หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ก หลักสูตรโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ก ประกาศโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ เรื่อง ใหใชหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์พุทธศักราช ๒๕๖๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ปรับปรุงตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) เพื่อให้ก า รจัด ก า รศึกษ าขั้นพื้น ฐ านของโ รงเ รียนนิก ร ร าษฎ ร์บ า รุง วิทย์ ส า นั กง านเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ สนองนโยบาย คุณธรรมน าความรู้ ตอบสนองความต้องการของ ผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่นและสังคม โรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ได้ด าเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม ตามค าสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และค าสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๓๐/๒๕๖๑ เรื่องให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยก าหนดให้สถานศึกษาด าเนินการมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการหลักสูตรให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน โดยมีการด าเนินการตรวจสอบทบทวนปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช ๒๕๖๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ทั้งนี้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (นายจ านงค์ อ่อนแย้ม) (นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทย) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อ านวยการ โรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ โรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ข ค าน า หลักสูตรโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้จัดท าขึ้นตามแนวทางที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และเป็นไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งก าหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดท าสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตาม หลักการ จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนด เพื่อตอบสนองต่อความต้องการในส่วนที่ เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชนเป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และได้ด าเนินการปรับปรุงตามค าสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 สั่ง ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ค าสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 30/2561 เรื่องให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 โดยก าหนดให้สถานศึกษาด าเนินการน ามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการหลักสูตรให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน ในสาระส าคัญดังนี้ รายวิชาหน้าที่พลเมือง และหลักสูตรต้านทุจริตสถานศึกษาด าเนินการบูรณาการในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 หลักสูตรโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ด้วยความร่วมมือจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วม ด าเนินการทางโรงเรียนจึงขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้ (นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทย) ผู้อ านวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ 11 พฤษภาคม 2566
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ค สารบัญ หน้า ประกาศโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ เรื่อง ใหใชหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ก ค าน า ข สารบัญ ค ส่วนน า 1 ปรัชญา 2 วิสัยทัศน์ 2 พันธกิจ 2 เป้าประสงค์ 2 กลยุทธ์ 2 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4 มาตรฐานการเรียนรู้ 6 ตัวชี้วัด 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 7 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 15 โครงสรางเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา 15 โครงสรางหลักสูตรชั้นปี 17 โครงสรางรายวิชา 23 ค าอธิบายรายวิชา 27 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 27 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 40 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 56 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 69 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 86 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 95 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 102
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ง สารบัญ (ต่อ) หน้า ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 108 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 117 ค าอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 125 เกณฑ์การจบการศึกษา 134 เกณฑ์การจัดการเรียนรู้ 134 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 137 เอกสารหลักฐานการศึกษา 140 การเทียบโอนผลการเรียนรู้ 140 การบริหารจัดการหลักสูตร 141 ภาคผนวก 142 ค าสั่งแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) 149
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 1 ส่วนน า ความน า สืบเนื่องจากการที่กระทรวงศึกษาธิการ โดยส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ด าเนินการ ทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อปรับปรุงเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและ ลดความซ้ าซ้อนในเนื้อหาวิชา โดยได้ก าหนดค าสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 สั่ง ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) ค าสั่ง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 30/2561 เรื่องให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 โดยก าหนดให้สถานศึกษาด าเนินการน ามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไปสู่การปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการหลักสูตรให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียนโดยในปีการศึกษา 2566 ก าหนดให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทุกชั้นเรียน โรงเรียนวัดคลอง ชัน จึงด าเนินการการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 ในประเด็นต่อไปนี้ 1. น ามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มาปรับปรุงโครงสร้าง หลักสูตรสถานศึกษา (โครงสร้างเวลาเรียนและโครงสร้างหลักสูตรชั้นปี) และน าเสนอค าอธิบายรายวิชาในกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 2. ปรับชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ (1) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เปลี่ยนชื่อเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เปลี่ยนชื่อเป็น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 3. รายวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ก าหนดเป็นรายวิชาพื้นฐาน 120 ชั่วโมง และ รายวิชาเพิ่มเติม 40 ชั่วโมง ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 4. รายวิชาหน้าที่พลเมือง และหลักสูตรต้านทุจริต สถานศึกษาด าเนินการบูรณาการในรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปรัชญา มีความสุขในการเรียนรู้ มุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 2 วิสัยทัศน์ ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาบนพื้นฐานการบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการพัฒนา คุณภาพอย่างยั่งยืน พันธกิจ 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2. พัฒนาการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 3. พัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. พัฒนาแหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ 5. จัดหา พัฒนา และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน 6. สร้างสื่อนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา 7. ส่งเสริมให้ชุมชน องค์กร มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ 3. สถานศึกษาเป็นแบบอย่างในด้านการจัดการเรียนการสอนและการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ชุมชน องค์กรภายนอกช่วยส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาให้สถานศึกษามีคุณภาพอย่างยั่งยืน 4. เป็นโรงเรียนต้นแบบในด้านการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย จิตส านึกของผู้เรียนและเสริมสร้างทักษะในการด าเนินชีวิตใน สังคมอย่างมีความสุข 3. ส่งเสริมกิจกรรมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห์และทักษะที่จ าเป็น เข้าใจหลัก ศาสนา รักษาสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญา และประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้เป็นครูมืออาชีพ มีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัด การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา 5. บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ประสานความร่วมมือกับชุมชนและองค์กรภายนอก สนับสนุนให้มี การจัดสภาพแวดล้อมที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน 6. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสร้างสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 3 สมรรถนะส าคัญของผูเรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร ผูเรียนสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมการใชภาษาถ่ายทอด ความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะ เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณ อันเป็นประโย ชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม ดวยหลักเหตุผลและความถูกตองตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด ผูเรียนสามารถคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดอยางสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณ และคิดเปนระบบ เพื่อน าไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก ปญหา ผูเรียนสามารถแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญ ไดอยางถูกตองเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรูประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ผูเรียนสามารถน ากระบวนการตาง ๆ ไปใชด าเนินชีวิตประจ าวัน เรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง การท างาน และอยูรวมกันในสังคมดวยความสัมพันธอันดี จัดการปญหาและความ ขัดแยงตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และรูจักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ผูเรียนสามรถเลือกใชเทคโนโลยี และมีทักษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรูการสื่อสาร การท างานการแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสูตรโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติศาสน์กษัตริย์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติธ ารงไว้ซึ่งความ เป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ที่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือและแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 4 ตัวชี้วัด 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ 1.2 ธ ารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย 1.3 ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกต้องประพฤติ ตรงตามความเป็น จริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการด าเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระท าผิด ตัวชี้วัด 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งกาย วาจา ใจ 2.2 ประพฤติตรงตามเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ 3. มีวินัย มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฏเกณฑ์และระเบียบข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียน และสังคม ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฏเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม เป็นปกติวินัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตัวชี้วัด 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฏเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม 4. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรียนและเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ าเสมอ ด้วยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็น องค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวันได้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 5 ตัวชี้วัด 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง เหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. อยู่อย่างพอเพียง อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการด าเนินชีวิต อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ด าเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับ ผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกันความเสี่ยงและ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัด 5.1 ด าเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม 5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการท างาน มุ่งมั่นในการท างาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการท าหน้าที่การ งาน ด้วยความเพียรพยามยาม อดทน เพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมายผู้ที่มุ่งมั่นในการท างาน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่ง แสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยามยาม ทุ่มเทก าลังกาย ก าลังใจ ในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้ส าเร็จลุล่วง ตามเป้าหมายที่ก าหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน ตัวชี้วัด 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน 6.2 ท างานด้วย ความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานส าเร็จตามเป้าหมาย 7. รักความเป็นไทย รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์ สืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ผู้ที่รักความเป็นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยใน การสื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 6 ตัวชี้วัด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 7.3 อนุรักษ์ และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 8. จิตสาธารณะ มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน ผู้ที่มีจิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อท า ประโยชน์แก่ส่วนร่วม เข้าใจ เห็นในผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสรรค์ สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ตัวชี้วัด 8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน 8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องค านึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงก าหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ภาษาไทย 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 2. คณิตศาสตร์ 6. ศิลปะ 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. การงานอาชีพ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 8. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายส าคัญของการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกส าคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนา การศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และ ประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการ ประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งส าคัญที่ช่วยสะท้อนภาพ กา รจัดกา รศึกษ าว่ าส ามา รถพัฒนาผู้เ รียนให้มีคุณภ าพต ามที่มาต รฐ านก ารเ รียน รู้ก าหนดเพียงใด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่ง สะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม น าไปใช้ ในการก าหนดเนื้อหา จัดท าหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์ส าคัญส าหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบ คุณภาพผู้เรียนตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) หลักสูตรได้มีการก าหนดรหัสก ากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจและให้สื่อสารตรงกัน ดังนี้ ว 1.1 ป.1/2 ป.1/2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ 1 ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ง 2.1 ป.6/1 ป.6/1 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ข้อที่ 1 1.1 สาระที่ 2 มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ 1 ง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซึ่งก าหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจ าเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ดังนี้ ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่าภูมิปัญญา ไทย และภูมิใจในภาษาประจ าชาติ คณิตศาสตร์: การน าความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา การด าเนินชีวิต และ ศึกษาต่อ การมีเหตุมีผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: การน าความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ จิตวิทยาศาสตร์และการใช้ เทคโนโลยี
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 8 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรักชาติและภูมิใจในความเป็น ไทย สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยของตนเองและผู้อื่น การป้องกันและปฏิบัติต่อ สิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและทักษะในการด าเนินชีวิต ศิลปะ : ความรู้และทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่าทาง ศิลปะ การงานอาชีพ : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการท างาน การจัดการการด ารงชีวิต การประกอบอาชีพ ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารการแสวงหา ความรู้ และการประกอบอาชีพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จ านวน 55 มาตรฐาน ดังนี้ ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อน าไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการด าเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทย อย่างเห็น คุณค่าและน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 9 คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จ านวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวน ผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ล าดับและอนุกรม และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วย แก้ปัญหาที่ ก าหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ น าไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 2.3 เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และน าไปใช้ มาตรฐาน ค 2.4 เข้าใจเวกเตอร์ การด าเนินการของเวกเตอร์ และน าไปใช้ (หมายเหตุ: มาตรฐาน ค 2.3 และ มาตรฐาน ค 2.4 ส าหรับผู้ที่ต้องการเรียนคณิตศาสตร์เป็น พื้นฐานในการศึกษาต่อ) สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และน าไปใช้ สาระที่ 4 แคลคูลัส มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน และปริพันธ์ของ ฟังก์ชันและน าไปใช้ (หมายเหตุ: มาตรฐาน ค 4.1 ส าหรับผู้ที่ต้องการเรียนคณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน ระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การล าเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ท างานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กันรวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 10 มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความส าคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจ าวัน ผลของแรงที่กระท าต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลกรวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย ค านึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงค านวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การท างาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 11 มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธ ารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธ ารงรักษาไว้ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารงชีวิต อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ จ าเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความเป็นไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันใช้ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจน ใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการด าเนินชีวิต มีจิตส านึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการด าเนินชีวิต
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 12 สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่าง สม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของ การกีฬา สาระที่ 4 การเสริมสร้างสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม การด ารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการ สร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสาร เสพติด และความรุนแรง ศิลปะ สาระที่ 1ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าทางนาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 13 การงานอาชีพ สาระที่ 1 การด ารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการท างาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการท างาน ทักษะการ จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการท างานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้มีคุณธรรมและ ลักษณะนิสัยในการท างาน มีจิตส านึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการด ารงชีวิตและ ครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะที่จ าเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ภาษาต่างประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการ พูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และน าไปใช้อย่าง เหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และน ามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเป็น พื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 14 สาระการเรียนรู้ประกอบด้วยองค์ความรู้ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซึ่งก าหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจ าเป็นต้องเรียนรู้โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ดังนี้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 15 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน : ชั่วโมง/ปี ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป3. ป4. ป.5 ป6. กลุ่มสาระการเรียนรู้/วิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ชีวภาพ - วิทยาศาสตร์กายภาพ - วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - เทคโนโลยี 160 (80) 80 160 (80) 80 160 (80) 80 160 (80) 80 160 (80) 80 160 (80) 80 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม - ภูมิศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ - หน้าที่พลเมือง - ประวัติศาสตร์ 120 (80) 40 120 (80) 40 120 (80) 40 120 (80) 40 120 (80) 40 120 (80) 40 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาเรียน (รายวิชาพื้นฐาน) 920 920 920 920 920 920 รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย 80 80 80 40 40 40 คณิตศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) - - - 40 40 40 รวมเวลาเรียน (รายวิชาเพิ่มเติม) 120 120 120 120 120 120 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 40 40 30 10 40 40 30 10 40 40 30 10 40 40 30 10 40 40 30 10 40 40 30 10 รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาทั้งหมด 1,160 1,160
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 16 1. จ านวนชั่วโมงที่จัดใหนักเรียนระดับประถมศึกษา (ป.1 - ป.3) เรียนทั้งป เทากับ 1,160 ชั่วโมง ระดับ ชั้นประถมศึกษา (ป.4 - ป.6) เทากับ 1,160 ชั่วโมง แผนการเรียนรู/จุดเนนการพัฒนาผูเรียนที่ตองการเนนเปน พิเศษ คือ กลุมสาระการเรียนรูทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร และภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาการอานออก เขียน ได ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร คิดวิเคราะห คิดสังเคราะหคิดสรางสรรคที่ดี มีประโยชน มีความสนใจใฝรูใฝ เรียน และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยจัด การเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลเปนรายป 2. การจัดการศึกษาตามพระบรมราโชบายของรัชกาลที่ 10 ใหการศึกษามุงสรางผูเรียน 4 ดาน ไดแก มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงมีคุณธรรม มีงานท ามีอาชีพ เปนพลเมืองดีบูรณาการใน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3. การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรตานทุจริต บูรณาการในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4. การจัดการเรียนรูเพศวิถีศึกษา ดานพัฒนาการของมนุษย สัมพันธภาพ ทักษะสวนบุคคล พฤติกรรมทาง เพศ สุขภาพทางเพศ สังคมและวัฒนธรรม บูรณาการในกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษา (หนังสือที่ ศธ 04010/ว 799 ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2557 และหนังสือที่ศธ 04010/ว 1239 ลงวันที่ 1 กันยายน 2557, ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ,ค าสั่งส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 921/2561 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2561 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบ และเทคโนโลยีและสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเปลี่ยนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้และหนังสือด่วนที่สุดที่ ศธ 040008/ว918 ลงวันที่ 5 เมษายน 2562 เรื่อง การน าหลักสูตรต้านทุจริต(หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา)
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 17 โครงสรางหลักสูตรชั้นปี เปนโครงสรางที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติมและกิจกรรม พัฒนาผูเรียนในแตละชั้นปี โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 รายวิชากิจกรรม เวลาเรียน ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 920 23 ท11101 ภาษาไทย 200 5 ค11101 คณิตศาสตร์ 200 5 ว11101 วิทยาศาสตร์ 80 2 ว11102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 80 2 ส11101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2 ส11102 ประวัติศาสตร์ 40 1 พ11101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1 ศ11101 ศิลปะ 40 1 ง11101 การงานอาชีพ 40 1 อ11101 ภาษาอังกฤษ 120 3 รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 ท11201 เพลินภาษา 1 80 2 ค11201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 40 1 รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 ก11901 กิจกรรมแนะแนว 40 1 ก11902 ก11903 กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 30 1 1 ก11904 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ผนวกในกิจกรรม ลูกเสือ/เนตรนารี รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 1,160 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 18 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 รายวิชากิจกรรม เวลาเรียน ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 920 23 ท12101 ภาษาไทย 200 5 ค12101 คณิตศาสตร์ 200 5 ว12101 วิทยาศาสตร์ 80 2 ว12102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 80 2 ส12101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2 ส12102 ประวัติศาสตร์ 40 1 พ12101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1 ศ12101 ศิลปะ 40 1 ง12101 การงานอาชีพ 40 1 อ12101 ภาษาอังกฤษ 120 3 รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 ท12201 เพลินภาษา 2 80 2 ค12201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 40 1 รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 ก12901 กิจกรรมแนะแนว 40 1 ก12902 ก12903 กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 30 1 1 ก12904 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ผนวกในกิจกรรม ลูกเสือ/เนตรนารี รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 1,160 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 19 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชากิจกรรม เวลาเรียน ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 920 23 ท13101 ภาษาไทย 200 5 ค13101 คณิตศาสตร์ 200 5 ว13101 วิทยาศาสตร์ 80 2 ว13102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 80 2 ส13101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2 ส13102 ประวัติศาสตร์ 40 1 พ13101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1 ศ13101 ศิลปะ 40 1 ง13101 การงานอาชีพ 40 1 อ13101 ภาษาอังกฤษ 120 3 รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 ท13201 เพลินภาษา 3 80 2 ค13201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 40 1 รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 ก13901 กิจกรรมแนะแนว 40 1 ก13902 ก13903 กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 30 1 1 ก13904 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ผนวกในกิจกรรม ลูกเสือ/เนตรนารี รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 1,160 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 20 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รายวิชากิจกรรม เวลาเรียน ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 920 23 ท14101 ภาษาไทย 160 4 ค14101 คณิตศาสตร์ 160 4 ว14101 วิทยาศาสตร์ 80 2 ว14102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 80 2 ส14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2 ส14102 ประวัติศาสตร์ 40 1 พ14101 สุขศึกษาและพลศึกษา 80 2 ศ14101 ศิลปะ 80 2 ง14101 การงานอาชีพ 40 1 อ14101 ภาษาอังกฤษ 120 3 รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 ท14201 เพลินภาษา 4 40 1 ค14201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 40 1 อ14201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 40 1 รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 ก14901 กิจกรรมแนะแนว 40 1 ก14902 ก14903 กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 30 1 1 ก14904 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ผนวกในกิจกรรม ลูกเสือ/เนตรนารี รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 1,160 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 21 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รายวิชากิจกรรม เวลาเรียน ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 920 23 ท15101 ภาษาไทย 160 4 ค15101 คณิตศาสตร์ 160 4 ว15101 วิทยาศาสตร์ 80 2 ว15102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 80 2 ส15101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2 ส15102 ประวัติศาสตร์ 40 1 พ15101 สุขศึกษาและพลศึกษา 80 2 ศ15101 ศิลปะ 80 2 ง15101 การงานอาชีพ 40 1 อ15101 ภาษาอังกฤษ 120 3 รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 ท15201 เพลินภาษา 5 40 1 ค15201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 40 1 อ15201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 40 1 รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 ก15901 กิจกรรมแนะแนว 40 1 ก15902 ก15903 กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 30 1 1 ก15904 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ผนวกในกิจกรรม ลูกเสือ/เนตรนารี รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 1,160 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 22 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายวิชากิจกรรม เวลาเรียน ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 920 23 ท16101 ภาษาไทย 160 4 ค16101 คณิตศาสตร์ 160 4 ว16101 วิทยาศาสตร์ 80 2 ว16102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 80 2 ส16101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 2 ส16102 ประวัติศาสตร์ 40 1 พ16101 สุขศึกษาและพลศึกษา 80 2 ศ16101 ศิลปะ 80 2 ง16101 การงานอาชีพ 40 1 อ16101 ภาษาอังกฤษ 120 3 รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 120 3 ท16201 เพลินภาษา 6 40 1 ค16201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 40 1 อ16201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 40 1 รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3 ก16901 กิจกรรมแนะแนว 40 1 ก16902 ก16903 กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 30 1 1 ก16904 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ผนวกในกิจกรรม ลูกเสือ/เนตรนารี รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 1,160 30
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 23 โครงสรางรายวิชา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย รายวิชาพื้นฐาน ท 11101 ภาษาไทย 1 จ านวน 200 ชั่วโมง ท 12101 ภาษาไทย 2 จ านวน 200 ชั่วโมง ท 13101 ภาษาไทย 3 จ านวน 200 ชั่วโมง ท 14101 ภาษาไทย 4 จ านวน 160 ชั่วโมง ท 15101 ภาษาไทย 5 จ านวน 160 ชั่วโมง ท 16101 ภาษาไทย 6 จ านวน 160 ชั่วโมง รายวิชาเพิ่มเติม ท 11201 เพลินภาษา 1 จ านวน 80 ชั่วโมง ท 12201 เพลินภาษา 2 จ านวน 80 ชั่วโมง ท 13201 เพลินภาษา 3 จ านวน 80 ชั่วโมง ท 14201 เพลินภาษา 4 จ านวน 40 ชั่วโมง ท 15201 เพลินภาษา 5 จ านวน 40 ชั่วโมง ท 16201 เพลินภาษา 6 จ านวน 40 ชั่วโมง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร รายวิชาพื้นฐาน ค 11101 คณิตศาสตร 1 จ านวน 200 ชั่วโมง ค 12101 คณิตศาสตร 2 จ านวน 200 ชั่วโมง ค 13101 คณิตศาสตร 3 จ านวน 200 ชั่วโมง ค 14101 คณิตศาสตร 4 จ านวน 160 ชั่วโมง ค 15101 คณิตศาสตร 5 จ านวน 160 ชั่วโมง ค 16101 คณิตศาสตร 6 จ านวน 160 ชั่วโมง รายวิชาเพิ่มเติม ค 11201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 จ านวน 40 ชั่วโมง ค 12201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 จ านวน 40 ชั่วโมง ค 13201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 จ านวน 40 ชั่วโมง ค 14201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 จ านวน 40 ชั่วโมง ค 15201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 จ านวน 40 ชั่วโมง ค 16201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 จ านวน 40 ชั่วโมง
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 24 กลุมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐาน ว 11101 วิทยาศาสตร 1 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 12101 วิทยาศาสตร 2 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 13101 วิทยาศาสตร 3 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 14101 วิทยาศาสตร 4 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 15101 วิทยาศาสตร 5 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 16101 วิทยาศาสตร 6 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 11102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 1 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 12102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 2 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 13102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 3 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 14102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 4 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 15102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 5 จ านวน 80 ชั่วโมง ว 16102 เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) 6 จ านวน 80 ชั่วโมง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาพื้นฐาน ส 11101 สังคมศึกษาฯ 1 จ านวน 80 ชั่วโมง ส 12101 สังคมศึกษาฯ 2 จ านวน 80 ชั่วโมง ส 13101 สังคมศึกษาฯ 3 จ านวน 80 ชั่วโมง ส 14101 สังคมศึกษาฯ 4 จ านวน 80 ชั่วโมง ส 15101 สังคมศึกษาฯ 5 จ านวน 80 ชั่วโมง ส 16101 สังคมศึกษาฯ 6 จ านวน 80 ชั่วโมง ส 11102 ประวัติศาสตร 1 จ านวน 40 ชั่วโมง ส 12102 ประวัติศาสตร 2 จ านวน 40 ชั่วโมง ส 13102 ประวัติศาสตร 3 จ านวน 40 ชั่วโมง ส 14102 ประวัติศาสตร 4 จ านวน 40 ชั่วโมง ส 15102 ประวัติศาสตร 5 จ านวน 40 ชั่วโมง ส 16102 ประวัติศาสตร 6 จ านวน 40 ชั่วโมง
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 25 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาพื้นฐาน พ 11101 สุขศึกษาฯ 1 จ านวน 40 ชั่วโมง พ 12101 สุขศึกษาฯ 2 จ านวน 40 ชั่วโมง พ 13101 สุขศึกษาฯ 3 จ านวน 40 ชั่วโมง พ 14101 สุขศึกษาฯ 4 จ านวน 80 ชั่วโมง พ 15101 สุขศึกษาฯ 5 จ านวน 80 ชั่วโมง พ 16101 สุขศึกษาฯ 6 จ านวน 80 ชั่วโมง กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ รายวิชาพื้นฐาน ศ 11101 ศิลปะ 1 จ านวน 40 ชั่วโมง ศ 12101 ศิลปะ 2 จ านวน 40 ชั่วโมง ศ 13101 ศิลปะ 3 จ านวน 40 ชั่วโมง ศ 14101 ศิลปะ 4 จ านวน 80 ชั่วโมง ศ 15101 ศิลปะ 5 จ านวน 80 ชั่วโมง ศ 16101 ศิลปะ 6 จ านวน 80 ชั่วโมง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ รายวิชาพื้นฐาน ง 11101 การงานอาชีพ 1 จ านวน 40 ชั่วโมง ง 12101 การงานอาชีพ 2 จ านวน 40 ชั่วโมง ง 13101 การงานอาชีพ 3 จ านวน 40 ชั่วโมง ง 14101 การงานอาชีพ 4 จ านวน 40 ชั่วโมง ง 15101 การงานอาชีพ 5 จ านวน 40 ชั่วโมง ง 16101 การงานอาชีพ 6 จ านวน 40 ชั่วโมง
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 26 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) รายวิชาพื้นฐาน อ 11101 ภาษาอังกฤษ 1 จ านวน 120 ชั่วโมง อ 12101 ภาษาอังกฤษ 2 จ านวน 120 ชั่วโมง อ 13101 ภาษาอังกฤษ 3 จ านวน 120 ชั่วโมง อ 14101 ภาษาอังกฤษ 4 จ านวน 120 ชั่วโมง อ 15101 ภาษาอังกฤษ 5 จ านวน 120 ชั่วโมง อ 16101 ภาษาอังกฤษ 6 จ านวน 120 ชั่วโมง รายวิชาเพิ่มเติม อ 14201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 จ านวน 40 ชั่วโมง อ 15201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 จ านวน 40 ชั่วโมง อ 16201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 จ านวน 40 ชั่วโมง
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 27 ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ท 11101 รายวิชา ภาษาไทย 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 200 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาวิเคราะห์โดยการอ่านออกเสียงค าคล้องจองและข้อความสั้น ๆ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่าง สม่ าเสมอและน าเสนอเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของค าและข้อความที่อ่าน ความหมายเครื่องหมายหรือ สัญลักษณ์ส าคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจ าวัน ข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง ตอบค าถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน อ่าน สะกดค า คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และ เลขไทย เขียนสื่อสารถ้อยค าและประโยคง่าย ๆ เขียนสะกดค า ฟังค าแนะน า ค าสั่งง่าย ๆ และปฏิบัติตาม พูดแสดง ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู สื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ เรียบเรียงค าเป็นประโยคง่าย ๆ ต่อค า คล้องจองง่าย ท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการทางภาษา กระบวนการฟัง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้าง ความตระหนัก กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสร้างความคิด วิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านิยม เพื่อให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ป.1/6 ป.1/7 ป.1/8 ท 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ท 5.1 ป.1/1 ป.1/2 รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 28 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ท 12101 รายวิชา ภาษาไทย 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 200 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาวิเคราะห์โดยการอ่านออกเสียงค า ค าคล้องจอง ข้อความและบทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านหนังสือตาม ความสนใจอย่างสม่ าเสมอและน าเสนอเรื่องที่อ่าน ข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามค าสั่งหรือข้อแนะน า อธิบาย ความหมายของค าและข้อความที่อ่าน ตั้งค าถามและตอบค าถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เรื่องที่ฟังและดู ระบุใจความ ส าคัญ ข้อคิดและรายละเอียดจากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมส าหรับเด็กเพื่อน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน แสดง ความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์หรือตามจินตนาการ เขียนสะกดค าและบอกความหมายของค า ฟังค าแนะน า ค าสั่งที่ ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง บอกสาระส าคัญของเรื่องที่ฟังและดู บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย ลักษณะค าคล้องจอง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจาก เรื่องที่ฟังและดู สื่อสารได้ชัดเจนตรงตามจุดประสงค์ เรียบเรียงค าเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการทางภาษา กระบวนการฟัง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการท างาน กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการสร้าง ความตระหนัก กระบวนการแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ ท างาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6 ป.2/7 ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6 ป.2/7 ท 4.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/4 ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 รวมทั้งหมด 27 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 29 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ท 13101 รายวิชา ภาษาไทย 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 200 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาวิเคราะห์โดยการอ่านออกเสียงค าข้อความสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านหนังสือตามความสนใจ อย่างสม่ าเสมอและน าเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามค าสั่งหรือข้อแนะน า อธิบาย ความหมายของค าและข้อความที่อ่าน ความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ ตั้งค าถามและตอบ ค าถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเรื่องที่ฟังและดู ล าดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัด เขียนบันทึกประจ าวัน จดหมาย เรื่องตามจินตนาการ บรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน สะกดค า และบอกความหมายของค า เล่าเรื่องละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง บอก สาระส าคัญจากการฟังและการดู พูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความรู้สึกจากเรื่องที่ฟัง ดู และจากวรรณคดีที่ อ่าน สื่อสารได้ชัดเจนและตรงตามวัตถุประสงค์ ระบุชนิดและหน้าที่ของค าในประโยค ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมเพื่อน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน ใช้พจนานุกรมค้นคว้าหาความหมายของค า แต่งประโยคง่าย ๆ ค าคล้อง จองและค าขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลง กล่อมเด็กเพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น ท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนด มีมารยาทในการอ่าน การ เขียน การฟัง การดูและการพูด โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสร้าง ความคิดวิจารณญาณ กระบวนการทางภาษา เพื่อให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ ท างาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ท 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ท 3.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ท 4.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ท 5.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 รวมทั้งหมด 31 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 30 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ท 14101 รายวิชา ภาษาไทย 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 160 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาวิเคราะห์โดยอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง เรื่องสั้น หนังสือตามความสนใจ อธิบาย ความหมายของค า ประโยคและส านวนจากเรื่องที่อ่าน ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อน าไปใช้ในชีวิตจริง แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยใช้เหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด ย่อความ จดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา บันทึกและรายงานจากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น เขียนเรียงความ จ าแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปความ แสดงความรู้ แสดงความคิดเห็น และแสดงความรู้สึก ตั้งค าถามและตอบค าถาม รายงานเรื่องหรือประเด็นที่มีการค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู สะกดค าและบอกความหมายของค าในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าที่ของค าในประโยค ข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน หรือนิทานคติธรรม ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของค าแต่งประโยคให้ถูกต้องตามหลักภาษา บทร้อยกรองและ ค าขวัญ บอกความหมายของส านวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ร้องเพลงพื้นบ้าน ท่องจ าบท อาขยานที่ก าหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการ พูด โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง กระบวนการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ท 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ท 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ท 4.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ท 5.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 รวมทั้งหมด 33 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 31 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ท 15101 รายวิชา ภาษาไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ านวน 160 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาวิเคราะห์โดยอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง งานเขียนเชิงอธิบาย ค าสั่งและข้อแนะน า และปฏิบัติตาม อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ าเสมอ อธิบายความหมายของค า ประโยค และ ข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนาความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่าน คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม สรุปเรื่องระบุความรู้และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม นิทานพื้นบ้านตามความสนใจ ชนิดและหน้าที่ของ ประโยค แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล แสดง ความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร แผนภาพโครงเรื่อง และ แผนภาพความคิด ย่อความ จดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตาม จินตนาการ แต่งบทร้อยกรอง พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า จากการฟัง การดู การสนทนา ตั้งค าถามและตอบค าถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ท่องจ าบทอาขยาน บอกค าภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ภาษาถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์ ใช้ ค าราชาศัพท์และส านวน จ าแนกส่วนประกอบของประโยค มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและ การพูด โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง กระบวนการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสร้างความคิด วิจารณญาณ เพื่อให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ท 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/4 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ป.5/9 ท 3.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/4 ป.5/4 ป.5/5 ท 4.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/4 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ท 5.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/4 ป.5/4 รวมทั้งหมด 33 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 32 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ท 16101 รายวิชา ภาษาไทย 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 160 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาวิเคราะห์โดยอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง เรื่องสั้น งานเขียนเชิงอธิบาย ค าสั่ง ข้อแนะน า หนังสือตามความสนใจ อธิบายความหมายของค า ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร การน าความรู้และความคิด จากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต ความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น จากเรื่องที่อ่านคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด ย่อความ จดหมายส่วนตัว เรื่องตามจินตนาการ กรอกแบบรายการต่างๆ พูดแสดงความรู้ความเข้าใจของเรื่องที่ฟัง และดู รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า พูดโน้มน้าวใจอย่างมีเหตุผลและเชื่อถือ ตั้งค าถามและตอบค าถาม เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล ชนิดและหน้าที่ ของค าในประโยคเปรียบเทียบส านวนที่เป็นค าพังเพยและสุภาษิต ใช้ค าได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของค าภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง แต่งบทร้อยกรอง เกี่ยวกับท้องถิ่นของเรา (ต าบลบึงบอน) แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเอง ท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง กระบวนการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการคิดวิจารณญาณ เพื่อให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9 ท 2.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/4 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9 ท 3.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/4 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ท 4.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/4 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ท 5.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/4 ป.6/4 รวมทั้งหมด 34 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 33 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 11201 รายวิชา เพลินภาษา 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 80 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 80:20 อ่านพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวเลขไทย ค าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและเสียงยาว ค าที่อยู่ในมาตรา ตัวสะกดตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา ประโยค ค าคล้องจอง อักษรน า ค าควบกล้ าและค าที่มีตัวการันต์ ความหมาย ของค า ค าที่มีวรรณยุกต์ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ า การเล่าเรื่องและคาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน การอ่าน ออกเสียงบทร้อยกรอง บทร้อยกรอง การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย การเขียน ตามค าบอก ค าคล้องจอง การจับใจความส าคัญจากสิ่งที่ฟังและดู เข้าใจเนื้อเรื่องถ่ายทอดออกมาเป็นภาพได้ การ อ่านและเขียนพยัญชนะ สระ การผันวรรณยุกต์ การสะกดค าและแจกลูกค า การเขียนค า ประโยค การเรียงล าดับ ค าให้เป็นประโยค ใช้ค าสุภาพได้ถูกต้องเหมาะสม การเล่านิทาน การอธิบายคุณค่าของนิทานพื้นบ้านในท้องถิ่นของ ตนและถิ่นอื่น นิทานคติธรรมหรือวรรณกรรมในบทเรียนตามความสนใจ การท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนด โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งค าถาม ตอบค าถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสาร ได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทยเห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริตใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการ ทางาน อยู่อย่างพอเพียง มี คุณธรรม และมีจิตสาธารณะ สามารถน าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อ่านและระบุพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวเลขไทยได้ 2. อ่านค าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและสระเสียงยาวได้ 3. ผันอักษรกลาง สูง ต่ าได้ 4. เขียนสะกดค า แจกลูกค า และเรียงค าเป็นประโยคได้ถูกต้อง 5. อ่านค าที่อยู่ในมาตราต่าง ๆ ได้ถูกต้อง 6. อ่านและเข้าใจความหมายของค า ข้อความ เรื่องสั้น บทอาขยาน 7. อ่าน คิด ถามและตอบค าถามจากเรื่องที่อ่าน 8. อธิบายคุณค่าของเรื่องที่อ่านได้ 9. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 34 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 12201 รายวิชา เพลินภาษา 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 80 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 80:20 อ่านออกเสียง เข้าใจความหมายของค า ค าคล้องจอง บทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านจับใจความ นิทาน เรื่องเล่า สั้น ๆ บทเพลงและบทร้อยกรองง่าย ๆ เรื่องราวในบทเรียน ข่าวและเหตุการณ์ประจ าวัน อ่านหนังสือตาม ความ สนใจ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามค าสั่งหรือข้อเสนอแนะ การคัดลายมือ การเขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการ การฟังและปฏิบัติตามค าแนะน า ค าสั่งที่ซับซ้อน เล่าเรื่องที่ฟัง และดูพูดแสดงความคิดเห็น สาระส าคัญของเรื่องที่ฟังและดู การพูดแสดงความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู จากเรื่อง เล่า สารคดี นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน เพลง การพูดสื่อสารแนะน าตนเอง พูดขอความช่วยเหลือ ค าขอบคุณ ค าขอ โทษ การพูดขอร้องในโอกาสต่าง ๆ ประสบการณ์ในชีวิตประจ าวัน การเขียนสะกดค า การแจกลูกค า การอ่านค าใน มาตราตัวสะกดที่ตรงและไม่ตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ า ค าที่มีตัวการันต์ พยัญชนะ ควบกล้ า อักษรน า ค าที่มีความหมายตรงข้ามกัน ค าที่มี รร ความหมายของค า การแต่งประโยค เรียบเรียงประโยค เป็นข้อความสั้น ๆ บอกลักษณะค าคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานได้เหมาะสม การเลือกใช้ข้อคิดจากการ อ่านนิทาน เรื่องสั้นง่าย ๆ ปริศนาค าทาย บทอาขยาน บทร้อยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ร้องบท ร้องเล่นในท้องถิ่น ท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งค าถาม ตอบค าถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อใช้ภาษาในการแสดงหาความรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน มีคุณค่าทางจริยธรรม รักความ เป็นไทย มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการ ท างาน อยู่อย่างพอเพียง มีคุณธรรม และมีจิตสาธารณะ สามารถน าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สามารถอ่านออกเสียงและเข้าใจความหมายของค าและเรื่องราว 2. อ่านและสะกดค าในมาตราตัวสะกดที่ตรงและไม่ตรงตามมาตราได้ถูกต้อง 3. อ่านและสะกดค าที่เป็นอักษรน า ค าควบกล้ า ค าที่มีตัวการันต์ และ รร ได้ถูกต้อง 4. เรียงค าเป็นประโยคได้ถูกต้อง 5. อ่าน คิด ถามและตอบค าถามจากเรื่องที่อ่าน 6. เขียนเรื่องตามจินตนาการแบบสั้น ๆ ได้ 7. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 35 8. พูดแสดงความคิดเห็น พูดแสดงความรู้สึกและพูดสื่อสารได้ 9. อธิบายคุณค่าของเรื่องที่อ่านได้ 10. ท่องจ าบทอาขยานและบทร้อนกรองได้ รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 36 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 13201 รายวิชา เพลินภาษา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 80 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 80:20 อ่านออกเสียงค า ค าคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้น และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง เข้าใจความหมาย ของ ค า สรุปความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามค าสั่ง เข้าใจความหมาย อ่านหนังสืออย่างสม่ าเสมอ คัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัด เขียนสะกดค า เขียนบรรยาย บันทึกประจ าวัน การเขียนจดหมายลาครู เรื่องเกี่ยวกับ ประสบการณ์ และเรื่องตามจินตนาการ ประเมินในสิ่งที่ฟังและดู สามารถน าไปใช้ในการด ารงชีวิต สะกดค าและ เข้าใจความหมายของค าและพยางค์จ าแนกส่วนประกอบของค าในประโยค แต่งประโยค ค าขวัญ และค าคล้องจอง ได้ ใช้ภาษาได้เหมาะสมทั้งภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น รู้และเข้าใจความหมายของค า ภาษาถิ่นได้เหมาะสม กับกาลเทศะ การอ่านวรรณคดี วรรณกรรมพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ท่องบทอาขยาน โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งค าถาม ตอบค าถาม ใช้ ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง เพื่อให้เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริตใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการ ท างาน อยู่อย่างพอเพียง มีคุณธรรม และมีจิตสาธารณะ สามารถน าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อ่านออกเสียงค า ค าคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้น และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง 2. เข้าใจความหมายของค าและข้อความ 3. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด 4. สะกดค าและเข้าใจความหมายของค าและพยางค์ 5. เข้าใจและอธิบายส่วนประกอบของประโยคได้ 6. เขียนสื่อสารได้ถูกต้องเหมาะสม 7. เข้าใจภาษาถิ่น และสามารถเทียบภาษาถิ่นกับภาษาไทยมาตรฐานได้ 8. สรุปใจความส าคัญของเรื่องที่อ่านได้ 9. ตั้งค าถาม และตอบค าถามจากเรื่องที่อ่าน ฟัง ดูและพูดได้อย่างมีเหตุผล 10. เขียนแสดงความคิดเห็นแสดงความรู้จากเรื่องที่อ่านได้ รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 37 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 14201 รายวิชา เพลินภาษา 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 40 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 80:20 เขียนค าขวัญ เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อน บิดา มารดา เขียนเรื่องตาม จินตนาการ และมีมารยาทในการเขียน โดยใช้กระบวนการอ่าน อธิบาย วิเคราะห์เขียนสื่อสาร คัดลายมือ เขียนเรียงความ เขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงาน พูดรายงาน พูดแสดงความคิดเห็น ตั้งค าถามและตอบค าถาม เพื่อให้มีนิสัยรักการอ่าน สนใจใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน มีระเบียบวินัย มีมารยาทในการเขียน ใช้ถ้อยค า เหมาะสม มี มารยาทในการฟัง การดู และการพูด รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ เห็นคุณค่าของ วรรณคดีและ วรรณกรรมไทย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เขียนค าขวัญ และแต่งบทร้อยกรองได้ 2. เขียนย่อความได้ 3. เขียนจดหมายได้ 4. เขียนเรื่องตามจินตนาการได้ 5. เขียนเรียงความได้ 6. เขียนรายงานได้ 7. พูดแสดงความคิดเห็นได้ รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 38 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 15201 รายวิชา เพลินภาษา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ านวน 40 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 80:20 ศึกษานิทานพื้นบ้านที่เล่าสืบต่อกันมาในท้องถิ่นต่าง ๆ ของไทย มีความสามารถในการเขียน การพูดเล่า เรื่อง การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องได้อย่างเหมาะสม อธิบายภาพสะท้อนของวิถีชีวิตจากนิทานพื้นบ้าน มีวินัยใน การท างาน และเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. นักเรียนได้ทราบความเป็นมาของท้องถิ่นตน 2. นักเรียนอธิบายลักษณะนิทานพื้นบ้านของไทยได้ 3. นักเรียนบอกข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านของไทยได้ 4. นักเรียนอธิบายภาพสะท้อนของวิถีชีวิตจากนิทานพื้นบ้านได้ 5. นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของนิทานพื้นบ้าน รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 39 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 16201 รายวิชา เพลินภาษา 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 40 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 80:20 ศึกษาหลักการเขียนและความรู้พื้นฐานในการเขียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถเรียบเรียงข้อความ ในการเขียนอย่างถูกต้องตรงตามการใช้ภาษา และใช้กระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน ฝึกเขียนเชิงสร้างสรรค์ทั้งร้อยแก้วร้อยกรอง ได้แก่ เรียงความ บันทึกประสบการณ์ นิทาน บทสนทนา บท ละครพูด บทร้อยกรองสั้น ๆ เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ สามารถเขียนแสดงความต้องการ ความคิด และความรู้สึกได้ตามมารยาทและธรรมเนียมนิยม ฝึกเขียนเชิงวิชาการ ได้แก่ บันทึก รายงาน บทความ เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน สามารถตั้งประเด็นหัวข้อ การเขียนได้ตามจุดประสงค์ และมีนิสัยรักการเขียน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ศึกษาและเข้าใจหลักการเขียน และความรู้พื้นฐานในการเขียน 2. มีความรู้ความเข้าใจ สามารถเรียบเรียงข้อความในการเขียนอย่างถูกต้องตรงตามหลักการใช้ภาษาและ ใช้กระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน 3. สามารถเขียนบันทึกประสบการณ์ได้ 4. เขียนบทสนทนาของนิทานและหรือบทละครพูดได้ 5. เขียนบทร้อยกรองสั้น ๆ ได้ รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 40 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ค 11101 รายวิชา คณิตศาสตร์1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่1 จ านวน 200 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการนับทีละ 1 และทีละ 10 การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย แสดงจ านวน การแสดงจ านวนนับไม่เกิน 20 ในรูปความสัมพันธ์ของจ านวนแบบส่วนย่อย ส่วนรวม (Part – Whole Relationship) การบอกอันดับที่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจ านวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจ านวนและการใช้เครื่องหมาย = > < การเรียงล าดับจ านวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ การแก้โจทย์ ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ และการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาค าตอบ แบบรูปของจ านวนที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 แบบรูปซ้ าของจ านวน รูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น เมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การวัดน้ าหนักโดย ใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดน้ าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้ าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับน้ าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด ลักษณะของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม และวงรี การอ่านแผนภูมิรูปภาพ โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การคิดค านวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารและการสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการท างานอย่างมี ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจต คติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ รหัสตัวชี้วัด ค 1.1 ป1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ค 1.2 ป.1/1 ค 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ค 2.2 ป.1/1 ค 3.1 ป.1/1 รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 41 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ค 12101 รายวิชา คณิตศาสตร์2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 200 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100 การอ่านและการเขียนตัวเลข ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจ านวน จ านวนคู่ จ านวนคี่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการ เขียนตัวเลขแสดงจ านวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงล าดับจ านวน การบวกและการลบ ความหมาย ของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ และความสัมพันธ์ของการคูณและ การหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาค าตอบ แบบรูป ของจ านวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 แบบรูปซ้ า การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง 5 นาที) การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมงเป็นนาที การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มี หน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร การวัดน้ าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ าหนักเป็น กิโลกรัม การเปรียบเทียบน้ าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับน้ าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่ หน่วยมาตรฐาน การวัดปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบ ของรูป การอ่านแผนภูมิรูปภาพ โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการคิดค านวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการน าเสนอ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการท างานอย่างมี ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตได้อย่างพอเพียงรวมทั้งมีเจต คติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ รหัสตัวชี้วัด ค 1.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6 ป.2/7 ป.2/8 ค 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6 ค 2.2 ป.2/1 ค 3.1 ป.2/1 รวมทั้งหมด 16 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 42 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ค 13101 รายวิชา คณิตศาสตร์3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 200 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจ านวน หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจ านวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงล าดับจ านวน การบวก การลบ การคูณ การหารยาวและการหารสั้น การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหาและการ สร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาค าตอบ ของจ านวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 เศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบและเรียงล าดับเศษส่วน การบวก และการลบเศษส่วน การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วน แบบรูปของจ านวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่าๆกัน การบอกจ านวนเงินและ เขียนแสดงจ านวนเงินแบบใช้จุด การเปรียบเทียบจ านวนเงินและการแลกเงิน การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ ระหว่างชั่วโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลา การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือก เครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดย ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม การ คาดคะเนน้ าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ าหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การ เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตรช้อนชา ช้อนโต๊ะถ้วยตวงกับมิลลิลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร และความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร รูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจ าแนก ข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว (One-Way Table) โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การคิดค านวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารและการสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการท างานอย่างมี ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจต คติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 43 รหัสตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11 ค.1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11 ป.3/12 ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1 ป.3/2 รวมทั้งหมด 28 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บ ารุงวิทย์ พุทธศักราช 2566 44 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ค 14101 รายวิชา คณิตศาสตร์4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 160 ชั่วโมง/ปี สัดส่วนคะแนน 70:30 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจ านวน หลัก ค่า ประจ าหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจ านวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและ เรียงล าดับจ านวน ค่าประมาณของจ านวนนับและการใช้เครื่องหมาย การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร การบวกและการลบ การคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหาและ การสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งหาค าตอบ จ านวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 เศษส่วนแท้ เศษเกิน จ านวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างจ านวนคละและเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ าและเศษส่วนที่เท่ากับจ านวนนับ การเปรียบเทียบ เรียงล าดับเศษส่วนและจ านวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจ านวนคละ การแก้โจทย์ปัญหา การบวกและโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วนและจ านวนคละ การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ต าแหน่งตาม ปริมาณที่ก าหนด หลัก ค่าประจ าหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักขอทศนิยม และการเขียนตัวเลขแสดงทศนิยม ในรูปกระจาย ทศนิยมที่เท่ากัน การเปรียบเทียบและเรียงล าดับทศนิยม การบวกการลบทศนิยม การแก้โจทย์ ปัญหาการบวก การลบ ทศนิยมไม่เกิน 2 ขั้นตอน แบบรูปของจ านวนที่เกิดจากการคูณ การหารด้วยจ านวน เดียวกันการบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอ่านตารางเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดขนาดของมุมโดยใช้ โพรแทรกเตอร์ การสร้างมุมเมื่อก าหนดขนาดของมุม ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก พื้นที่ของรูป สี่เหลี่ยมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุมส่วนประกอบของมุม การ เรียกชื่อมุม สัญลักษณ์แสดงมุม ชนิดของมุม ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การ อ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่านตารางสองทาง(Two-Way Table) โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน การคิดค านวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารและการสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการท างานอย่างมี ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจต คติที่ดีต่อคณิตศาสตร์