปฐมวัย
สวุ ภาพภัทรพร คศ.๑ บ. ปฐมวยั

5. นางสาวรัชนีกร จาริ ครู ค. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั
ยะมา คศ.1 บ. กฤษ

นางสาวนิตยา กาฬ ครู ศ ภาษาไทย
สวุ รรณ คศ.1 ศ.
6. บ. ภาษาไทย

7. นางสาวกมลวรรณ ครู ค. การศึกษา ปฐมวยั
ปลอดโปร่ง ผู้ช่วย บ. ปฐมวัย

8. นางสาวอาไพพร ครู วท วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาส
จริตรมั ย์
ผ้ชู ่วย .บ ฟสิ ิกส์ ตร์



9. นายธนพล จันทร์ ครู ศ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาส ป.4-ป.6
ศรี ผูช้ ว่ ย ษ. ทวั่ ไป ตร์ ป.4-ป.6
บ ป.1-ป.3
ป.1-ป.3
ครู ค คอมพิวเตอร์ วทิ ยาศาส ป.1-ป.6

10 นายพิสิษฐ์ หมายชัย ผ้ชู ่วย บ. ศึกษา ตร์และ -
เทคโนโล

ยี

นางสาวโกศล อยู่ ครู ค. สังคมศกึ ษา สังคม
ภักดี อตั รา บ. ศึกษา
11 จ้าง

นางสาวพิชชานันท์ ครู ค. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั
คาภีระ อตั รา บ. กฤษ
12 จ้าง

ครู ศ พลศึกษา พละ
อัตรา ษ. ศกึ ษา
๑๔ นายทัศนัย นอ้ ยภา จ้าง บ

๑๕ นางสาวแสงเดอื น ธรุ การ ม. - -
6

5. ขอ้ มูลนกั เรียน (ปกี ารศกึ ษา 256๕ )

จานวนนกั เรียนในโรงเรยี นทงั้ สนิ้ 1๕๑ คน จาแนกตามระดับชนั้ ท่เี ปดิ สอน

ระดับช้ันเรยี น จานวนหอ้ ง เพศ รวม
ชาย หญงิ
๒๔
อ.2 1 ๑๑ ๑๓ ๑๘
๑๙
อ.3 1 ๑๑ ๗ ๒๓
๒๓
ป.1 1 ๑๔ ๕ ๑๐

ป.2 1 ๑๖ ๗

ป.3 1 ๑๑ ๑๒

ป.4 1 ๕ ๕



ป.5 1 ๖๙ ๑๕

ป.6 1 ๘ ๑๑ ๑๙

รวม 8 ๘๒ ๖๙ ๑๕๑

6. ข้อมูลอาคารสถานท่ี

อาคารเรียนจานวน 2 หลัง อาคารอเนกประสงค์/โรงอาหาร จานวน 1 หลัง ส้วม 1 หลัง
สนามเด็กเล่น 1 สนาม ศาลาพกั ผอ่ น 1 หลงั

7. ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม

1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ชุมชนเกษตรกรรม ได้แก่ หมู่บ้าน หมู่ 3 หมู่ 4
หมู่ 9 มีประชากรประมาณ 2,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ วัดบึงบอน อาชีพหลัก
ของชุมชน คือ ทานา รับจ้าง เนื่องจาก มีที่นาทากันเอง และเช่าที่นา รับจ้างโรงงานท่ีมาก่อต้ังในเขต
ประมาณ 13 โรงงาน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่รู้จักโดยทั่วไปคือ
ตรษุ ไทย สาร์ทไทย สงกรานต์ แห่เทยี นพรรษา ตกั บาตรเทโว กฐนิ ผา้ ป่า การบวชนาค การเผาศพ

2) ผูป้ กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบอาชีพทานา ร้อยละ 20
รบั จา้ งรอ้ ยละ 80 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98.15 อิสลามร้อยละ 1.85 ฐานะทางเศรษฐกิจ
รายไดโ้ ดยเฉล่ียตอ่ ปีประมาณ 40,000 บาท

3) โอกาสและขอ้ จากดั ของโรงเรียน

3.1 โอกาส

1. โรงเรยี นต้ังอยใู่ นบริเวณวัดบึงบอน จึงใช้พ้ืนท่ีธรณีสงฆ์ปลูกสร้างอาคารเรียน จานวน
1 หลงั ประมาณ 200 ตารางวา และใชพ้ ื้นทีเ่ พอ่ื เปน็ ประโยชนใ์ นการใช้สอยของโรงเรียนอีกประมาณ
200 ตารางวา การเดินทางสัญจร ไฟฟ้า ประปาสะดวก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์การบริหาร
ส่วนตาบลบึงบอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และผู้มีอุปการะให้การช่วยเหลือ
ทุนการศึกษา อาหารกลางวัน ส่ือการเรียนการสอน ส่ือเทคโนโลยีค่อนข้างทันสมัย มีแหล่งเรียนรู้ด้าน
การเกษตร การขายพนั ธ์ุไม้

2. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีหลากหลาย เช่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ขยายพนั ธไ์ุ มใ้ หญ่ ศลิ ปะงานปัน้ งานวาด อาหารไทย ขนมไทย สานปลาตะเพยี น ผลติ ภณั ฑจ์ ากกล้วย

3. ชมุ ชนสว่ นใหญเ่ หน็ ความสาคญั ของการจัดการศึกษา โรงเรียนได้รับความร่วมมือจาก
ชุมชนและผู้ปกครองนกั เรยี นในการพฒั นาการศึกษา

๑๐

4. บุคลากรมีวิสัยทัศน์ มีคุณวุฒิ มีทักษะความสามารถในการปฏิบัติงานตรงกับ ความ
รับผดิ ชอบตลอดจนมคี วามทุม่ เทให้กบั การปฏิบตั ิงานอย่างเตม็ ความสามารถ มีความสามารถ ในการพัฒนา
นกั เรยี นเตม็ ศักยภาพ

3.2 ข้อจากัด

1. นกั เรยี นร้อยละ 70 มาจากต่างจังหวัดเนื่องจากติดตามผู้ปกครองมารบั จา้ งทางาน
โรงงาน ซง่ึ มรี ายได้นอ้ ย ฐานะยากจน จงึ มกี ารยา้ ยสถานท่เี รยี นบอ่ ย สง่ ผลต่อการเรียนของนกั เรียน

2. โรงเรียนมีพืน้ ทีเ่ พียง 1 ไร่ 82 ตารางวา เป็นทร่ี าชพัสดุ บรเิ วณโรงเรียนจึงคับแคบ
ไม่สะดวกในการจดั กจิ กรรม

3. ขาดการสนับสนุนด้านทรัพยากรจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โรงเรียนต้องขอ ความ
ชว่ ยเหลอื จากชุมชนเพ่อื พฒั นาโรงเรยี น

4. ไมม่ ีรถประจาทางตอ้ งใชพ้ าหนะสว่ นตัว รถจักรยานยนต์หรอื จักรยาน

๑๑

สว่ นที่ ๒ ความนาเก่ยี วกับหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๑. ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั
การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี บริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม

บนพนื้ ฐานการอบรมเลย้ี งดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรูท้ สี่ นองตอ่ ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของ
เดก็ แตล่ ะคนให้เต็มตามศักยภาพภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอ้ือ
อาทร และความเขา้ ใจของทกุ คน เพือ่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ิตใหเ้ ด็กพัฒนาไปส่คู วามเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์
เกดิ คุณคา่ ตอ่ ตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ

๒. วสิ ัยทัศนข์ องหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยมุง่ พฒั นาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ

สงั คม และสตปิ ญั ญาอย่างมีคุณภาพและตอ่ เน่อื ง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขและ
เหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และ
สานึกความเปน็ ไทย โดยความร่วมมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง
กับการพัฒนาเดก็

๓. หลกั การของการศึกษาปฐมวัย
เดก็ ปฐมวัยทกุ คนมีสิทธิทจ่ี ะไดร้ บั การอบรมเลย้ี งดูและสง่ เสรมิ พฒั นาการตามอนสุ ญั ญาวา่ ด้วยสิทธิ

เดก็ ตลอดจนไดร้ ับการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้อู ยา่ งเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่
เด็กกับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู และผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการอบรมเล้ียงดู การพัฒนา และให้การ ศึกษาแก่เด็ก
ปฐมวัย เพ่ือให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับขั้นของการพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็นองค์รวม มี
คุณภาพ และเตม็ ตามศักยภาพ โดยกาหนดหลักการ ดงั น้ี

๑. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรูแ้ ละพัฒนาการทคี่ รอบคลุมเด็กปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการเล้ียงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคล และวถิ ชี วี ิตของเดก็ ตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรมที่
หลากหลาย ได้ลงมือกระทาในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้เหมาะสมกับวัย และมีการพักผ่อนท่ี
เพียงพอ
๔. จัดประสบการณก์ ารเรียนรใู้ หเ้ ด็กมที กั ษะชวี ติ และสามารถปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เป็นคนดี มวี นิ ยั และมคี วามสขุ
๕. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อ
แม่ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝ่ายท่เี กยี่ วขอ้ งกับการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

๑๒

๔. จุดหมาย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเพื่อให้มีความ

พร้อมในการเรียนร้ตู ่อไป จงึ กาหนดจุดหมายเพอ่ื ให้เกิดกับเดก็ เมือ่ เด็กจบการศกึ ษาระดับปฐมวัย ดงั น้ี

1. มรี ่างกายเจรญิ เติบโตตามวัย แขง็ แรง และมสี ขุ นสิ ยั ที่ดี
2. มีสขุ ภาพจิตดี มสี ุนทรียภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจิตใจทดี่ งี าม
3. มีทกั ษะชวี ิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน

ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
4. มที กั ษะการคิด การใช้ภาษาสือ่ สาร และการแสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกับวัย

๕. พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการ

เปลี่ยนแปลง ทเี่ กดิ ข้นึ ตามวุฒิภาวะและสภาพแวดล้อมที่เด็กได้รับ พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัยอาจเร็ว
หรอื ชา้ แตกตา่ งกนั ไปในเด็ก แต่ละคน มีรายละเอียด ดงั นี้

๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เป็นพัฒนาการที่เป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีขึ้นของ
ร่างกายในด้านโครงสร้างของร่างกาย ดา้ นความสามารถในการเคลอ่ื นไหว และดา้ นการมสี ุขภาพอนามัยที่ดี
รวมถึงการใช้สัมผัสรับรู้ การใช้ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรมต่างๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปี มีการ
เจริญเติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะในเร่ืองน้าหนักและส่วนสูง กล้ามเน้ือใหญ่จะมีความก้าวหน้ามากกว่า
กลา้ มเน้ือเลก็ สามารถบังคบั การเคลอื่ นไหวของรา่ งกายไดด้ ี มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเดิน สามารถ
วิ่ง กระโดด ควบคุมและบังคับการทรงตัวได้ดี จึงชอบเคล่ือนไหว ไม่หยุดน่ิง พร้อมท่ีจะออกกาลังและ
เคลื่อนไหวในลักษณะตา่ งๆส่วนกล้ามเน้อื เล็กและความสัมพันธ์ระหว่างตาและมือยังไม่สมบูรณ์ การสัมผัส
หรอื การใช้มอื มีความละเอยี ดขนึ้ ใช้มือหยบิ จบั สงิ่ ของตา่ งๆไดม้ ากขึ้น ถ้าเด็กไม่เครียดหรือกังวลจะสามารถ
ทากจิ กรรมทพ่ี ัฒนากล้ามเนื้อเลก็ ได้ดีและนานข้ึน

๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรู้สึกของเด็ก เช่น
พอใจ ไมพ่ อใจ รกั ชอบ สนใจ เกลียด ฯลฯ โดยท่ีเด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและ
สถานการณ์ เผชญิ กับเหตกุ ารณ์ตา่ งๆตลอดจนการสร้างความรู้สึกท่ีดีและการนับถือตนเองเด็กอายุ ๓-๕ ปี
จะแสดงความรู้สกึ อยา่ งเต็มท่ี ไม่ปดิ บงั ช่อนเร้น เชน่ ดีใจ เสยี ใจ โกรธแต่จะเกิดเพยี งชั่วครู่แล้วหายไป การ
ทเี่ ด็กเปล่ยี นแปลงอารมณง์ า่ ยเพราะมชี ว่ งความสนใจระยะส้ัน เมือ่ มสี งิ่ ใดน่าสนใจก็จะเปล่ียนความสนใจไป
ตามสิ่งน้ัน เด็กวันนี้มักหวาดกลัวส่ิงต่างๆ เช่น ความมืด หรือสัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจาก
จินตนาการ ซ่ึงเด็กว่าเป็นเร่ืองจริงสาหรับตน เพราะยังสับสนระหว่างเรื่องปรุงแต่งและเรื่องจริง
ความสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมกับวัย รวมถึงชื่นชมความสามารถ
และผลงานของตนเองและผอู้ ่ืน เพราะยดึ ตวั เองเปน็ ศูนย์กลางน้อยลงและตอ้ งการความสนใจจากผู้อ่ืน มาก
ข้นึ

๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมคร้ังแรก
ในครอบครัว โดยมีปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่และพี่น้อง เม่ือโตข้ึนต้องไปสถานศึกษา เด็กเร่ิมเรียนรู้การติดต่อ
และการมสี ัมพนั ธก์ บั บคุ คลนอกครอบครวั โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็กในวัยเดยี วกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้

๑๓

เข้าสงั คมกับเดก็ อื่น พรอ้ มๆกับรู้จกั ร่วมมอื ในการเลน่ กับกลุ่มเพอื่ น เจตคตแิ ละพฤติกรรมทางสังคมของเด็ก
จะก่อขึ้นในวัยน้ีและจะฝังแน่นยากท่ีจะเปลี่ยนแปลงในวัยต่อมา ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทาง
สังคมของเด็กวัยน้ี มี ๒ ลักษณะ คือลักษณะแรกน้ัน เป็นความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่และลักษณะที่สองเป็น
ความสมั พันธ์กับเดก็ ในวยั ใกลเ้ คยี งกัน

๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยน้ีมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจ
ความรสู้ กึ ของคนอน่ื เดก็ มีความคดิ เพยี งแต่วา่ ทุกคนมองส่ิงต่างๆรอบตัว และรสู้ กึ ต่อส่งิ ต่างๆ เหมือนตนเอง
ความคิดของตนเองเป็นใหญ่ทส่ี ดุ เมอื่ อายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของท่ีอยู่
รอบตวั ได้ สามารถจาสงิ่ ต่างๆ ท่ไี ด้กระทาซา้ กนั บ่อยๆ ได้ดี เรยี นรูส้ ิง่ ตา่ งๆ ไดด้ ีข้นึ แต่ยังอาศัยการรับรู้เป็น
สว่ นใหญ่ แก้ปัญหาการลองผิดลองถูกจากการรบั รมู้ ากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
ท่อี ยรู่ อบตัวพฒั นาอย่างรวดเร็วตามอายทุ ี่เพิม่ ขน้ึ ในสว่ นของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยน้ีเป็นระยะเวลา
ของการพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมีการฝึกฝนการใช้ภาษาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการ
พูดคยุ การตอบคาถาม การเล่าเรอื่ ง การเล่านทิ านและการทากจิ กรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาใน
สถานศึกษา เดก็ ปฐมวัยสามารถ ใชภ้ าษาแทนความคิดของตนและใช้ภาษาในการตดิ ต่อสมั พันธ์กับคนอ่ืนได้
คาพูดของเดก็ วัยนี้ อาจจะทาใหผ้ ใู้ หญ่บางคนเข้าใจว่าเด็กรูม้ ากแลว้ แต่ที่จริงเด็กยังไม่เข้าใจความหมายของ
คาและเรื่องราวลกึ ซึง้ นกั

๖. แนวคดิ การจัดการศกึ ษาปฐมวัย
แนวคิดหลักสาคัญเก่ียวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยถือว่าการเล่นของเด็กเป็นหัวใจสาคัญของ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการทางานของสมอง ผ่านสื่อที่ต้อง
เอื้อให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยครูจาเป็นต้องเข้าใจและยอมรับว่าสังคมและ
วัฒนธรรมท่แี วดลอ้ มตัวเด็กมอี ทิ ธิพลตอ่ การเรยี นรูแ้ ละการพฒั นาศกั ยภาพและพฒั นาการของเด็กแต่ละคน
ทง้ั น้ี หลักสูตรฉบบั นี้มีแนวคิดในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ดังน้ี

๑. แนวคดิ เกี่ยวกบั พฒั นาการเด็ก พัฒนาการของมนุษย์เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน
ต่อเน่ืองในตัวมนุษย์เร่ิมตั้งแต่ปฏิสนธิไปจนตลอดชีวิต พัฒนาการของเด็กแต่ละคนจะมีลาดับขั้นตอน
ลักษณะเดียวกัน แต่อัตราและระยะเวลาในการผ่านขั้นตอนต่างๆอาจแตกต่างกันได้ขั้นตอนแรกๆจะเป็น
พน้ื ฐานสาหรับพัฒนาการขน้ั ตอ่ ไป พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา แต่ละส่วน
ส่งผลกระทบซึ่งกันและกนั เมอ่ื ดา้ นหนงึ่ กา้ วหน้าอีกด้านหนึ่งจะก้าวหน้าตามด้วยในทานองเดียวกันถ้าด้าน
หนึง่ ดา้ นใดผิดปกติจะทาใหด้ ้านอ่นื ๆผดิ ปกติตามด้วย แนวคดิ เกยี่ วกับทฤษฎีพัฒนาการด้านร่างกายอธิบาย
วา่ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กมลี กั ษณะต่อเนือ่ งเป็นลาดับช้ัน เด็กจะพัฒนาถึงข้ันใดจะต้องเกิด
วุฒิภาวะของความสามารถด้านนั้นก่อน สาหรับทฤษฎีด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมอธิบายว่า การอบรม
เลีย้ งดใู นวัยเด็กสง่ ผลต่อบคุ ลิกภาพของเดก็ เม่อื เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ความรักและความอบอุ่นเป็นพ้ืนฐานของ
ความเชอื่ ม่นั ในตนเอง เด็กทีไ่ ดร้ บั ความรักและความอบอุ่นจะมีความไว้วางใจในผู้อ่ืน เห็นคุณค่าของตนเอง
จะมีความเช่ือมั่นในความสามารถของตน ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ซ่ึงเป็นพื้นฐานสาคัญของความเป็น
ประชาธปิ ไตยและความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์และทฤษฎพี ัฒนาการด้านสติปัญญาอธิบายว่า เด็กเกิดมาพร้อม
วุฒิภาวะ ซง่ึ จะพัฒนาข้นึ ตามอายุ ประสบการณ์ รวมท้ังค่านิยมทางสงั คมและส่งิ แวดล้อมท่เี ด็กไดร้ บั

๑๔

2. แนวคดิ เกี่ยวกับการพัฒนาเดก็ อยา่ งเป็นองค์รวมและการปฏิบัติทเ่ี หมาะสมกบั พฒั นาการ การพัฒนา

เดก็ อย่างเป็นองครวม เปน็ การคานึงถงึ ความสมดลุ และครอบคลุมพฒั นาการของเด็กใหครบทุกด้าน ในการ

ดูแลพัฒนาและจัดประสบการณการเรยี นรูใหแกเดก็ ตองไม่เน้นทดี่ า้ นใดดา้ นหน่ึง จนละเลยด้านอื่น ๆ ซึ่งใน

แต่ละด้านของพัฒนาการท้งั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีองคประกอบต่าง ๆ ที่ตอง

การการสงเสริม ใหเดก็ เจรญิ เติบโต และมพี ัฒนาการสมวยั อย่างเปน็ ลาดับขัน้ ตอน ซงึ่ การปฏิบัติที่เหมาะสม

กับพัฒนาการ เปน็ แนวทางทส่ี าคญั ในการตดั สินใจท่ีจะปฏบิ ัตติ อเดก็ ด้วยความรูความเขาใจ ที่ประกอบด้วย

ความเหมาะสม กับวยั หรืออายุของเดก็ วาพฒั นาการในชวงวยั นั้น ๆ ของเด็กเป็นอย่างไร ตองการการสงเส

ริมอย่างไร การมีความรู ทางพัฒนาการตามชวงวัย จะทาใหสามารถทานายพัฒนาการในลาดับตอไปได้

และสามารถวางแผนการจัดประสบการณ เพื่อสงเสริมพัฒนาการและช่วยเหลือเด็กได้อย่างเหมาะสม

สาหรับความเหมาะสมกับเด็กแต่ละคนเป็นการคานึงถึงเด็กเป็นรายบุคคลที่มีความชอบ ความสนใจ

ความสามารถ และความถนดั ที่แตกตา่ งกนั โดยใหความสาคัญกบั ความแตกตางระหว่างบุคคลของเด็ก เพ่ือ

การปฏิบัติตอเด็กที่คานึงถึงเด็กเป็นสาคัญ และความเหมาะสมกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่เด็ก

อาศัยอยู่เป็นการคานึงถึงบริบทท่ีแวดลอมเด็ก เพ่ือให้การเรียนรูของเด็กเกิดข้ึนอย่างมีความหมายและมี

ความเกีย่ วของกับตวั เดก็ ครอบครวั และชมุ ชนทเ่ี ดก็ อาศัยอยู่ ซึ่งความรูความเข้าใจดังกล่าว สามารถใชใน

การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณการเรียนรู้ท่ีมีความหมาย การสรางกลุมการเรียนรู

ร่วมกัน การประเมินพัฒนาการและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั กบั ผู้ปกครองและชุมชน โดยยึดหลกั การตดั สินใจในการปฏบิ ัติบนฐานความรู จากแนวคิดทฤษฎีและ

องคความรูที่ไดจ้ ากการวจิ ยั

๓. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับการทางานของสมอง สมองของเด็กเป็น

สมองทีส่ ร้างสรรคและมกี ารเรียนรูทีเ่ กดิ ขึน้ สมั พนั ธ์กบั อารมณ สมองเปน็ อวยั วะที่สาคญั มากท่ีสุด และมีการ

พัฒนาต้ังแต่อย่ใู นครรภมารดา โดยในชวงน้เี ซลลส์ มองจะมีการพัฒนาเชื่อมต่อและทาหนาท่ีในการควบคุม

การทางาน พืน้ ฐานของรา่ งกาย สาหรับในชวงแรกเกิดถึงอายุ ๓ ป จะเป็นชวงท่เี ซลล์สมองเจริญเติบโตและ

ขยายเครอื ขา่ ยใยสมองอยางรวดเรว็ โดยปัจจยั ในการพฒั นาของสมอง ประกอบด้วยพันธุกรรม โภชนาการ

และส่ิงแวดลอม สมองจะมีพัฒนาการที่สาคัญในการควบคุมและมีผลตอการเรียนรู ความคิด จินตนาการ

ความฉลาด และพัฒนาการ ทกุ ด้าน การพฒั นาของสมองทาใหเด็กปฐมวยั สามารถเรียนรูสิ่งต่าง ๆ ได้อย่าง

รวดเร็วกว่าวัยใด สาหรับแนวคิด การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับการทางานของสมอง (Brain - based

Learning) เปน็ การจดั กระบวนการเรียนรู ท่ีสัมพันธ์และสอดคลองกับพัฒนาการทางสมอง โครงสร้างและ

การทางานของสมองทม่ี ีการพัฒนาอยา่ งเปน็ ลาดับขัน้ ตาม ชวงวัย และมีความยืดหยุนทาให

การพัฒนาสมองเกิดขึ้นได้ตลอดชีวิต การเชื่อมโยงต่อกันของเซลล์สมอง ท่ีเป็นเครือข่ายซับซ้อนและ

หนาแน่นจะเกิดขึ้นก่อนอายุ ๕ ป ซึ่งเมื่อเซลล์สมองและจุดเช่ือมต อเหล่านี้ได้รับ การกระ

ตุนมากขน้ึ เทา่ ใด ยงิ่ ทาใหสมองมีความสามารถในการเรยี นร้อู ย่างรวดเร็วและจดจาได้มากข้ึน แต่หากไม่ได้

รับการกระตุนจากประสบการณท่ีเด็กได้รับอย่างหลากหลายจะไม่เกิดการเช่ือมตอ โดยการกระตุนจุด

เช่ือมตอ เหลาน้ันเกิดจากการท่ีเด็กได้รับประสบการณตรงจากการลงมือทาปฏิบัติด้วยตนเองผนการใช

ประสาทสัมผัสท้ังหา เก่ียว ของสัมพันธ์กับชีวิตประจาวัน การเรียนรู ท่ีสัมพันธ์กับ

พัฒนาการทางสมอง เป็นการเรียนรูจากของจริง ไปหาสัญลักษณ์ จากง่ายไปหายาก จากรูปธรรมไปสู่

นามธรรม โดยคานึงถงึ ความสามารถตามวัยและพัฒนาการ อย่างไรก็ตาม เม่ือสมองเจริญเติบโตในชวงวัย

ต่าง ๆ และเร่ิมมีความสามารถในการทาหนาที่ในชวงเวลาท่ีต่างกัน จะเห็น วาการเรียนรูและทักษะ

บางอย่างจะเกิดขึ้นได้ดีท่ีสุดในชวงเวลาหน่ึงท่ีเรียกวา “หน้าต่างโอกาสของ การเรียนรู” ซ่ึงเม่ือผ่านชวง

๑๕

เวลาน้นั ในแตล่ ะชวงวัย ถาสมองไม่ได้รับการกระตุนหรือได้รับประสบการณที่เหมาะสม โอกาสที่จะฝกอา

จยากหรือทาไมได้เลย ผูสอนหรือผเู ก่ียวของจึงเป็นคนสาคัญท่ีจะตองคอยสังเกต และใชโอกาสน้ีช่วยเด็ก

เพื่อกา้ วไปสู่ความสามารถเฉพาะดา้ นในแตล่ ะชวงวัย

สาหรับชวงปฐมวัยเป็นชวงโอกาสที่สาคัญในการพัฒนาทักษะสมองหรือ EF (Executive

Function) ซ่ึงเป็นกระบวนการทางความคิดของสมองสวนหนา ทาหนาที่เกี่ยวของกับการคิด ความรูสึก

และการกระทา โดยสมองสวนนีก้ าลังพฒั นามากท่ีสุด เป็นชวงของการพัฒนาความสามารถในการคิด การ

จดั ระเบียบ ตนเอง ซึ่ง สงผลตอการยับย้ังช่ังใจ การคิดไตรตรอง การควบคุมอารมณ การ

ยืดหยุนทางความคิด การใสใจจดจอ การวางแผน การต้ังเป้าหมาย ความมุ่งม่ัน การจดจา การเรียกใช้

ข้อมลู อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การจดั ลาดับ ความสาคญั ของเร่อื งต่าง ๆ และการลงมือทาอย่างเป็นขั้นตอนจน

สาเรจ็ ทกั ษะสมอง (EF) จงึ เป็นทักษะทตี่ องได้รบั การฝกฝนในชีวติ ประจาวันของเด็กผ่านประสบการณต่าง

ๆหลากหลายทีเ่ ปิดโอกาสใหเด็กไดค้ ิด ลงมือทา เพ่ือใหเกิดความพรอม และมที กั ษะทส่ี าคัญต่อชวี ิตอนาคต

นอกจากน้ี สมองยงั เป็นอวัยวะสาคัญสาหรับการเรียนรูภาษาและการส่ือสาร การเรียนรูภาษาแม่

ของเด็กจะเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ จากการปฏิสัมพันธ์กับพ อ แม่และผสู อนหรือผ ูเก่ียวข องใน

ชวี ติ ประจาวัน และสถานการณรอบตัว สมองมีตาแหนงรับรูต่าง ๆ กัน ได้แก สวนรับภาพ สวนรับเสียง ส

วนรับสัมผสั และรบั รู การเคลื่อนไหวสวนต่าง ๆ ของร่างกาย สมองสวนต่าง ๆ เหลาน้ีพัฒนาขึ้นมาได้ช้า

หรือเร็วขึ้นอยู่กับการกระตุนของ สงิ่ แวดลอมภายนอกโดยสมองเดก็ มีความจาผา่ นการฟง ตองการรับรูขอมู

ลเสียงพรอมเห็นภาพ เร่ิมรูจักเสียง ท่ีเหมือนและแตกต่าง และสามารถเรียนรูจังหวะของคาได้จากการฟ

งซ้า ๆ สมองของเดก็ ทีเ่ ขาใจเก่ยี วกบั ภาพ เสยี ง และสมั ผัสแบบต่าง ๆ มีความสาคัญมาก เพราะขอมูลจาก

ภาพ เสียง และสัมผัสเหลานี้จะกอรูปขึ้นเป็นเรื่องราวที่จะรับรูและเขาใจซับซ้อนข้ึนเรื่อย ๆ ได้ในท่ีสุด

สมองสวนหนาน้ันมีหนาท่ีคิด ตัดสินใจ เชื่อมโยง การรับรูไปสู่การกระทาที่เป็นลาดับข้ันตอน สมองเด็กที่

สามารถเรยี นรูภาษาได้ดตี องอยู่ในส่งิ แวดลอมของภาษา ทเี่ รียนรอู้ ย่างเหมาะสมจึงจะเรียนร้ไู ด้ดี

๔. แนวคิดเกีย่ วกับการเลน่ ของเดก็ การเล่นเปน็ หวั ใจสาคญั ของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

การเล่นอยา่ งมีจดุ มุ่งหมายเป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญในกระบวนการ

เรียนรู้ของเด็ก ขณะท่ีเด็กเล่นจะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกันด้วย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคลื่อนไหว

ส่วนตา่ งๆของรา่ งกาย ไดใ้ ชป้ ระสาทสมั ผัสและการรับรู้ผอ่ นคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรียนรู้

ความรสู้ ึกของผู้อืน่ เด็กจะรู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต มีโอกาสทาการทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิด

แก้ปัญหาและคน้ พบด้วยตนเอง การเลน่ ช่วยใหเ้ ด็กเรียนรู้สิ่งแวดล้อม และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้าน

รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา ดังน้ันเด็กควรมีโอกาสเล่น ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ส่ิงแวดล้อม

รอบตัว และเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง

๕. แนวคดิ เก่ยี วกับการคานงึ ถึงสทิ ธิเด็ก การสร้างคุณคา และสุขภาวะใหแกเด็กปฐมวัยทุกคน

เดก็ ปฐมวยั ควรได้รับการดูแลและพัฒนาอย่างท่ัวถึงและเทาเทียมกันทุกคน โดยมีสิทธิในการอยูรอด สิทธิ

ได้รับ การคุมครอง สิทธิในด้านพัฒนาการ และสิทธิการมีสวนร่วมตามที่กฎหมายระบุไว เด็กแต่ละคนมี

คุณคาในตนเอง และควรสร้างคุณค่าและคุณภาพชีวิตให เกิดกับเด็กจากการอบรมเล้ียงดู และการให

การศึกษาท่ีมีคุณภาพ พรอมกับการสงเสริมดานสุขภาวะท้ังด้านร่างกาย อารมณ จิตใจ สังคม และ

สติปัญญา จากการได้รับโภชนาการท่ีดี การดูแลสุขภาพอนามัย การมีโอกาสพักผ่อน เล่น การปกป อง

ค้มุ ครองจากการเจบ็ ปว่ ย และบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ตลอดจนการอยูในสภาพแวดลอมท่ีสะอาด ปลอดภัย

และถูกสุขอนามัย อน่ึง สาหรับเด็กปฐมวัยที่เป็นกลุ่มเด็กที่มีความตองการพิเศษหรือกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

ควรได้รบั การดูแล ช่วยเหลือ และพฒั นาอย่างเหมาะสมเช่นกัน

๑๖

๖. แนวคิดเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูควบคูการใหการศึกษา การจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนา
เดก็ บนพ้นื ฐานของการอบรมเลี้ยงดูควบคูกบั การใหการศึกษา หรือการสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองต
อ ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนอย่างเป็นองครวม การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยหมาย
รวมถึง การดูแลเอาใจใสเด็กด้วยความรัก ความอบอุน ความเอื้ออาทร การดูแลสุขภาพ โภชนาการและ
ความปลอดภัย และการอบรมกลอมเกลาใหเด็กมีจิตใจดี มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้อ่ืน มีการดาเนินชีวิตที่
เหมาะสม และมที ักษะชวี ติ การมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีตอเด็ก การเป็นอย่างที่ดีใหแกเด็ก และการปฏิบัติตนของ
ผู้ใหญ่ท่ีดูแลเด็ก ท่ีมุ่งตอบสนอง ความตองการทั้งด้านร่างกายและจิตใจของเด็ก โดยมุงใหเด็กมีร่างกาย
แขง็ แรง มีสุขภาพดี อารมณแจมใส มีความประพฤตดิ ี มวี นิ ยั รูจกั ควบคมุ ตนเอง มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้อื่น
การอบรมเลยี้ งดูทีม่ ีผลดตี อ่ พัฒนาการ ของเดก็ คอื การทผ่ี ใู้ หญท่ ่ีแวดลอมเด็กใหความรัก ความอบอุ่น การ
ยอมรับความคิดเหน็ ของเดก็ การใชเหตผุ ล ในการอบรมเล้ียงดู ผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็กจะตองเป็นท่ีมีความม่ันคง
ทางอารมณและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแกเด็ก ใชการสร้างวินัยเชิงบวกในการอบรมบ่มนิสัย ซ่ึงจะ
ชว่ ยหเด็กเติบโตข้ึนเปน็ ผู้ทีม่ คี วามภาคภูมิใจในตนเอง มีเป้าหมายชีวิต มีวินัยในตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดีต
อผอู้ น่ื สามารถจดั การกบั ความเครียดและปญหาตา่ ง ๆ ได้การอบรมเลยี้ งดจู ึงเป็นแนวคิดสาคัญท่ีครอบครัว
และสถานศกึ ษาหรือสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยตองปฏิบัติ อยา่ งสอดคลองต่อเนื่องกัน

๗. แนวคิดเกีย่ วกบั การบูรณาการ เดก็ ปฐมวัยเป็นชวงวยั ทเี่ รียนรูผ่านการเล่นและการทากิจกรรม
ท่ีเหมาะสมตามวัย เป็นหนาท่ีของผูสอนตองวางแผนโดยบูรณาการทั้งวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ศิลปะ
ภาษา ดนตรี และการเคลื่อนไหว คุณธรรม จริยธรรม สุขภาพอนามัย และศาสตร์อ่ืน ๆ โดยไม่แบ่งเป็น
รายวชิ า แต่จะมกี ารผสมผสานความรู ทกั ษะกระบวนการ และเจตคติของแต่ละศาสตร์ในการจัดประสบกา
รณ ซ่ึงแตกตางจากการเรียนรูในระดับชั้นอ่ืน ๆ เป็นการจัดประสบการณการเรียนรูอย่างเป็นธรรมชาติ
เหมาะสมตามวัยของเด็ก เพ่ือพัฒนาเด็กท้ังด้านร่างกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยการจัด
ประสบการณ การเรียนรูบูรณาการผ่านสาระการเรียนรูท่ีประกอบด้วย ประสบการณ์ สาคัญด้านร่างกาย
อารมณ จิตใจ สังคม และสติปัญญา และสาระท่ีควรเรียนรู ได้แก่ ตัวเด็ก บุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก
ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก โดยออกแบบการจัดประสบการณ และกิจกรรมท่ีทาใหเกิด
ความหลากหลาย ภายใต สาระการเรียนรูท้งั ประสบการณสาคัญและสาระท่ีควรเรียนรูท่ีมีการเช่ือมโยงกับ
การพัฒนามาตรฐานคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงคของเด็ก และความสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัย
ของหลักสูตร โดยมีรูปแบบ การจัดประสบการณ ตามความเหมาะสมของแต่ละสถานศึกษาหรือสถาน
พฒั นาการเด็กปฐมวยั ทงั้ นี้ ประสบการณ การเรยี นรูของเดก็ จะจัดข้ึนโดยคานึงถึงธรรมชาติของเด็กท่ีเรียน
รูผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ การสารวจ การทดลอง การสร้างช้ินงานที่สร้างสรรค และการเห็น
แบบอยา่ งท่ีดี การจัดประสบการณการเรียนรูอย่างหลากหลายจะช่วยตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่าง
บุคคล สงเสริมความชอบ ความสนใจ และความถนัด ซ่ึงเป็นการเปิดโอกาสใหเด็กได้พัฒนา
อย่างรอบด้าน พฒั นาทักษะชีวิต และทกั ษะการเรียนรูทีส่ อดคลอง กับธรรมชาติ และพฒั นาการตามวัยของ
เดก็ ทมี่ คี วามแตกตา่ งกันไปในแตล่ ะบคุ คล การจัดประสบการณ การเรียนการสอนในระดับปฐมวัยยึดหลัก
การบูรณาการท่ีวา หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรียนรูได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้
หลายทกั ษะและหลายประสบการณสาคญั ดังนนั้ ผ้สู อนจะตองวางแผน การจัดประสบการณในแต่ละวันให
เด็กเรียนรูผ่านการเล่นที่หลากหลายกิจกรรม หลากหลายทักษะ หลากหลาย ประสบการณ สาคัญอย่าง
เหมาะสมกบั วยั และพฒั นาการ เพอ่ื ใหบรรลุจดุ หมายของหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

๘. แนวคดิ เกีย่ วกับส่ือ เทคโนโลยี และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู ผูสอนสามารถนาสื่อ
เทคโนโลยี และการจัดสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการเรียนรูมาสนับสนุนและเสริมสร้างการเรียนรูของเด็ก

๑๗

ปฐมวยั ได้ โดยสอื่ เป็นตัวกลางและเคร่อื งมือเพอ่ื ใหเดก็ เกดิ การเรียนรูตามจดุ ประสงคที่วางไว ส่ือสาหรับเด็ก

ปฐมวัยนัน้ สามารถเป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ ของเล่น ตลอดจนเทคนิควิธีการ ที่กาหนดไวได้อย่างง่ายและ

รวดเรว็ ทาให้สิง่ ทเ่ี ป็นนามธรรมเขาใจยากกลายเป็นรูปธรรม เกิดการเรียนรูและคนพบด้วยตนเอง การใช

สื่อการเรียนรู ตองปลอดภัยตอตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความ

สนใจ ความชอบ และความตองการของเด็กท่ีหลากหลาย ควรมีสื่อที่เป็นส่ือของจริง ส่ือธรรมชาติ สื่อท่ีอยู

ใกลตัวเด็ก สื่อสะท้อน วัฒนธรรม สื่อภูมิปัญญาทองถิ่น และส่ือเพื่อพัฒนาเด็กในดานต่าง ๆ ใหครบทุก

ดา้ น ทัง้ น้ี ส่ือตอ้ งเออื้ ใหเด็กเรยี นรู ผ่านประสาทสัมผัสทั้งหา และสงเสริมการลงมือปฏิบัติจริงของเด็ก โดย

การจดั สอื่ สาหรับเดก็ ปฐมวัยตองเริม่ ตนจาก สื่อของจรงิ ของจาลอง (๓ มติ )ิ ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง (๒ มิติ)

และสัญลักษณ์จากรูปธรรมไปสู่นามธรรมตามลาดับ สาหรับเทคโนโลยีเขามามีบทบาทตอการดารงชีวิต

เพม่ิ ขึ้นอยา่ งต่อเนื่อง เพอื่ การตอบสนอง ความตองการและการแก ปญหาในชีวิตประจาวัน

เทคโนโลยี สาหรับเด็กปฐมวัยสามารถเป็นอุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใชในชีวิตประจาวัน ของเล่นเด็ก และ

วิธีการใหม่ ๆ ในการแกปญหาในชีวิตประจาวัน การใชเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมตองเป็นการเลือกใชอย่าง

จดุ มุ่งหมายเครอ่ื งมือประเภทดจิ ิตอลและอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ป็น ส่ิงที่ไม่เหมาะสมตอการใชกบั เด็กอายตุ า่ กวา ๓

ป สาหรับเด็กอายุต้ังแต่ ๓ ปขึ้นไป ควรใชกับเด็กอย่างมีจุดมุ่งหมาย และใชเป็นสื่อปฏิสัมพันธ์ จากัดชวง

เวลาในการใชและมีขอตกลงในการใชอย่างเหมาะสมกับวัย โดยใชเป็นทางเลือกไม่บังคับใช และไม่ใช

เทคโนโลยเี พื่อเสรมิ สอ่ื หลกั สวนการจดั สภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการเรียนรู เป็นการจดั เตรียมสภาพแวดลอม

ท้ังทางกายภาพ และทางจิตภาพ ท้ังภายในและภายนอกห องเรียนเพื่อเสริมสร้างประสบการณและ

สนบั สนุนการเรียนรูของเดก็ รวมทั้งการสงเสรมิ บรรยากาศที่ดีสาหรับการเรียนรู โดยมุงใหผู้สอนและเด็กมี

ความสัมพนั ธ์ทด่ี ตี ่อกนั สภาพแวดลอมที่ดีควรสะอาด ปลอดภัย อากาศสดชื่น ผอนคลาย ไม่เครียด เด็กมี

โอกาสเรยี นรูเกยี่ วกับตวั เอง และพัฒนาการอยูร่วมกับผูอ่ืนในสงั คม

๙. แนวคิดเกี่ยวกบั การประเมินตามสภาพจรงิ การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยยึด วิธีการ

สังเกตเป็นส่วนใหญ่ เป็นกระบวนการท่ีต่อเนื่องและสอดคลองสัมพันธ์กับการจัดประสบการณการเรียนรู

รวมทั้งกิจกรรมประจาวัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือใหได้ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก

สาหรับการสงเสริมความก้าวหน้า และช่วยเหลือสนับสนุนเม่ือพบเด็กล่าช้าหรือมีป ญหาท่ีเกิดจาก

พัฒนาการและการเรียนรู ไม่ใชการตัดสินผลการศึกษาและไม่ใชแบบทดสอบในการประเมิน เป็นการ

ประเมินตามสภาพจรงิ ที่มกี าร วางแผนอย่างเป็นระบบ ใชวธิ กี ารและเครือ่ งมอื ประเมินทหี่ ลากหลายอย่างมี

จุดมงุ่ หมาย เหมาะสมกับศักยภาพในการเรยี นรูและพฒั นาการตามวัยของเด็ก ตลอดจนรูปแบบการเรียนรู

ประสบการณท่ีเด็กได้รับ และแหล่งข้อมูล ที่เก่ียวของกับตัวเด็กที่มีการเก็บข้อมูลอย่างรอบด้านโดยใช

เรือ่ งราวเหตกุ ารณ กิจกรรมตามสภาพจริงหรอื คลา้ ยจรงิ ในชวี ติ ประจาวนั เพอื่ ใหเด็กมีโอกาสแสดงออกถึง

ความรู ความสามารถ และทักษะต่าง ๆจากการปฏิบัติ กิจกรรมหรือการสร้างงานที่เป็นผลผลิตเพ่ือเป็นการ

สะทอ้ นภาพทแ่ี ท้จริง มีการนาเสนอหลกั ฐานในการประเมิน ท่ีนาเชื่อถือในรูปแบบท่ีเหมาะสม เพ่ือส่ือสาร

ผลการประเมนิ ใหแกครอบครวั รวมทงั้ ผู้เก่ียวของที่มีสวนร่วมในการพัฒนาเด็ก โดยสามารถบอกได้วาเด็ก

เกิดการเรียนรูและมีความก้าวหนาเพียงใด ขอมูลจากการประเมินพัฒนาการ จะช่วยผู้สอนในการวาง

แผนการจัดกิจกรรมชี้ใหเห็นความตองการพิเศษของเด็กแต่ละคน ใชเป็นขอมูลในการ สื่อสารกับพ่อแม่

ผปู้ กครองเดก็ และขณะเดยี วกนั ยังใชในการประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ใหกับเด็ก

ในวัยนีไ้ ด้อกี ด้วย

๑๐. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนร่วมของครอบครัว สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

และชุมชน การพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพตองอาศัยความร่วมมือของทุกฝ่ายที่เก่ียวของกับเด็ก ซ่ึงพ่อแม่

๑๘

ผู้ปกครอง รวมทั้งบุคคลในครอบครัวเป็นผู้ท่ีอยู่ใกลชิดเด็กมากที่สุด และครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตนในการ
เรยี นรู ของเดก็ สถานศกึ ษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยจะเปน็ สวนสาคัญที่อบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก จึง
ไม่เพยี งแต่ แลกเปลยี่ นความรเู้ กี่ยวกับพัฒนาการเด็กเทาน้ัน แต่ยังตองมีการทางานร่วมกับครอบครัวและ
ชุมชนท่ีมี รูปแบบต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาเด็กร่วมกัน เชน โปรแกรมการใหการศึกษาแกผู้ปกครองในการ
ดูแลและพฒั นา เดก็ โปรแกรมการช่วยเหลือครอบครวั และเดก็ ในดานสุขภาพอนามยั โภชนาการ และการส
งเสริมพฒั นาการ การเยยี่ มบ้านเด็ก การสรา้ งชวงรอยเชือ่ มตอระหว่างการศึกษาระดับอนุบาลกับระดับชั้น
ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ หรือเขาสู่สถานศึกษา การส่ือสารกับผู้ปกครองในชองทางต่าง ๆ ที่เหมาะสม การขอ
อาสาสมัคร ผู้ปกครองที่ มีความสามารถหลากหลาย มีเวลา หรือตองการช่วยเหลือสนับสนุนในการทา
กิจกรรมต่าง ๆ การสนับสนุน การเรียนรูของเด็กที่บ้านที่เชื่อมต่อกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การเปิด
โอกาสใหผู้ปกครองมสี วนรว่ มในการตัดสนิ ใจในการดาเนนิ งานของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
การสรา้ งความรว่ มมอื ใหชุมชน มสี วนรว่ มในการจัดกิจกรรม การใหบริการและสนับสนุนตลอดจนการเป็น
แหล่งเรยี นรูของเดก็ โดยการ มสี ว่ นรว่ มทม่ี ปี ระสิทธิภาพจะตองอาศัยความไววางใจ ความเคารพซึ่งกันและ
กนั รวมทัง้ การร่วมรับผดิ ชอบ สาหรับการจัดการศกึ ษาใหแกเดก็ ปฐมวัยอยา่ งมีคณุ ภาพ

๑๑. แนวคดิ เก่ียวกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเป็นไทย และความหลากหลาย
การเปลยี่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี สงผลตอวิถีชีวติ และการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเด็กสู่
อนาคต อย่างไรก็ตาม เด็กเม่ือเกิดมาจะเป็นสวนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงไม่เพียงแต่จะได้รับ
อิทธพิ ล จากการปฏิบัติแบบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ
แลว ยงั ไดร้ ับอทิ ธิพล จากประสบการณ คา่ นิยม และความเชื่อของบุคคลในครอบครัวและชุมชนของแต่ละ
ทดี่ ว้ ย โดยบริบททางสังคม และวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่หรือแวดลอมรอบตัวเด็กมีอิทธิพลต่อพัฒนาการ
และการเรียนรู ตลอดจนการพัฒนา ศักยภาพขอแต่ละคน ผู้สอนควรตองเรียนรูบริบททางสังคมและ
วัฒนธรรมของเด็กที่ตนรับผิดชอบ เพื่อช่วยให เด็กได้รับการพัฒนาและเกิดการเรียนรูและดาเนินชีวิตอยู่
ในกลุมคนท่มี าจากพื้นฐานเหมอื นหรอื ตางจากตน ได้อยา่ งราบรืน่ มีความสุข เป็นการเตรยี มเด็กไปสู่สงั คมใน
อนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การทางานร่วมกับผู้อ่ืน ท่ีมีความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อ และ
วฒั นธรรม โดยคานงึ ถึงความเป็นไทยทมี่ มี รดกทางวัฒนธรรม ท้ังในดา้ นภาษา มารยาท คุณธรรมจริยธรรม
ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณที ่งี ดงาม และท่สี าคญั คือ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นหลักคิดในการ
ดาเนินชีวิตท่ีเนนความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน การใชความรูควบคูคุณธรรม โดยในการจัด
การศึกษาตองมกี ารคานงึ ถงึ ท้ังด้านเช้ือชาติ ศาสนา เศรษฐสถานะ เพศ วัย ความตองการพเิ ศษ ที่เป็นความ
แตกต่างระหวา่ งบคุ คล โดยสามารถพฒั นาใหเด็กมีความเขาใจในตนเอง เขาใจผู้อ่ืน และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้
ในแนวคดิ และความหลากหลายเทาทันการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วและรอบดา้ น โดยสถานศึกษา
หรอื สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั สามารถจดั ทาหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีมีอัตลักษณ มีการวางแผน การจัดประสบ
การณการเรียนรูและการจัดกิจกรรมที่สร้างความเชื่อมโยงกับสังคม วัฒนธรรม ความเป็นไทย และความ
หลากหลาย

๑๙

ส่วนที่ ๓ หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนนกิ รราษฎร์บารุงวทิ ย์

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

โรงเรยี นนิกรราษฎรบ์ า้ รุงวทิ ย์

………………………………………………………………………………

๑. ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั
โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ จัดการพัฒนาเด็ก อายุ ๔ – ๖ ปี บนพ้ืนฐานการอบรมเลี้ยงดูและ

การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตาม
ศักยภาพ ภายใตบ้ รบิ ทสงั คมและวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น ด้วยความรกั ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุก
คน เพ่อื สรา้ งรากฐานคณุ ภาพชวี ิตใหเ้ ดก็ พัฒนาไปสูค่ วามเป็นมนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์เกดิ คณุ ค่าตอ่ ตนเองครอบครัว
ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ

๒. วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย
๒.๑ วสิ ยั ทัศน์
โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัย อายุ ๔ – ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย

อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เน้นให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ ผ่านสื่อท่ี
หลากหลายและเรียนร้อู ยา่ งมีความสขุ น้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้อย่างเหมาะสมกับวัย
เป็นคนดี มีวินัย สานึกรักชุมชนแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และมีเจตคติที่ดีภายใต้ความร่วมมือของ
สถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

๒.๒ พันธกิจ
๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่มี งุ่ เนน้ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ท้งั ๔ ดา้ น อยา่ งสมดลุ และ
เต็มศักยภาพมีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ ทอ้ งถน่ิ สนใจใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างมีความสุข
๒. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรด้านการจัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ การเรยี นรูผ้ า่ นการเลน่ และการ
ลงมอื ปฏิบตั ทิ ีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกับพฒั นาการเดก็
๓. ส่งเสริมการจดั สภาพแวดลอ้ ม สอื่ เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรใู้ นการพัฒนาเด็กปฐมวัย
๔. จัดประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ห่ี ลากหลายซงึ่ สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเดก็
โดยนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้เสริมสร้างพัฒนาการ
และการเรยี นรู้ของเดก็
๕. ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครองและชมุ ชนในการพฒั นาเด็กปฐมวัย

๒๐

๒.๓ เป้าหมาย
๑. เดก็ ปฐมวยั ทุกคนได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาเป็น
องค์รวมอยา่ งสมดุล มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อทอ้ งถิน่ สนใจใฝ่รู้ และเรยี นรู้อยา่ งมีความสขุ
๒. ครูมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถจดั ประสบการณท์ ี่ส่งเสรมิ การเรยี นรผู้ า่ นการเลน่
โดยใช้กระบวนการวางแผน การปฏิบัติ และสอดคล้องกบั พัฒนาการเดก็
๓. มสี ภาพแวดลอ้ ม ส่อื เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรูท้ ีเ่ อื้อต่อการส่งเสริมพฒั นาการเด็ก
ปฐมวยั อย่างพอเพยี ง
๔. ครูนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาใช้ในการ

จัดประสบการณใ์ ห้กับเดก็ อย่างเหมาะสมกบั วยั และบรบิ ทของสถานศกึ ษา
๕. มีเครือข่าย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมีส่วนรว่ มในการพัฒนา
เด็กปฐมวัยด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลายและมคี วามต่อเน่ืองในทศิ ทางเดียวกนั กับสถานศึกษา

๓. จดุ หมาย
หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ม่งุ ให้เดก็ มีพฒั นาการตามวัยเตม็ ตามศักยภาพ และเมื่อมีความพร้อม

ในการเรยี นรู้ตอ่ ไป จงึ กาหนดจุดหมายเพอ่ื ให้เกดิ กบั เดก็ เม่ือเดก็ จบการศกึ ษาระดับปฐมวยั ดังน้ี
๑. มรี ่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสขุ นสิ ยั ทดี่ ี
๒. มสี ขุ ภาพจิตดี มสี ุนทรียภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจทด่ี งี าม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
๔. มีทักษะการคดิ การใชภ้ าษาสอื่ สาร และการแสวงหาความร้ไู ดเ้ หมาะสมกบั วัย

๔. พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย
พฒั นาการของเดก็ ปฐมวัยดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญาแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเปล่ียนแปลง

ที่เกดิ ขน้ึ ตามวฒุ ภิ าวะและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ด็กได้รับ พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัยอาจเร็วหรือช้าแตกต่าง
กันไปในเดก็ แต่ละคน มีรายละเอยี ด ดงั น้ี

๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เป็นพัฒนาการที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีขึ้นของ
ร่างกายในด้านโครงสร้างของร่างกาย ดา้ นความสามารถในการเคล่อื นไหว และดา้ นการมีสขุ ภาพอนามัยท่ีดี
รวมถึงการใช้สัมผัสรับรู้ การใช้ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรมต่างๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปีมีการ
เจริญเติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะในเร่ืองน้าหนักและส่วนสูง กล้ามเน้ือใหญ่จะมีความก้าวหน้ามากกว่า
กลา้ มเนอื้ เลก็ สามารถบงั คบั การเคล่อื นไหวของร่างกายได้ดี มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเดิน สามารถ
วิ่ง กระโดด ควบคุมและบังคับการทรงตัวได้ดี จึงชอบเคล่ือนไหว ไม่หยุดน่ิง พร้อมที่จะอ อกกาลังและ
เคล่อื นไหวในลักษณะตา่ งๆสว่ นกลา้ มเนอื้ เล็กและความสัมพันธ์ระหว่างตาและมือยังไม่สมบูรณ์ การสัมผัส

๒๑

หรือการใช้มอื มีความละเอยี ดข้นึ ใชม้ ือหยบิ จับส่ิงของต่างๆไดม้ ากข้นึ ถา้ เด็กไม่เครียดหรือกังวลจะสามารถ
ทากจิ กรรมทพ่ี ฒั นากล้ามเนือ้ เล็กไดด้ ีและนานข้นึ

๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรู้สึกของเด็ก เช่น
พอใจ ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกียด โดยที่เด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและ
สถานการณ์ เผชญิ กับเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกท่ีดีและการนับถือตนเอง เด็กอายุ ๓-๕
ปีจะแสดงความรู้สึกอยา่ งเต็มทีไ่ มป่ ิดบงั ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสยี ใจ โกรธแตจ่ ะเกดิ เพียงช่ัวครู่แล้วหายไปการ
ท่ีเด็กเปล่ยี นแปลงอารมณง์ ่ายเพราะมชี ่วงความสนใจระยะส้นั เม่ือมสี ิง่ ใดนา่ สนใจก็จะเปลี่ยนความสนใจไป
ตามส่ิงน้ัน เด็กวันนี้มักหวาดกลัวส่ิงต่างๆ เช่น ความมืด หรือสัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจาก
จินตนาการ ซ่ึงเด็กว่าเป็นเรื่องจริงสาหรับตน เพราะยังสับสนระหว่างเรื่องปรุงแต่งและเร่ืองจริง
ความสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมกับวัย รวมถึงชื่นชมความสามารถ
และผลงานของตนเองและผอู้ ่ืน เพราะยึดตัวเองเป็นศูนยก์ ลางน้อยลงและต้องการความสนใจจากผู้อ่ืนมาก
ข้นึ

๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมคร้ังแรกใน
ครอบครัว โดยมีปฏิสัมพนั ธ์กับพอ่ แม่และพีน่ ้อง เมือ่ โตข้นึ ตอ้ งไปสถานศึกษา เด็กเร่ิมเรียนรู้การติดต่อและ
การมสี ัมพันธก์ ับบุคคลนอกครอบครวั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เดก็ ในวัยเดียวกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้า
สังคมกับเด็กอ่ืนพร้อมๆกับรู้จักร่วมมือในการเล่นกับกลุ่มเพ่ือน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝัง
และสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตให้แก่นักเรียนสร้างความตระหนักให้นักเรียน ยึดถือประโยชน์
สว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน มจี ติ พอเพยี งต้านทุจรติ ละอายและเกรงกลวั ที่จะไม่ทุจริตและไม่ทนต่อ
การทุจริตทุกรูปแบบ เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อข้ึนในวัยนี้และจะแฝงแน่นยากท่ีจะ
เปล่ียนแปลงในวัยต่อมา ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ มี ๒ ลักษณะ คือ
ลักษณะแรกนนั้ เป็นความสัมพนั ธ์กบั ผู้ใหญ่และลกั ษณะท่ีสองเปน็ ความสมั พันธก์ ับเด็กในวัยใกลเ้ คียงกนั

๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยน้ีมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจ
ความร้สู ึกของคนอ่นื เดก็ มคี วามคิดเพยี งแต่วา่ ทุกคนมองสงิ่ ต่างๆรอบตัว และรู้สึกตอ่ ส่งิ ต่างๆ เหมือนตนเอง
ความคิดของตนเองเป็นใหญ่ทส่ี ดุ เม่อื อายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุส่ิงของที่อยู่
รอบตัวได้ สามารถจาส่ิงต่างๆ ทไ่ี ด้กระทาซ้ากนั บ่อยๆ ไดด้ ี เรยี นรู้ส่งิ ต่างๆ ได้ดขี ึน้ แต่ยังอาศัยการรับรู้เป็น
สว่ นใหญ่ แกป้ ัญหาการลองผดิ ลองถูกจากการรบั รมู้ ากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่างๆ
ท่อี ยู่รอบตวั พฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ตามอายทุ ่ีเพม่ิ ข้ึน ในส่วนของพฒั นาการทางภาษา เด็กวัยน้ีเป็นระยะเวลา
ของการพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมีการฝึกฝนการใช้ภาษาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการ
พดู คยุ การตอบคาถาม การเล่าเร่ือง การเล่านิทานและการทากิจกรรมต่าง ๆ ท เกี่ยวขอ้ งกบั การใช้ภาษาใน
สถานศึกษา เด็กปฐมวัยสามารถ ใชภ้ าษาแทนความคิดของตนและใช้ภาษาในการติดต่อสมั พันธ์กับคนอ่ืนได้
คาพดู ของเดก็ วยั นี้ อาจจะทาใหผ้ ูใ้ หญบ่ างคนเขา้ ใจวา่ เด็กรมู้ ากแลว้ แตท่ ีจ่ ริงเด็กยังไม่เข้าใจความหมายของ
คาและเรื่องราวลกึ ซ้งึ นัก

๒๒

๕. มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กาหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

จานวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
๑. พฒั นาการดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจริญเติบโตตามวยั และมีสขุ นิสยั ที่ดี
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้อื ใหญแ่ ละกลา้ มเนือ้ เลก็ แขง็ แรงใชไ้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่วและ
ประสานสัมพนั ธก์ ัน

๒. พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมคี วามสุข
มาตรฐานที่ ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว
มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจทด่ี ีงาม

๓. พฒั นาการด้านสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคือ
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชวี ติ และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน
ระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ รวมท้ังเกิดวัฒนธรรมต่อต้านการ
ทุจรติ สร้างความตระหนักให้นักเรียน ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน มี
จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต ละอายและเกรงกลวั ทีจ่ ะไม่ทจุ ริตและไม่ทนต่อการทจุ ริตทกุ รูปแบบ

๔. พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกบั วัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่เี ปน็ พ้นื ฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อการเรยี นรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้
เหมาะสมกับวัย

๕.๑ ตัวบ่งชี
ตัวบ่งชี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กท่ีมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์
๕.๒ สภาพท่ีพงึ ประสงค์
สภาพที่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิด บนพ้ืนฐาน
พฒั นาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาตใิ นแต่ละระดบั อายเุ พื่อนาไปใชใ้ นการกาหนดสาระเรียนรู้
ใน การจัดประสบการณ์ กิจกรรมและประเมินพัฒนาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐาน

๒๓

คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ตวั บง่ ชี้ และสภาพทพี่ ึงประสงค์ ดังน้ี

มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

๑.พัฒนาการดา้ นร่างกาย

มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยเด็กมีสุขนิสยั ท่ีดี

ตวั บ่งชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๑.๑ มนี า้ หนักและ -น้าหนักและส่วนสูงตาม -น้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรม

สว่ นสูงตามเกณฑ์ เกณฑข์ องกรมอนามยั อนามัย

๑.๒ มีสุขภาพอนามยั -รั บ ปร ะ ทา น อ า ห าร ที่ มี -รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้หลาย

สขุ นสิ ยั ทีด่ ี ประโยชน์และดื่มน้าสะอาด ชนดิ และดม่ื น้าสะอาดได้ด้วยตนเอง

ด้วยตนเอง

-ล้างมือก่อนรับประทาน -ลา้ งมือกอ่ นรับประทานอาหารและหลังจาก

อ า ห า ร แ ล ะ ห ลั ง จ า ก ใ ช้ ใชห้ ้องนา้ หอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง

ห้องนา้ หอ้ งสว้ มด้วยตนเอง

-นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา -นอนพักผ่อนเปน็ เวลา

-ออกกาลังกายเป็นเวลา -ออกกาลังกายเปน็ เวลา

๑.๓ รกั ษาความ -เล่นและทากิจกรรมอย่าง -เลน่ และทากิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่าง

ปลอดภยั ของตนเองและ ปลอดภยั ดว้ ยตนเอง ปลอดภัย

ผู้อน่ื

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเนอื ใหญแ่ ละกลา้ มเนอื เล็กแข็งแรงใช้ได้อยา่ งคล่องแคลว่

และประสานสมั พันธก์ ัน

ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๒.๑ เคลื่อนไหว -เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็น -เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ต้อง

ร่างกายอย่าง เสน้ ตรงไดโ้ ดยไมต่ ้องกางแขน กางเกง

คลอ่ งแคลว่ -กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้ -กระโดดขาเดยี ว ไปข้างหน้าได้อย่างต่อเนื่องโดย

ประสานสัมพันธ์ โดยไมเ่ สยี การทรงตวั ไม่เสียการทรงตัว

และทรงตัวได้ -วง่ิ หลบหลีกสิง่ กีดขวางได้ -วิง่ หลบหลีกสง่ิ กดี ขวางไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว

-รับลูกบอลได้ด้วยมือท้ังสอง -รับลูกบอลท่กี ระดอนขน้ึ จากพน้ื ได้

ข้าง

๒.๒ ใชม้ ือ-ตา -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตาม -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโคง้ ได้

๒๔

ประสานสมั พันธ์ แนวเส้นตรงได้
กัน
-เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้ -เขียนรูปสามเหล่ียมตามแบบไดอ้ ย่างมีมมุ ชัดเจน

อยา่ งมีมุมชดั เจน

-ร้อยวัสดุท่ีมีรูจนาดเส้นผ่าน -รอ้ ยวสั ดุที่มรี ูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.

ศูนย์ ๐.๕ ซม.ได้ ได้

๒.พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ

มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดแี ละมคี วามสขุ

ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๓.๑ แสดงออกทาง -แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ -แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้องกับ

อารมณอ์ ย่าง ตามสถานการณ์ สถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสม

เหมาะสม

๓.๒ มคี วามรสู้ กึ ท่ี -กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่าง -กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตาม

ดตี ่อตนเองและ เหมาะสมบางสถานการณ์ สถานการณ์

ผู้อ่นื -แสดงความพอใจในผลงาน -แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ

และความสามารถของตนเอง ของตนเองและผูอ้ นื่

มาตรฐานที่ ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว

ตวั บง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๔.๑ สนใจและมี -สนใจและมีความสุขและ -สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่านงาน

ความสุขและ แสดงออกผ่านงานศิลปะ ศลิ ปะ

แสดงออกผ่านงาน -ส น ใ จ มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ -สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านเสียงเพลง

ศลิ ปะ ดนตรีและ แสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี

การเคลื่อนไหว ดนตรี

-สนใจ มีความสุขและแสดง -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคล่ือนไหว

ท่าทาง/เคล่ือนไหวประกอบ ประกอบเพลง จงั หวะและ ดนตรี

เพลง จงั หวะและ ดนตรี

มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและมจี ิตใจทีด่ ีงาม

๒๕

ตัวบ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์

๕.๑ ซอ่ื สตั ย์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี
สุจริต
- ขออนุญาตหรือรอคอ ยเมื่อ - ขออนุญาตหรอื รอคอยเมื่อต้องการส่ิงของของ
๕.๒ มีความ
เมตตา กรุณา ต้องการสิ่งของของผู้อื่นเมื่อมีผู้ ผอู้ น่ื ดว้ ยตนเอง
มีนา้ ใจและ
ช่วยเหลอื ชแ้ี นะ
แบ่งปัน
๕.๓ มี -แสดงความรักเพ่ือนและมีเมตตา -แสดงความรกั เพื่อนและมเี มตตาสตั ว์เล้ยี ง
ความเห็นอก
เห็นใจผู้อน่ื สัตวเ์ ลย้ี ง
๕.๔ มีความ
รับผิดชอบ -ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อ่ืนได้เมื่อ -ช่วยเหลอื และแบ่งปนั ผ้อู ่นื ได้ดว้ ยตนเอง

มผี ู้ช้ีแนะ

-แสดงสีหน้าหรือท่าทาง รับรู้ -แสดงสหี นา้ หรือทา่ ทางรับรคู้ วามร้สู กึ ผ้อู ่ืนอย่าง

ความร้สู ึกผอู้ ื่น สอดคล้องกบสถานการณ์

-ทางานท่ีได้รับมอบหมายจน -ทางานทไ่ี ด้รับมอบหมายจนสาเรจ็ ดว้ ยตนเอง
สาเร็จเม่อื มผี ชู้ ี้แนะ

๓.พฒั นาการดา้ นสังคม

มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๖.๑ - แตง่ ตวั ด้วยตนเอง - แต่งตัวดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว

ชว่ ยเหลอื -รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง - รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเองอยา่ งถกู วิธี
ตนเองในการ -ใชห้ ้องนา้ หอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง -ใช้และทาความสะอาดหลังใช้ห้องน้าห้องส้วมด้วย
ปฏบิ ัติ ตนเอง
กจิ วตั ร

ประจาวนั

๖.๒ มวี ินัย -เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ด้วย -เก็บของเล่นของใช้เขา้ ท่อี ย่างเรียบร้อยด้วยตนเอง

ในตนเอง ตนเอง

-เข้าแถวตาลาดับก่อนหลังได้ -เข้าแถวตาลาดับก่อนหลงั ได้ดว้ ยตนเอง

ด้วยตนเอง

๖.๓ -ใช้สิ่ง ของ เคร่ื อง ใช้อย่า ง -ใช้สิ่งของเคร่ืองใช้อย่างประหยัดและพอเพียงด้วย

ประหยดั ประหยัดและพอเพียงเม่ือมีผู้ ตนเอง

และพอเพียง ช้ีแนะ

๒๖

มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย

ตวั บ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๗.๑ ดแู ล -มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติ -มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและ

รกั ษา และสงิ่ แวดลอ้ มเม่อื มีผ้ชู ี้แนะ ส่ิงแวดล้อมดว้ ยตนเอง

ธรรมชาติ -ทิ้งขยะได้ถูกที่ -ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกที่

และ

ส่ิงแวดล้อม

๗.๒ มี -ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ด้วย -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ ตามกาลเทศะ

มารยาท ตนเอง

ตาม -กล่าวคาขอบคุณและขอโทษด้วย -กล่าวคาขอบคณุ และขอโทษด้วยตนเอง

วัฒนธรรม ตนเอง

ไทยและรกั -หยดุ เมอ่ื ไดย้ ินเพลงชาติไทยและเพลง -ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและเพลง

ความเปน็ สรรเสริญพระบารมี สรรเสรญิ พระมารมี

ไทย

มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมในระบอบ

ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข

ตวั บง่ ช้ี สภาพที่พึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๘.๑ ยอมรบั ความ -เล่นและทากิจกรรมร่วมกับ -เล่นและทากิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่างไป

เหมือนและความ กลุ่มเดก็ ที่แตกต่างไปจากตน จากตน

แตกต่างระหว่าง

บคุ คล

๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์ -เล่นหรือทางานร่วมกับเพื่อน -เลน่ หรือทางานรว่ มกับเพ่ือนอยา่ งมเี ปา้ หมาย

ท่ดี กี ับผู้อ่นื เป็นกล่มุ

-ย้ิมหรือทักทายหรือพูดคุยกับ -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคล

ผู้ใหญ่และบุคคลท่ีคุ้นเคยได้ ท่คี ุน้ เคยไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

ดว้ ยตนเอง

๘.๓ ปฏบิ ตั ิตน -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตาม

เบอ้ื งตน้ ในการเป็น ปฏิบัติตามข้อตกลงเม่ือมีผู้ ข้อตกลงดว้ ยตนเอง

สมาชกิ ท่ีดีของ ช้ีแนะ

๒๗

สงั คม -ปฏบิ ัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามท่ี -ปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามได้เหมาะสมกับ

ดไี ด้ดว้ ยตนเอง สถานการณ์

-ประนีประนอมแก้ไขปัญหา -ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการ

โดยปราศจากการใช้ความ ใช้ความรุนแรงด้วยตนเอง

รุนแรงเมือ่ มีผชู้ ้แี นะ

-คิ ด แ ย ก แ ย ะ ร ะ ห ว่ า ง -คิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับ

ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ต น กั บ ผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่

ผลประโยชน์ส่วนรวม ความ ทนต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต้าน

อายและความไม่ทนต่อการ ทุจริต และพลเมือง กับความรับผิดชอบต่อ

ทุจริต STRONG : จิตพอเพียง สงั คม

ต้านทุจริต และพลเมือง กับ

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม

๔. พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับวยั

ตัวบ่งชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๙.๑ สนทนา -ฟงั ผูอ้ นื่ พูดจนจบและสนทนา -ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง

โต้ตอบและเลา่ โต้ตอบสอดคล้องกบั เร่อื งที่ฟัง ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรอื่ งทฟ่ี ัง

เร่ืองใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจ -เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่าง -เล่าเป็นเรือ่ งราวตอ่ เนอื่ งได้

ต่อเนอื่ ง

๙.๒ อ่าน เขียน -อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา -อา่ นภาพ สญั ลกั ษณ์ คา ด้วยการช้ี หรือกวาด

ภาพ และ พร้อมท้ังชี้ หรือกวาดตามอง ตามองจดุ เริ่มต้นและจุดจบของขอ้ ความ

สญั ลักษณ์ได้ ข้อความตามบรรทัด

-เขียนคล้ายตัวอักษร -เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบ เขียนข้อความ

ด้วยวิธีที่คดิ ข้นึ เอง

๒๘

มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทีเ่ ป็นพืนฐานในการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๑๐.๑ มีความ -บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ -บอกลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง

สามารถในการคิด ส่วนประกอบของสิ่งของ หรือความสัมพันธ์ของส่ิงของต่างๆจากการ

รวบยอด ต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ สังเกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส

ประสาทสัมผสั

-จับคู่และเปรียบเทียบความ -จับคแู่ ละเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความ

แตกต่างหรือความเหมือน เหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบ

ของส่ิงต่างๆโดยใช้ลักษณะที่ สองลักษณะขน้ึ ไป

สงั เกตพบเพียงลกั ษณะเดยี ว

-จาแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ -จาแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ต้ังแต่สอง

โดยใช้อย่างน้อยหน่ึงลักษณะ ลักษณะข้ึนไปเปน็ เกณฑ์

เป็นเกณฑ์

-เ รี ย ง ล า ดั บ สิ่ ง ข อ ง ห รื อ -เรียงลาดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย ๕

เหตกุ ารณอ์ ย่างน้อย ๔ ลาดับ ลาดบั

๑๐.๒ มคี วาม -ระบุสาเหตุหรือผลที่เกิดข้ึน -อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน

สามารถในการคิด ในเหตุการณ์หรือ การกระทา เหตกุ ารณ์หรือการกระทาดว้ ยตนเอง

เชิงเหตุผล เมอ่ื มผี ูช้ แ้ี นะ

-คาดเดา หรือคาดคะเนสิ่งที่ -คาดคะเนสง่ิ ท่อี าจจะเกิดขึ้น และมีส่วนร่วมใน

อาจจะเกิดข้นึ หรอื มีส่วนร่วม การลงความเหน็ จากข้อมูลอย่างมเี หตุผล

ในการลงความเห็นจากขอ้ มลู

๑๐.๓ มีความ -ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและ -ตัดสินใจในเรอ่ื งง่ายๆและยอมรับผลท่ีเกดิ ขน้ึ

สามารถในการคิด เร่ิมเรยี นร้ผู ลที่เกิดขึน้

แก้ปัญหาและ -ระบุปัญหา และแก้ปัญหา -ระบุปัญหาสร้าง ทางเลือกและ เลือกวิ ธี

ตดั สนิ ใจ โดยลองผิดลองถูก แก้ปญั หา

๒๙

มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

ตวั บง่ ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๑๑.๑ เลน่ /ทางานศลิ ปะ -สร้างผลงานศิลปะเพ่ือ -สร้างผลงานศิลปะเพ่ือสื่อสารความคิด

ตามจนิ ตนาการและ ส่ื อ ส า ร ค ว า ม คิ ด ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงและ

ความคิดสร้างสรรค์ ความรูส้ กึ ของตนเองโดย แปลกใหมจ่ ากเดมิ และมีราย ละเอยี ดเพมิ่ ข้ึน

มีการดดั แปลงและแปลก

ใหม่จากเดิมหรือมีราย
ละเอยี ดเพมิ่ ข้นึ

๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ -เคลื่อนไหวท่าทางเพ่ือ -เคลื่อนไหวท่าทางเพ่ือสื่อสารความคิด

เคลื่อนไหวตาม ส่ื อ ส า ร ค ว า ม คิ ด ความรู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายและ

จินตนาการอยา่ ง ความรู้สึกของตนเอง แปลกใหม่

สร้างสรรค์ อยา่ งหลากหลาย

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วัย

ตัวบ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์

อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี

๑๒.๑ มเี จตคติทด่ี ีต่อ -สนใจซักถามเกี่ยวกับ -หยบิ หนงั สือมาอา่ นและเขียนสื่อความคิดด้วย

การเรียนรู้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ห รื อ ตนเองเป็นประจาอย่างตอ่ เนอื่ ง

ตัวหนังสอื ทพ่ี บเห็น

-กระตือรือร้นในการเข้า -กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้นจน

รว่ มกิจกรรม จบ

๑๒.๒ มคี วามสามารถใน -ค้นหาคาตอบของข้อ -ค้นหาคาตอบของขอ้ สงสัยต่างๆ ตามวิธีการท่ี

การแสวงหาความรู้ สงสัยต่างๆ ตามวิธีการ หลากหลายดว้ ยตนเอง

ของตนเอง

-ใช้ประโยคคาถามว่า -ใช้ประโยคคาถามว่า “เมื่อไร” อย่างไร” ใน

“ท่ีไหน” “ทาไม” ใน การค้นหาคาตอบ

การค้นหาคาตอบ

๖. การจดั เวลาเรยี น
โครงสรา้ งของหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั

เพ่อื ใหก้ ารจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมายท่ีกาหนดไว้ให้สถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง
กับการเล้ียงดูเด็กปฏิบัติ ในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาจึงกาหนดโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษา

๓๐

ปฐมวัยของโรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารุงวิทย์ ดังน้ี

โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั

ชว่ งอายุ อายุ ๔ - ๖ ปี

ประสบการณ์สาคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้

- ดา้ นร่างกาย - เรื่องราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก
- ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ - เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อม

สาระการเรียนรู้ - ด้านสงั คม เด็ก
- ด้านสติปญั ญา - ธรรมชาตริ อบตวั

- สงิ่ ต่างๆรอบตวั เด็ก

- บูรณาการจักการเรียนการสอนแบบไฮสโคป
ในกจิ กรรมเสรี

จดั การศกึ ษา ๒ ภาคเรยี น : ๑ ปกี ารศึกษา
ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๒ อายรุ ะหว่าง ๔-๕ ปี

ระยะเวลาเรียน ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ อายรุ ะหวา่ ง ๕-๖ ปี

กาหนด ๒๐๐ วัน : ๑ ปี ใชเ้ วลา ๖ ช่ัวโมง : ๑ วัน

๓๐ ชว่ั โมง/สปั ดาห์

หมายเหตุ: ๓ - ๔ ปี มคี วามสนใจ ๘ - ๑๒ นาที
๔-๕ ปี มคี วามสนใจ ๑๒ - ๑๕ นาที
๕-๖ ปี มีความสนใจ ๑๕ - ๒๐ นาที

* กจิ กรรมที่ตอ้ งใชค้ วามคิดในกล่มุ เล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาต่อเนื่องนานเกินกวา่ ๒๐ นาที
* กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เช่น การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ใช้เวลา ๔๐ – ๖๐
นาที

๖.๑ ระยะเวลาเรียน
โรงเรียนนกิ รราษฎร์บารงุ วทิ ย์ กาหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ๒ ปี

การศึกษา โดยมีเวลาเรยี น ๒๐๐ วันตอ่ ปีการศึกษา แตล่ ะวนั เวลา ๖ ช่ัวโมง

ระดบั ชั้น กลุ่มอายุ เวลาเรยี น

อนบุ าล ๒ ๔ – ๕ ปี ๑ ปีการศกึ ษา (๔๐ สัปดาห์/๒๐๐ วนั )
อนบุ าล ๓ ๕ – ๖ ปี ๑ ปีการศึกษา (๔๐ สปั ดาห์/๒๐๐ วนั )

๖.๒ การกาหนดเวลาเรยี นต่อวัน อนบุ าล ๒ อนบุ าล ๓
ช่วั โมง ชั่วโมง (นาที) : วนั
ลาดับ กิจกรรมประจาวนั (นาท)ี : วนั
๒๐ นาที
๑ กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจังหวะ ๒๐ นาที ๓๐ นาที
๒ กิจกรรมเสริมประสบการณ์
๓๐ นาที

๓๑

๓ กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ ๓๐ นาที ๓๐ นาที

๔ กิจกรรมการเล่นตามมุม ๔๐ นาที ๔๐ นาที

๕ กิจกรรมกลางแจง้ ๔๐ นาที ๔๐ นาที

๖ เกมการศกึ ษา ๒๐ นาที ๒๐ นาที

รวม ๓ ชม. ๓ ชม.

๗ ทกั ษะพ้นื ฐานในชวี ติ ประจาวัน ๓ ชม. ๓ ชม.

(การช่วยเหลือตนเองในการรับประทาน

อาหารด่ืมนม สุขอนามัย และการนอน

พักผ่อน)

รวม ๖ ชม. / วนั ๖ ชม. / วนั
๑,๒๐๐ ชม./ปี ๑,๒๐๐ ชม./ปี

๖.๓ การกาหนดเวลาเรยี นตอ่ สัปดาห์

เวลาเรยี น

๖ กจิ กรรมหลัก อนุบาล ๒ อนุบาล ๓

ชวั่ โมง : สัปดาห์ ช่วั โมง : สปั ดาห์

กิจกรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ ๑ ช่ัวโมง ๔๐ นาที ๑ ชั่วโมง ๔๐ นาที

กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ ๒ ชวั่ โมง ๓๐ นาที ๑ ชว่ั โมง ๔๐ นาที

กจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์ ๒ ชว่ั โมง ๓๐ นาที ๒ ชว่ั โมง ๓๐ นาที

กจิ กรรมการเลน่ ตามมมุ ๓ ชั่วโมง ๒๐ นาที ๓ ชว่ั โมง ๒๐ นาที

กจิ กรรมกลางแจง้ ๓ ชว่ั โมง ๒๐ นาที ๓ ชัว่ โมง ๒๐ นาที

เกมการศึกษา ๑ ชว่ั โมง ๔๐ นาที ๑ ชว่ั โมง ๔๐ นาที

รวม ๑๕ ชม. ๑๕ ชม.

ทกั ษะพนื้ ฐานในชีวติ ประจาวัน ๑๕ ชม. ๑๕ ชม.
(ด่มื นม รับประทานอาหาร สขุ อนามัย และนอนพักผอ่ น)

รวมต่อสปั ดาห์ ๓๐ ชม. ๓๐ ชม.

รวมทั้งปกี ารศกึ ษา ๑,๒๐๐ ชม. ๑,๒๐๐ ชม.
(๔๐ สปั ดาห์ / ๒๐๐ วัน)

๖.๔ สาระการเรยี นรรู้ ายปี
สาระการเรียนรู้ เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ

เด็กทุกด้าน ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กาหนด สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย ประสบการณ์

สาคัญ และสาระทคี่ วรเรียนรู้ ดงั น้ี

๑. ประสบการณส์ าคญั
ประสบการณ์สาคญั เปน็ แนวสาหรบั ผู้สอนนาไปใช้ออกแบบการจัดประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้ ลง
มอื ปฏบิ ัติ และได้รบั การสง่ เสริมพฒั นาการครอบคลมุ ทุกดา้ น ดงั นี้

๓๒

๑.๑ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนเด็กได้มีโอกาส
พัฒนาการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ (กล้ามเน้ือแขน-ขา ลาตัว) กล้ามเนื้อเล็ก (กล้ามเนื้อมือ-นิ้วมือ) และการ
ประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาท (กล้ามเนื้อมือ-ประสานตา) ในการทากิจวัตร
ประจาวันหรือกิจกรรมต่างๆ และสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามัย สุขนิสัย และการ
รักษาความปลอดภัย ดังน้ี

ด้านร่างกาย ประสบการณ์สาคัญ ตวั อยา่ งประสบการณแ์ ละกิจกรรม

๑.๑.๑ การใช้ (1)การเคล่ือนไหวอยู่กับ ตบมือ ผงกศรีษะ เคลื่อนไหวไหล่ เอว มือและแขน

กล้ามเน้ือใหญ่ ท่ี มอื และน้วิ มือ เคาะเท้า เทา้ และปลายเท้าอยกู่ บั ท่ี

(2)ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว คลาน คืบ เดิน วิ่ง กระโดด สไลด์ ควบม้า ก้าว

เคลื่อนท่ี กระโดด เคลื่อนท่ีไปข้าวหน้า-ข้างหลัง ข้างซ้าย-ข้าง

ขวา หมุนตัว

(3)การเคลื่อนไหวพร้อม เคลื่อนไหวร่างกายพร้อมเชือก ผ้าแพร ริบบ้ิน วัสดุ

วสั ดอุ ุปกรณ์ อ่ืนๆ ที่เหมาะสมตามจินตนาการ เพลงบรรเลง คา

บรรยายของผูส้ อน

(๔) การเคล่ือนไหวท่ีใช้ เล่นเกมกลางแจ้ง เช่น ลิงชิงบอล ขว้างลูกบอล ถุง

การประสานสัมพันธ์ของ ทราย โยนลกู บอลหรอื วสั ดุอนื่ ลงตะกรา้ เตะบอล

การใชก้ ล้ามเน้ือใหญ่

ในการขว้างการจับ การ

โยน การเตะ

(๕) การเล่นเครื่องเล่น เล่นอิสระ เล่นเครื่องเล่นสนาม เล่นปีนป่าย โดน มุด

สนามอยา่ งอิสระ ลอกเครื่องเล่น ปั่นจักรยานสามลอ้

๑.๑.๒ การใช้ (๑) การเล่นเคร่ืองเล่น ต่อเลโก้ น้อตปักหมุด กระดานตะปู บล็อกไม้หรือ

กลา้ มเน้อื เล็ก สัมผัสและการสร้างส่ิง พลาสติก

ตา่ งๆจากแทง่ ไม้ บลอ็ ก

(๒) การเขียนภาพและ เขยี นภาพดว้ ยศรีเทียน สีไม้ สีจากวัสดุธรรมชาติ เล่น

เล่นกบั สี กบั สีน้า เชน่ เป่าสี พบั สี หยดสี ละเลงสี กลง้ิ สี

(๓) การป้นั ปัน้ ดนิ เหนียว ดินน้ามัน ปั้นแป้งโดว์

(๔) การประดิษฐ์ส่ิงต่างๆ สรา้ งชิน้ งานจากวสั ดุธรรมชาติหรือวสั ดทุ ีเ่ หลอื ใช้

ดว้ ยเศษวสั ดุ

(๕) การหยิบจับ การใช้ ใช้กรรไกรปลายมนตัดกระดาษหรือใบไม้ ร้อยดอกไม้

กรรไกร การตัด และการ และวัสดุ ต่างๆ ฉีก ตัด ปะ กระดาษหรือวัสดุ

รอ้ ยวสั ดุ ธรรมชาติ

๓๓

๑.๑.๓ การ (๑) การปฏิบัติตนตาม ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ทาความสะอาด

รักษ า สุขภา พ สุขอนามัย สุขนิสัยท่ีดีใน หลังจากเข้าห้องน้า ห้องส้วม รับประทานอาหาร

อนามัยท่ีดีส่วน กิจวัตรประจาวัน กลางวันครบห้าหมู นอกลางวัน ออกกาลังกาย ดูแล

ตน รักษาความสะอาดของใชส่ ่วนตัว

๑ .๑ .๔ ก า ร (๑) การปฏิบัติตนให้ เล่นเครื่องเล่นที่ถูกวิธี ล้างมือทุกคร้ังเม่ือสิ้นสุดการ

รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น กิ จ วั ต ร เล่นระวังรักษาและดูแลตนเองขณะเจ็บป่วย เช่น ปิด

ปลอดภยั ประจาวัน ปากไอในขณะเป็นหวดั ไม่ขย้ตี าในขณะตาแดง

(๒) การฟังนิทาน ฟังนิทาน เร่ืองราว เหตุการณ์ท่ีมีเน้ือหาเก่ียวกับการ

เ ร่ื อ ง ร า ว เ ห ตุ ก า ร ณ์ ป้องกันและรักษาความปลอดภัย เช่น การข้ามถนน

เก่ียวกับการป้องกันและ การรับของจากคนแปลกหน้า ของมีคม สัตว์มีพิษ

รักษาความปลอดภยั และอันตรายจากสารพษิ

(๓) การเล่นเครื่องเล่น เลน่ เครอื่ งเล่นสนามตามข้อตกลงอย่างถูกวิธี เช่น ปีน

อยา่ งปลอดภยั ป่าย โหน ลอด มุด คลาน ด้วยความระมัดระวัง รอ

คอยไมแ่ ย่งกันในการเลน่

(๔) เล่นบทบาทสมมุติ เล่นบทบาทสมมติการปฏิบัติตามกฎจราจร เช่นการ

เหตุการณต์ ่างๆ ข้ามถนน การซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ การคาดเข้ม

ขัดนิรภัย และการปฏิบัติตนเมื่อเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟ

ไหม้ แผ่นดนิ ไหว พายุ ฯลฯ และสรุปผลที่เกิดจากการ

เล่นบทบาทสมมติ

๑ .๑ .๕ ก า ร (๑) การเคลื่อนไหวเพ่ือ เคลื่อนที่ไปในทิศทางต่างๆ เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง

ต ร ะ ห นั ก รู้ ค ว บ คุ ม ต น เ อ ง ไ ป ใ น ทั่วบริเวณที่กาหนดในระดับสูง กลาง และต่า ที่การ

เก่ียวกบั ร่างกาย ทศิ ทาง ระดบั และพ้ืนที่ เคลื่อนทีห่ ลากหลายเชน่ มุม ลอด คลาน กล้ิง กระโด

ตนเอง (๒) การการเคล่ือนไหว การเดิน วิ่ง กระโดดหลบส่ิงกีดขางต่างๆ เช่น ล้อ

ข้ามส่ิงกีดขวาง รถยนต์ ถังน้ามัน ท่ีกั้นจราจร ห่วงฮูลาฮูป ส่ิงขิง

บล็อกไม้

๑.๒ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองท่ีเหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะที่เป็น
อัตลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใสการเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ได้พัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม สนุ ทรียภาพ ความรสู้ ึกท่ดี ตี อ่ ตนเอง และความเชอื่ ม่ันในตนเองขณะปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ งๆ ดงั น้ี

ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ ประสบการณ์สาคญั ตัวอย่างประสบการณแ์ ละกจิ กรรม

๑.๒.๑สนุ ทรียภาพ (๑) การฟังเพลง การร้อง ทาท่าทางเคล่ือนไหวร่างกายในลักษณะต่างๆ เช่น
ดนตรี เ พ ล ง แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง โยกตัว ส่ายสะโพก ตบมือ ย่าเท้า ตามจังหวะและ
ปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบเสยี งดนตรี เสียงเพลง เช่น เพลงบรรเลง เพลงตามสมัยนิยม

เพลงตามหน่วยประสบการณ์ เพลงที่สนใน เพลง
ประจาโรงเรยี น และเพลงพืน้ บา้ น

(๒) การเล่นเครื่องดนตรี เล่นเครื่องดนตรีประเภทต่างๆ หรือวัสดุ อื่นๆ

๓๔

ประกอบจังหวะ ประกอบจังหวะเชน่ เคาะ เขยา่ ตี

(๓) การเคล่ือนไหวตาม แสดงท่าทาง เคลื่อนไหวประกอบเสียงเพลง

เสยี งเพลง/ดนตรี เสียงดนตรีหรอื จังหวะชา้ เร็ว

(๔) การแสดงบทบาท เล่นและแสดงบทบาทสมมตเิ ปน็ ตวั ละครตามหน่วย
สมมติ ประสบการณห์ รอื นิทาน

(๕) การทากิจกรรมศิลปะ กิจกรรมศิลปะ เช่น วาดภาพระบายสี ปั้น รอย ฉีก
ต่างๆ ตัดปะ พบั เล่นกับสีน้า ประดิษฐ์เศษวสั ดุ

(๖) การสร้างสรรค์สิ่ง สร้างงานศิลปะตามความคิดสร้างสรรค์ในรูปแบบ

สวยงาม ต่างๆเช่น วาดภาพระบายสี ป้นั รอ้ ย ฉีกตดั ปะ พับ

๑.๒.๒ การเล่น (๑) การเลน่ อสิ ระ เล่นกับสีน้า ประดิษฐ์เศษวัสดุ การทาสวนถาด
และแสดงความคดิ เหน็ ต่อผลงานศิลปะ

เลน่ อิสระ การเล่นที่ใช้จินตนาการ เล่นสมมุติ การ
เล่นของเลน่ ในหอ้ งเรยี น บริเวณสนามกลางแจ้ง

(๒) การเล่นรายบุคคล เล่นเสรี เล่นอิสระในมุม เล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย
กลมุ่ ยอ่ ย และกลมุ่ ใหญ่ และกลุ่มใหญ่ เล่นร่วมกับเพ่ือน เล่นแบบร่วมมือ

และเล่นแบบสรา้ งสรรค์

(๓) การเล่นตามมุม เลน่ ตามมมุ เลน่ ในห้องเรียน เลน่ สมมตุ ิ
ประสบการณ์/มมุ เล่นตา่ งๆ

(๔) การเล่นนอกห้องเรยี น เล่นกลางแจ้ง เช่น เล่นเครื่องเล่นสนามรูปแบบ
ตา่ งๆ เล่นนา้ เลน่ ทราย การละเล่นพน้ื บ้าน

๑.๒.๓ คุณธรรม (๑) การปฏิบัติตนตามหลัก ทากิจกรรมทางศาสนาทว่ี ดั มัสยิด โบสถ์ ปฏิบัติตน

จรยิ ธรรม ศาสนาที่นบั ถอื ตามคาสอนของศาสนาท่ีนบั ถอื

(๒) การฟังนิทานเก่ียวกับ ฟังนิทาน เร่ืองราว เหตุการณเ์ กย่ี วกับความซื่อสัตย์

คณุ ธรรม จริยธรรม ความเมตรากรุณา มีน้าใจช่วยเหลือแบ่งปัน

ความเห็นอกเห็นใจความรับผิดชอบ ประหยัด

พอเพียง และความมินัย

(๓) การร่วมสนทนา และ ร่วมสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เร่ืองราว เหตุการณ์ นิทานเกี่ยวกับคุณธรรม

เชิงจริยธรรม จรยิ ธรรม ตามบริบทของชุมชนหรือกลุ่มเป้าหมาย

เฉพาะ

๑ .๒ .๔ ก า ร (๑) การพูดสะท้อน บอกเล่า ทาท่าทาง ที่เก่ียวข้องกับความรู้สึกของ

แ ส ด ง อ อ ก ท า ง ความรู้สึกของตนเองและ ตนเองและผู้อ่ืน ปรับเปลี่ยนความคิดหรือการ

อารมณ์ ผ้อู ื่น กระทาเมื่อมีสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหา พูดแสดง

ความรู้สึกหลังการทากิจกรรมศิลปะ แสดงสีหน้า

ท่าทาง บทบาทตามตวั ละคร

(๒) การเล่นบทบาทสมมติ เลน่ และแสดงบทบาทสมมติเป็นตวั ละครตามหน่วย

ประสบการณห์ รอื นิทาน

๓๕

(๓) การเคล่ือนไหวตาม แสดงท่าทาง เคล่ือนไหวประกอบเสียงเพลง

เสยี งเพลง/ดนตรี เสียงดนตรหี รือจังหวะช้าหรือเร็ว

(๔) การร้องเพลง/การพูด รอ้ งเพลงประกอบหน่วยการจัดประสบการณ์ หรือ

คาคล้องจอง เพลงท่ีสนใจอยา่ งสนุกสนาน

(๕) การทางานศิลปะ ทากิจกรรมศิลปะ เช่น วาดภาพระบายสี ปั้น ร้อย

ฉีกตัดปะ พบั เลน่ กบั สีนา้ ประดษิ ฐว์ ัสดุ

๑ .๒ .๕ ก า รมีอั ต (๑) การปฏิบัติกิจกรรม เล่น/ทางานอย่างอิสระตามความถนัดความสนใจ

ลักษณ์เฉพาะตน ต่างๆ ตามความสามารถ และความสามารถของตนเอง เช่น กิจกรรมศิลปะ

และเช่อื ว่าตนเองมี ของตนเอง กิจกรรมการเคลื่อนไหว กิจกรรมในกิจวัตร

ความสามารถ ประจาวัน(โดยเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการ

ตัดสินใจเลือกทากิจกรรมเอง บอกได้ว่าตนเองเป้

นอย่างไร ทาอะไรได้บ้าง บอกความเหมือน ความ

ต่างของตนเองและผู้อ่ืน และบอกความคิดของ

ตนเองได้วา่ “อยากเปน็ อะไรเมือ่ หนูโตข้ึน”)

๑.๒.๖ การเห็นอก (๑) การแสดงความยินดี แสดงความยินดีกับเพื่อนเม่ือเพื่อนมีความสุข เช่น

เหน็ ใจผู้อืน่ เมือ่ ผู้อื่นมีความสุข เห็นอก วันเกิด และแสดงความเห็นใจเพื่อนหรือผู้อ่ืน เช่น

เห็นใจเม่ือผู้อื่นเศร้าหรือ ชว่ ยเหลอื ปลอบโยนเม่อื เพ่ือนร้องไหห้ รือบาดเจ็บ

เสียใจ และการช่วยเหลือ

ปลอบโยนเม่ือคนอ่ืนได้รับ

บาดเจบ็

๑.๓ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กมีโอกาส
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและส่ิงแวดล้อมต่างๆรอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ทางสังคม
เชน่ การเลน่ การทางานกบั ผอู้ น่ื ฯลฯ การปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจาวนั การแกป้ ัญหาขอ้ ขัดแยง้ ตา่ งๆ ดังน้ี

ด้านสังคม ประสบการณ์สาคัญ ตัวอย่างประสบการณแ์ ละกิจกรรม

๑.๓.๑ การปฏิบัติ (๑) การช่วยเหลือตนเอง ทากิจวตั รประจาวันด้วยตนเอง เช่น แต่งตัว ล้าง

กิจวัตรประจาวัน ในกจิ วตั รประจาวัน มอื รับประทานอาหาร เข้าห้องส้วม

ด้วยตนเอง (๒) การปฏิบัติตนตาม นาวัสดุท่ีเหลือใช้มาสร้างช้ินงาน ใช้สิ่งของ

แนวทางหลักปรัชญาของ เครือ่ งใชอ้ ย่างประหยัดและพอเพียง เช่น ยาสีฟัน

เศรษฐกิจพอเพียง น้า วัสดุทางานศิลปะ

๑ .๓ .๒ กา รดูแ ล (๑) การมีส่วนร่วม รับผิดชอบหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย เช่น ดูแล

รักษ า ธ รร มชา ติ รั บ ผิ ด ชอ บ ดู แล รั ก ษ า รักษาความสะอาดห้องเรียน รดน้าต้นไม้ เก็บ

และสงิ่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อมท้ังภายในและ ขยะ นาวสั ดุท้องถ่ิน วัสดุเหลือใช้มาสร้างช้ินงาน

ภายนอกหอ้ งเรยี น ใช้น้า สิ่งของเคร่ืองใช้อย่างประหยัด คุ้มค่า เช่น

ดนิ สอ สี กระดาสี

๓๖

(๒) การใช้วสั ดุและส่ิงของ นาวัสดุที่เหลือใช้มาสร้างช้ินงาน ใช้ส่ิงของอย่าง
เคร่ืองใชอ้ ยา่ งคุม้ คา่ ประหยัด เช่น ดนิ สอ สี กาว กระดาษสี

(๓) การทางานศิลปะที่นา ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ จากวัสดุเหลือใช้ เช่น ขวดน้า

วัสดุส่ิงของเคร่ืองใช้ที่ใช้ พลาสตกิ กล่อง เศษผา้

แล้ว มาใช้ซ้าหรือแปรรูป แกนกระดาษ กระดาษสี ไมไ้ อศกรมี

แลว้ นากลบั มาใช้ใหม่

(๔) การเพาะปลูกและ ปลูกต้นไม้ ไมด้ อกไม้ประดบั ผกั สวนครัว ดูแลรด

ดูแลต้นไม้ น้าพรวนดิน เช่น เพาะถ่ัวงอก ปลูกผักบุ้ง

ต้นหอม

(๕) การเลีย้ งสตั ว์ เลี้ยงและดแู ลใหอ้ าหารสัตว์ เชน่ ปลา ไก่ นก

(๖) การสนทนาข่าวและ สนทนาเก่ียวกับเหตุการณ์ ผลกระทบที่เกิดจาก

เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ เ ก่ี ย ว กั บ ความเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่น ฝนตก น้าท่วม ฝนแล้ง ลมพายุ

ในชีวิตประจาวัน

๑.๓.๓ การปฏิบัติ (๑) การเลน่ บทบาทสมมติ เล่นบทบาทสมมติเกี่ยวกับ การไหว้ การทักทาย

ตามวัฒนธรรมท้อง การปฏิบตั ิตนในความเป็น และการปฏิบัติตนในวันสาคัญของไทย และ

ถ่ิ น ท่ี อ า ศั ย แ ล ะ คนไทย ความสาคัญของท้องถน่ิ

ความเปน็ ไทย (๒) การปฏิบัติตนตาม ทากิจกรรมในวันสาคัญ และ ประเพณีท้องถ่ิน

วัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีอาศัย ของตน

และประเพณีไทย

(๓) การประกอบอาหาร ทาอาหารง่ายๆตามหน่วยการจัดประสบการณ์

อาหารในท้องถิ่นหรืออาหารประจาภาคของ

ตนเอง

(๔) การศึกษานอกสถานท่ี วางแผน สารวจ ศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานท่ี

สัมภาษณ์บุคคลต่างๆบันทึกข้อมูล และนาเสนอ

ข้อมูล

(๕) การเล่นพื้นบ้านของ การละเล่นไทย เช่น มอญซ่อนผ้า งูกินหาง รีรี

ไทย ขา้ วสาร โพงพาง

๑ .๓ .๔ ก า ร มี (๑) การร่วมกาหนด มีส่วนร่วมในการกาหนดและจัดทาข้อตกลงของ

ปฏิสัมพันธ์ มีวินัย ข้อตกลงของหอ้ งเรียน หอ้ งเรยี น

มีส่วน ร่ วม แ ล ะ

บ ท บ า ท ส ม า ชิ ก (๒) การปฏิบัติตนเป็น ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงของห้องเรียนท่ีร่มกันกาหนด
ของสงั คม
สมาชกิ ทดี่ ีของหอ้ งเรียน เช่น เก็บของเลน่ ของใช้เขา้ ท่ี การเข้าแถวรบั ของ

๓๗

(๓) การให้ความร่วมมือ เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความเต็มใจทั้งรายบุคคล
ในการปฏิบัติกิจกรรม กลุม่ ยอ่ ย และกล่มุ ใหญ่
ตา่ งๆ

(๔) การดูแลห้องเรียน ดแู ลความสะอาดเรียบร้อยของหอ้ งเรยี น เช่น จัด

รว่ มกัน ของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ที่ เทขยะ รดน้าต้นไม้

(๕) การร่วมกิจกรรมวัน ปฏิบัติกิจกรรมเก่ียวกับวันสาคัญในสถานการณ์

สาคัญ จริงหรือสถานการณ์จาลองตามความเหมาะสม

และบรบิ ทของแตล่ ะสถานศึกษา

๑ .๓ .๕ ก า ร เ ล่ น (๑) การร่วมสนทนาและ สนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับ

และทางานแบบ แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เหตุการณ์ในนิทาน เรื่องราว และรับฟังความ

รว่ มมอื รว่ มใจ คิดเห็นของผู้อนื่

(๒) การเล่นและทางาน เล่นและทางานร่วมกันเป็นคู่ กลุ่มเล็ก หรือกลุ่ม

ร่วมกับผู้อน่ื ใหญ่

(๓) การทาศิลปะแบบ ทางานศิลปะร่วมกันเป็นกลุ่มอย่างมีเป้าหมาย

รว่ มมือ ร่วมกัน เช่น ปั้นดินน้ามัน วาดภาพ ตัดฉีกปะ

งานประดิษฐ์

๑ .๓ .๖ ก า ร (๑) การมีส่วนร่วมในการ ร่วมแสดงความคิดเห็นและนาเสนอความคิดและ

แ ก้ ปั ญ ห า ค ว า ม วธิ กี ารแก้ปญั หา ตัดสินใจเลือกวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องราว

ขดั แย้ง เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ

(๒) การมีส่วนร่วมในการ มสี ่วนรว่ มในการเสนอความคิด ตัดสินใจเลอื กวิธี

แกป้ ัญหาความขดั แยง้ แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิ ดขึ้นอ ย่างสัน ติวิธีใน

สถานการณท์ ่มี ีความขัดแย้ง

๑.๓.๗ การยอมรับ (๑) การเล่นและทา เล่นหรือทากิจกรรมต่างๆร่วมกับเพ่ือน เช่น

ใน ควา มเ หมือ น กจิ กรรมร่วมกับกล่มุ เพ่ือน กิจกรรมศิลปะ กิจกรรมการเล่นตามมุม เล่น

และความแตกต่าง ทราย และยอมรับความคิดของเพอื่ นที่ตา่ งไปจาก

ระหว่างบุคคล ตน

๑.๔ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้
เรียนรสู้ ่ิงต่างๆ รอบตวั ผ่านการมปี ฏสิ ัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม บุคคล และส่ือต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่

หลากหลาย เพือ่ เปดิ โอกาสให้เดก็ พัฒนาการใช้ภาษา จนิ ตนาการความคดิ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิด
เชิงเหตุผล การคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั สิ่งต่างๆ รอบตัว และมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นพ้นฐาน
ของการเรียนรูต้ อ่ ไป ดงั นี้

๓๘

ดา้ นสติปัญญา ประสบการณส์ าคญั ตัวอย่างประสบการณแ์ ละกิจกรรม

๑.๔.๑ การใชภ้ าษา (๑) การฟังเสียงต่างๆ ใน ฟังเสยี งต่างๆ รอบตวั และบอกเสียงที่ได้ยิน เช่น

ส่งิ แวดลอ้ ม เสียงหายใจ ลมพดั รถยนต์ คนเดนิ สัตว์ร้อง

(๒) การฟังและปฏิบัติ ฟังและปฏิบัติตามคาแนะนา เช่น การเล่นเกม

ตามคาแนะนา การเคล่ือนไหวตามคาบรรยาย รวมทั้งข้อตกลง

ในห้องเรียน

(๓) การฟังเพลง นิทาน ฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อยกลอน
คาคล้องจอง บทร้อย ง่ายๆ หรือเร่ืองราวต่างๆ
กรอง หรอื เรือ่ งราวตา่ งๆ

(๔) การพูดแสดง พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก ความต้องการ

ความคิด ความรู้สึก และ ในส่ิงต่างๆ ใช้คาถาม ใคร อะไร ทาไม อย่างไร

ความต้องการ ในสิง่ ทตี่ อ้ งการทราบ

(๕) การพูดกับผู้อ่ืน พูดเล่าข่าว เล่าประสบการณ์ หรือเร่ืองราว
เกี่ยวกับประสบการณ์ เก่ียวกับตนเอง หรือเหตุการณ์ประจาวัน เช่น
ขอ ง ต น เ อ ง หรื อ เ ล่ า ครอบครัวของฉนั
เรอ่ื งราวกับตนเอง

(๖) การพูดอธิบาย พูดบอกลักษณ์สิ่งของที่สังเกต เล่าข่าว เล่า
เ ก่ี ย ว กั บ สิ่ ง ข อ ง ประสบการณ์ เช่น กิจกรรมที่ทาในวันหยุด
เ ห ตุ ก า ร ณ์ แ ล ะ กิจกรรมท่ที าได้ดว้ ยตนเอง หรือทาร่วมกับเพ่ือน
คว า มสั มพั น ธ์ ขอ ง ส่ิ ง และครู หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลาดับหรือ
ตา่ งๆ ช่วงเวลา

(๗) การพูดอย่าง เล่าส่ิงท่ีกาลังเล่น กาลังทา พูดให้กาลังใจ

สรา้ งสรรค์ในการเลน่ และ ปลอบใจ คาแนะนา เพือ่ นในการเลน่ และทางาน

การกระทาต่างๆ อธิบายวธิ เี ลน่ ให้เพื่อนฟงั

(๘) การรอจังหวะที่ ตอบคาถามและมีมารยาทในการพูด เช่น ยกมือ
เหมาะสมในการพดู ก่อนพูดไมพ่ ดู แทรกในขณะทผี่ ูอ้ ื่นกาลงั พูด

(๙) การพูดเรียงลาดับคา เรียงคาพูดในสิ่งที่คิดเพื่ออธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
เพ่ือใชใ้ นการสอ่ื สาร เช่น พูดเล่าเรื่องจากภาพหรือเหตุการณที่พบ

๓๙

เห็น

(๑๐) การอ่านหนังสือ อ่านภาพ นิทาน อ่านป้ายและสัญลักษณ์ที่เด็ก
ภาพ นิทานหลากหลาย สนใจ อ่านนทิ านให้เพ่อื นฟงั
ประเภท/รปู แบบ

(๑๑) การอ่านอยา่ งอิสระ อ่านนิทานหรือหนังสือภาพที่สนใจอย่างอิสระ
ต า ม ล า พั ง ก า ร อ่ า น ตามลาพังในมุมหนังสือ อ่านร่วมกัน โดยครู
ร่วมกัน การอ่านโดยมีผู้ แนะนาส่วนต่างๆ ของหนังสือตั้งแต่ปกหน้า
ชี้แนะ จนถึงปกหลังแล้วเป็นผู้นาการอ่านโดยชี้คาใน

หนงั สอื จากซ้ายไปขวา เดก็ ช้ลี ะอ่านหนังสือตาม
ครพู รอ้ มกันอา่ นชี้แนะโดยครเู ป็นผ้นู าการอ่าน

(๑๒) การเห็นแบบอย่าง ดูตัวรูชี้คาและกวาดสายตาจากการอ่านหนังสือ

การอ่านทถ่ี กู ต้อง นิทาน ป้าย พร้อมบัตรคา แถบประโยค หรือ

แผนภูมเิ พลง

(๑๓) การสังเกตทิศ ดูตัวอย่างการกวาดสายตาอ่านตัวอักษร คา
ทางการอธิบายเก่ียวกับ และข้อความจากซ้ายไปขวา บนมาลา่ ง
ส่ิงของ เหตุการณ์ และ
คว า มสั มพั น ธ์ ขอ ง ส่ิ ง
ต่างๆ

(๑๔) การอ่านและชี้ ตัวอย่างการกวาดสายตาและช้ีคาอ่านข้อความ
ข้ อ ค ว า ม โ ด ย ก ว า ด หนังสือนิทาน แผนภูมิเพลงจากซ้ายไปขวา
สายตาตามบรรทัดจาก บรรทัดบนลงบรรทดั ล่าง
ซ้ายไปขวาจากบนลงลา่ ง

(๑๕) การสงั เกตตัวอักษร ชี้หรือบอกตัวอักษรบางตัวท่ีคุ้นเคยในช่ือตนเอง
ในชื่อของตน หรือคา นิทาน เพลง คาคล้องจอง ป้ายข้อความ สังเกต
ค้นุ เคย บัตรชื่อ นามสกุลตัวเองกับเพื่อนว่ามีอักษรตัว

ไหนเหมือนกัน

(๑๖) การสงั เกตตัวอักษร มองและชี้ตัวอักษรในคา ข้อความ ประโยค
ท่ีประกอบเป็นคาผ่าน นิทาน แผนภูมิเพลง ปริศนาคาทาย หรือ

๔๐

หรือเขยี นของผใู้ หญ่ ประโยคท่ีครูเขียน สังเกตทิศทางการเขียนตัว
พยัญชนะหรือคาที่คุ้นเคยของครู สังเกตการณ์
เขียนบนทรายหรือการเขียนในอากาศของครู
ขดดินน้ามันเป็นตัวพยัญชนะท่ีคุ้นเตย เช่น
พยญั ชนะต้นช่อื ของตนเอง

(๑๗) การคาดเดาคา วลี เลน่ เดาคาบางคาทค่ี ุน้ เคยในหนงั สอื นทิ าน เพลง
ห รื อ ป ร ะ โ ย ค ท่ี มี คาคลอ้ งจอง เล่นเดาพยญั ชนะที่หายไปจากคาที่
โครงสร้างซ้าๆ กัน จาก คุ้นเคย เล่นเปล่ียนคาบางคาในประโยคท่ีมี
นิทาน เพลง คาคล้อง โครงสรา้ งซา้ ๆ บันทึกคาพดู เด็ก
จอง

(๑๘) การเล่นเกมทาง เล่นเกม ทางภาษาต่างๆ เช่น หาภาพกับ
ภาษา สัญลักษณ์จับคู่คากับภาพ หาตัวอักษรหรือคา

บางคาจากนิทานต่อเติมตัวอักษรลงในบัตรคา
บงิ โกภาษา ลอตโตพยญั ชนะกบั คาวาดภาพและ
แต่งเรื่องราวท่มี ีโครงเรอื่ งเดียวกับนทิ าน

(๑๙) การเห็นแบบอย่าง สังเกตตัวอย่างการเขียนของครูในโอกาสต่างๆ
ของการเขยี นท่ีถูกตอ้ ง เช่น เขียนข้อตกลงช้ันเรียน เขียนประกาศวัน

สาคญั เขียนวันที่ เดอื น ปี คาบรรยายใต้ผลงาน
ศิลปะของเด็ก เขียนบันทึกของเด็ก สังเกต
ตวั อักษรหรอื สัญลักษณ์ เช่น ป้ายชื่อครู ป้ายช่ือ
ตนเอง ปฏิทนิ ในชวี ิตประจาวนั

(๒๐) การเขียนร่วมกัน เขียนร่วมกับครู เลียนแบบการเขียนของครู

ตามโอก าส และ ก าร รว่ มกับครูลอกตัวอักษรหรือสัญลักษณ์จากบัตร

เขียนอิสระ คาลงในสมดุ นทิ าน

(๒๑) การเขียนคาที่มี เขียนชื่อตนเอง เขียนคาที่คุ้นเคย เขียน

ความหมายกับตัวเด็ก / สญั ลักษณ์จากการอ่านนิทานเรอื่ งราว เน้ือเพลง

คาคุ้นเคย ป้ายสัญลักษณ์ต่างๆ ร่วมกัน เขียนคาแต่งป้าย

นิเทศ เขียนชอื่ ติดช้ันวางของส่วนตัว

๔๑

(๒๒) การคิดสะกดคา เขียนคาง่ายๆ ประกอบภาพตามความสนใจ

แ ล ะ เ ขี ย น เ พ่ื อ สื่ อ เขียนชื่อตนเอง เขียนบัตรอวยพรโอกาสต่างๆ

ความหมายด้วยตนเอง เขียนภาพนิทานหรือเรื่องนิทานอย่างอิสระตาม

อย่างอสิ ระ ความสนใจหรือความต้องการของเด็กไม่ใช่

กาหนดโดยครู การคิดสะกดคาและเขียนอิสระ

ของเด็กจึงมีการเขียนแบบลองผิดลองถูกของ

เด็กเองซึ่งครูต้องไม่ตาหนิ/ลงโทษเม่ือเด็กเขียน

ผิด

๑.๔.๒ การคิดรวบ (๑) การสังเกตลักษณะ - ใช้ประสารทสัมผัสในการสังเกตและบอก

ย อ ด ก า ร คิ ด เ ชิ ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ลักษณะหรือส่วนประกอบของส่ิงต่างๆ เช่น
เหตุผลการตัดสินใจ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ ร่างกายของตนเอง สตั ว์ พชื ส่งิ ของเคร่ืองใช้ ดิน
น้า ทอ้ งฟ้า บรเิ วณตา่ งๆ
และแกป้ ญั หา คว า มสั มพั น ธ์ ขอ ง สิ่ ง -สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของส่ิงต่างๆ
ต่างๆ โดยใช้ประสาท
เช่น การเปล่ียนแปลงของร่างกายมนุษย์ สัตว์
สมั ผสั อย่างเหมาะสม พืช เม่ือเจรญิ เติบโต การเปลีย่ นแปลงของลมฟ้า

อากาศ การเปล่ียนแปลงของวัตถุและสิ่งของ

เครือ่ งใช้
-สังเกตและบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ เช่น

การนาส่ิงต่างๆมาใช้ประโยชน์ ความสัมพันธ์
ระหวา่ งการกระทาบางอยา่ งกบั ผลท่เี กิดขึ้น เช่น
ถ้ารับประทานอาหารแล้วไม่แปรงฟันฟันจะผุ

ถ้าใส่น้าตาลลงไปในน้าแล้วน้าตาลจะละลาย ถ้า
ปล่อยส่งิ ของจากทส่ี งู แลว้ สง่ิ ของจะตกลงมา

(๒) การสังเกตส่ิงต่างๆ สังเกตสิ่งของ หรือสารวจสถานที่ต่างๆ หรือ

และสถานที่จากมุมมองท่ี เล่นปีนป่ายเคร่ืองเล่นสนามลอดอุโมงค์ และ

ต่างกนั บอกหรือวาดภาพเกี่ยวกับลักษณะ พ้ืนท่ี ระยะ

ตาแหน่งของส่งิ ของ สถานที่ หรือเคร่ืองเล่นจาก

มุมมองต่างๆ

(๓) การบอกและแสดง - สารวจสิง่ ตา่ งๆทีอ่ ยู่ในบรเิ วณหนงึ่ เช่น สิ่งของ

ตาแหนง่ ท่ีอยู่บนโต๊ะ ส่ิงของท่ีอยู่ในห้อง และบอกหรือ

วาดภาพแสดงตาแหน่ง ทิศทางหรือระยะทาง

ของสิง่ นั้นๆ

- สารวจสถานที่ต่างๆ ภาพถ่าย ภาพวาด หรือ

เขียนแผนผังสถานที่นั้นๆแล้วนารูปมาอธิบาย

ตาแหนง่ ทิศทาง หรือระยะทางของสถานีท่ี

๔๒

- เลน่ เกมเกีย่ วกับมิติสัมพันธ์ เช่น วางส่ิงของใน
ตาแหน่งที่กาหนด บอกช่ือส่ิงของที่อยู่ใน
ตาแหน่งที่กาหนด บอกตาแหน่ง ทิศทางหรือ

ระยะทางของสิ่งของท่ีกาหนด ใช้ร่างกาย
เคล่ือนท่ีไปยังตาแหน่งหรือไปตามทิศทางที่

กาหนด

(๔) การเล่นกับสื่อต่างๆ - เล่น สารวจ จาแนกและบอกลักษณะสิ่งของ

ที่ เ ป็ น ท ร ง ก ล ม ท ร ง รอบตัวที่มีลักษณะเหมือนหรือคล้ายทรงกลม
สี่ เ ห ล่ี ย ม มุ ม ฉ า ก ทรงกระบอก ทรงสี่เหลี่ยมมมุ ฉาก และกรวย
- เล่นสารวจบอกสิ่งของรอบตัวที่มีลักษณะ
ทรงกระบอก ทรงกรวย เห มื อ น ห รื อ คล้ า ย ภ า พ ว ง ก ล ม ส่ี เ ห ลี่ ย ม

สามเหลี่ยม วงรี

- เล่นเกมจาแนกภาพหรือส่ิงของท่ีมีลักษณะ
เหมือนหรือคล้ายวงกลม สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม

และวงรี
- ป้ันดินน้ามันเป็นทรงกลม ทรงกระบอก ทรง
ส่ีเหล่ียม กรวย และตัดตามแนวนอน แนวตั้ง

แนวเฉยี ง นาส่วนหน้าตัดไปพมิ พ์ภาพ
- วาดภาพ พับ ตัด ต่อเติมภาพ จากรูปวงกลม

ส่ีเหลย่ี ม สามเหลยี่ ม วงรี

(๕) การคัดแยก การจัด คัดแยก จาแนก จัดกลุ่มสิ่งต่างๆ ตามลักษณะ

กลุ่ม และการจาแนกส่ิง รูปร่าง รูปทรง หรือตามเกณฑ์ต่างๆ ท่ีกาหนด

ต่างๆ ตามลักษณะและ เช่น สัตว์ ผลไม้ ใบไม้ ดอกไม้ ดิน หิน ของเล่น

รปู รา่ ง รปู ทรง ส่ิงของเครื่องใชร้ อบตวั

(๖) การต่อของชิ้นเล็ก - เล่นต่อ หรือประกอบชิ้นส่วนของของเล่นช้ิน
เตมิ ในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ เล็กให้เป็นชิ้นใหญ่ท่ีสมบูรณ์ตามเงื่อนไขท่ี
และการแยกช้นิ สว่ น กาหนดหรืตามจินตนาการ เช่น จิ๊กซอว์ไม้หมุด

จิ๊กซอว์รูปภาพ ภาพตัดต่อ ตัวต่อ บล็อก และ
แยกชิ้นสว่ นของเลน่ เก็บเข้าที่

- ประดิษฐช์ ิ้นงานจากวสั ดุต่างๆ ทีเ่ ป็นช้ินเล็กให้
เป็นชิ้นใหญ่ เช่น ร้อยลูกปัด ร้อยดอกไม้ ร้อย

วัสดุตา่ งๆ สร้างภาพจากวัสดุธรรมชาติหรือเศษ
วัสดุรอบตวั

๔๓

(๗) การทาซา้ การตอ่ เติม - สารวจหารูปแบบจากส่ิงต่างๆ เช่น ลวดลาย

และการสรา้ งแบบรูป บนเส้ือผ้าหรือส่ิงของเครื่องใช้ ลวดลายบน
กระเบื้องปูพ้ืนหรือผนังห้องในเรื่องสี ลวดลาย

ขนาด รูปร่าง รูปทรง และแบบรูปจากท่าทาง

เสยี ง

- วางแบบรูปใหเ้ หมือนต้นแบบ หรือต่อเติมจาก

ทกี่ าหนด หรือสร้างแบบรูปใหม่ขึ้นเอง โดยการ

เล่นเกมใช้ของจริง เช่น วางบล็อก ไม้ไอศกรีม

ใบไม้ เปลือกหอย ฝาขวด หรือวัสดุอื่นๆ ให้เป็น

แบบรูป และโดยการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ

ภายใต้เงื่อนไขท่ีกาหนด เช่น ร้อยลูกปัด ร้อย

ดอกไม้ ทาโมบาย ทาท่าทาง สรา้ งเสยี ง

(๘) การนับและแสดง - ร้องเพลงหรือท่องคาคล้องจองที่เก่ียวกับชื่อ

จานวนของส่ิงต่างๆ ใน เรียกจานวน
- นับปากเปล่าในกิจวัตรประจาวัน เช่น นับ
ชีวิตประจาวัน ขณะที่รอการเข้าแถวหรือนั่งที่ให้เรียบร้อย นับ

เพอื่ ให้เวลากับการเก็บของเข้าท่ี นับเพื่อเตรียม

ตัวออกจากจุดเริ่มต้นขณะเล่นเกม นับส่ิงต่างๆ

เช่น นับเพ่ือนในกลุ่ม นับขนมในจาน นับของ

เล่น นบั สิ่งของเครอื่ งใช้

- หยิบหรือแสดงสิ่งต่างๆตามจานวนที่กาหนด

เชน่ หยบิ จาน แกว้ น้า ผลไม้ ดินสอ ดินนา้ มนั

(๙) การเปรียบเทียบและ - เปรียบเทียบจานวนของส่ิงต่างๆ เช่น จานวน

เรียงลาดับจานวนของส่ิง เดก็ ชายกับเด็กหญิง จานวนขนมกับจานวนเด็ก
ต่างๆ จานวนเด็กกับจานวนเก้าอี้ หรือจานวนแก้วกับ

จานวนยาสีฟนั โดยใช้การจับคู่กันและสังเกตว่า

เทา่ กันหรือไม่เทา่ กนั มากกวา่ หรือนอ้ ยกว่า

- เรียงลาดับจานวนของส่ิงต่างๆ เช่น จาแนก

ชนิดของบลอ็ กแล้วนามาเรียงลาดับจานวน โดย

การจับคู่หน่ึงต่อหนึ่งและวางบล็อกแต่ละชนิด

เรียงเป็นแถวเพื่อเรียงลาดับ สารวจและเก็บ

ดอกไม้หรอื ใบไม้ชนดิ ตา่ งๆมาเรียงลาดบั จานวน

(๑๐) การรวมและการ - นาส่ิงต่างๆสองกลุ่มมารวมเข้าด้วยกัน แล้ว

แยกสิง่ ต่างๆ บอกจานวนท่ีเกิดจากการรวมของส่ิงน้ัน เช่น
รวมคนสองกลุ่มเข้าด้วยกันแล้วนับและบอก

จานวนทงั้ หมด นาบลอ็ กสองกองมารวมกันแล้ว

นับแล้วบอกจานวนทง้ั หมด

- แยกกลุ่มย่อยของส่ิงต่างๆ ออกจากกลุ่มใหญ่

๔๔

แล้วบอกจานวนท่ีเหลือในกลุ่มใหญ่ เช่น แยก

คนจานวนหน่ึงออกจากกลุ่มใหญ่แล้วนับและ

บอกจานวนคนท่ีเหลือในกลุ่มใหญ่ แบ่งขนมให้

เพ่ือนแล้วนับและบอกจานวนท่ีเหลือในจาน

หยิบสีเทียนจานวนหน่ึงออกจากกล่องแล้วนับ

จานวนสีเทียนที่เหลอื ในกล่อง

(๑๑) การบอกและแสดง - บอกอนั ดบั ที่ตนเองหรอื เพือ่ นยนื อยูใ่ นแถว

อันดับที่ของสงิ่ ตา่ งๆ - ช้ี หยบิ หรอื วางสิ่งของตามอันดบั ทีท่ ก่ี าหนด
- สนทนาและบอกเก่ียวกับอันดับที่ใน

ชีวิตประจาวนั หรอื ในกิจกรรม เช่น เป็นลูกคนที่

เท่าไหร่ของครอบครัว ใครมาถึงโรงเรียนอันดับ

ท่ีหน่ึง อันดับท่ีสอง อันดับท่ีสาม บอกอันดับที่

การเลอื กมุมเลน่ เชน่ หนเู ลอื กเล่นมุมบล็อกเป็น

กจิ กรรมที่หนง่ึ หรอื สอง

(๑๒) ลงข้อสรุปส่ิงท่ี - เล่นในมุมบ้านหรือเล่นบทบาทสมมติร้านขาย

คน้ พบหรอื ส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ ของ ชัง่ น้าหนกั สิง่ ตา่ งๆ เช่น ผลไม้ ขนม โดยใช้
ตาช่ังสองแขนอย่างง่ายและใช้วัสดุที่มีรูปร่าง

ขนาดและน้าหนักเท่ากันเป็นหน่วยในการช่าง

นา้ หนัก เช่น ไมบ้ ลอ็ ก ลูกแก้ว เหรยี ญ

- เลน่ ตวงทรายหรือนา้ โดยใช้ภาชนะต่างๆ เช่น

ชอ้ น แกว้ ขวด และบอกปริมาตรของทรายหรือ

น้าท่ีตวงตามจานวนของภาชนะท่ีใช้เป็นหน่วย

ในการตวง

- วัดความยาวหรือความสูงของส่ิงต่างๆโดย

เลือกใช้ส่ิงที่มีขนาดเท่ากันนพมาต่อกัน เช่น

บล็อก ลวดเสียบกระดาษ หลอด ไม้ไอศกรีม

หรือส่วนของร่างกาย เช่น ส่วนสูง แล้วบอก

ความยาวหรือความสูงตามจานวนของสิ่งของท่ี

นามาใชเ้ ป็นหน่วยในการวดั

(๑๓) การช่ัง ตวง วัดสิ่ง - จับคู่สิ่งต่างๆตามลักษณะท่ีสัมพันธ์กันหรือ

ต่างๆ โดยใช้เครื่องมือ ตามที่กาหนด เช่น จับคู่ส่ิงของที่เป็นของจริงท่ี
แ ล ะ ห น่ ว ย ท่ี ไ ม่ ใ ช่ ใช่รว่ มกนั เช่น ช้อนกับสอ้ ม จบั คู่สิ่งที่เหมือนกัน
เช่น ของเล่นท่ีมีลักษณะเหมือนกัน จับคู่ส่ิงที่
มาตรฐาน แตกต่างกัน เช่น บล็อกที่แตกต่างกันเด็กผู้หญิง

กับเด็กผู้ชาย จับคู่ภาพกับเงา จับคู่สัญลักษณ์

ตวั เลขกับสงิ่ ของท่มี ีจานวนตรงกบั ตัวเลขนั้น

- เปรียบเทียบและบอกความเหมือนและความ

แตกต่างของลักษณะของสิ่งของสองส่ิง เช่น สี

๔๕

รูปรา่ ง ผวิ สัมผัส สว่ นประกอบของผลไม้ ดอกไม้
ต้นไม้ ใบไม้ สตั ว์ วัตถุหรอื ส่งิ ของเครื่องใช้
- เปรยี บเทียบความยาวหรือความสูงของสิ่งของ
สองสิ่งที่มีความยาวหรือความสูงแตกต่างกัน
ชัดเจน
- เปรยี บเทยี บของสองชิ้นที่มีน้าหนักแตกตา่ งกัน
อยา่ งชดั เจน เชน่ ลูกฟุตบอลกับลูกเทนนิส ขวด
ท่ใี ส่น้าเตม็ ขวดกับขวดเปล่า โดยลองยกด้วยมือ
แล้วบอกว่าสิ่งของชิ้นใดหนกั หรอื เบากว่า
- สังเกตปละเปรียบเทียบปริมาตรของส่ิงของ
เช่น ทราย น้า แป้ง ท่ีอยู่ในภาชนะท่ีมีรูปร่าง
เหมือนกัน ขนาดเท่ากันสองใบว่าสิ่งของใน
ภาชนะใบไหนมีปริมาตรมากกว่าหรือน้อยกว่า
โดยดจู ากความสูงของส่งิ ของในภาชนะ
- เรียงลาดับความยาวหรือความสูง น้าหนัก
ปริมาตรของส่งิ ของแตล่ ะชนิดต้ังแต่ ๓ ส่ิงข้ึนไป
เช่น เรี ยง ลาดับความสูง ของ เด็ก ๓ คน
เรยี งลาดบั ของนา้ หนักผลไม้ ๓ ชนิด เรียงลาดับ
ปริมาตรของนา้ ท่ีอยใู่ นภาชนะ ๓ ใบ
(๑๔) การบอกและ เชอ่ื มโยงเวลากับการกระทาและเหตกุ ารณ์ต่างๆ

เรียงลาดับกิจกรรมหรือ เช่น ทบทวนกิจวัตรประจาวันและกิจกรรม

เหตกุ ารณต์ ามช่วงเวลา ประจาวันตามลาดับเวลา เล่นเกมเรียงลาดับ

เหตุการณ์ตามช่วงเวลา เช่น กลางวัน กลางคืน

กอ่ น หลัง เช้า บา่ ย เย็น เมอื่ วานนี้ วนั นี้ พรุ่งนี้

(๑๕) การใช้ภาษาทาง - สังเกตเงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆเล่น

คณติ ศาสตรก์ บั เหตกุ ารณ์ เกมจาแนกชนิดของเงินเล่นเกมขายของ จัด
กิจกรรมตลาดนัดให้เด็กโดยฝึกการใช้เงินซ้ือ
ในชวี ิตประจาวนั
และทอนเงิน

- สนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเหตุการณ์ใน

ชีวิตประจาวันจากเหตุการณ์จริงเร่ืองเล่า หรือ

นิทาน โ ดยใ ช้ภาษาทาง ค ณิตศาสตร์ ใ น

เหตุการณ์ตา่ งๆ เช่น จานวนเท่าไหร่ เท่ากัน ไม่

เท่ากนั มากกว่า น้อยกว่า มากที่สุด น้อยที่สุกด

คนที่ อันดับที่ หรือลาดับท่ี รวมกัน ท้ังหมด

มากข้ึนหรือเพ่ิมข้ึน หรือเยอะข้ึน แบ่งกันหรือ

แยกกัน น้อยลงหรือลดลง เหลือ สั้น ยาว สูง

เตี้ย ต่า หนัก เบา หนักกว่า เบากว่า หนักท่ีสุด


Click to View FlipBook Version