The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วรรณคดี ป.5 ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wirongrong.19, 2021-11-03 03:00:44

วรรณคดี ป.5 ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

วรรณคดี ป.5 ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน

วชิ าภาษาไทย

๕/๘ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี

วรรณคดลี านา
บทที่ ๕ ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แห่งตน

นางวริ งรอง ศรพี อ
ครผู สู้ อน

ตวั ชีว้ ดั

❖ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง (ท ๑.๑ ป. ๕/๑)
❖ วิเคราะห์และแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เรือ่ งที่อา่ น เพอื่ นาไปใชใ้ นการดาเนนิ

ชวี ติ (ท ๑.๑ ป. ๕/๕)
❖ อา่ นหนงั สือท่มี คี ุณคา่ ตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอ และแสดงความคิดเห็น

เก่ียวกับเรอ่ื งท่อี า่ น (ท ๑.๑ ป. ๕/๗)
❖ สรุปเร่ืองจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมทอ่ี า่ น (ท ๕.๑ ป. ๕/๑)
❖ ระบุความรู้และขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรม

ทีส่ ามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตจริง (ท ๕.๑ ป. ๕/๒)
❖ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม (ท ๕.๑ ป. ๕/๓)
❖ ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ ตาม

ความสนใจ (ท ๕.๑ ป. ๕/๔)

คลกิ เลอื กหวั ขอ้ เพอ่ื เขา้ สู่

บทนาเเรนอ่ื ้อื งหา บทประพนั ธ์
ร้อยกรองสภุ าษติ

คณุ คา่ และขอ้ คดิ ทไ่ี ด้ ถ้อยคาสานวน
จากเรื่อง ล้วนตอ้ งศกึ ษา

สรปุ ความรู้

บทนาเรอ่ื ง

บทประพนั ธร์ อ้ ยกรองสภุ าษติ

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

คลิก

ตนเปน็ ทพี่ ง่ึ แหง่ ตน

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

คำศัพท์น่ำรู้

คาศพั ทน์ า่ รู้

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แห่งตน

คาศพั ทน์ า่ รู้ (ตอ่ )

ถอ้ ยคาสานวน ล้วนตอ้ งศกึ ษา

ถอ้ ยคาสานวน ล้วนตอ้ งศกึ ษา

ตวั อยา่ ง

คณุ ค่าและขอ้ คิดท่ไี ด้รับจากเรอ่ื ง

คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์

การเปรยี บเทียบถึงสิง่ ทจ่ี ะทาใหป้ ระสบความสาเร็จในการทางานอยา่ ง
ชัดเจนและถูกต้อง ดงั คาประพันธ์ทว่ี ่า

ขอ้ คิดนาชวี ิต

“ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ ตน”
มเี นอ้ื หาเกยี่ วกบั การ
พง่ึ พาตนเอง นาไปสู่
การประสบความสาเรจ็

ในชวี ติ

สรุปความรู้

บทประพนั ธ์ร้อยกรองสภุ าษิต เป็นการนาสภุ าษติ
มาแต่งเปน็ บทร้อยกรอง เพอื่ ให้เกิดความไพเราะ
จดจาได้งา่ ย และอธิบายขยายความใหเ้ ขา้ ใจชดั เจน
สามารถนาคติข้อคิดเตอื นใจจากคาประพันธ์นน้ั ไปใช้เปน็
แนวทางปฏบิ ัติใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการดาเนินชีวิต

แบบพฒั นาทกั ษะ
เพ่ือประเมนิ ผลตวั ชว้ี ดั

ตนเป็ นที่พง่ึ แห่งตน

๑ “ตนเปน็ ทพี่ ง่ึ แหง่ ตน”
เปน็ บทรอ้ ยกรองประเภทใด

๑ กลอนหก ๒ กลอนแปด
๓ กลอนสกั วา ๔ กลอนดอกสรอ้ ย

เฉลย

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

๒ สาระสาคญั ของบทรอ้ ยกรองกลา่ วถงึ การพง่ึ พาตนเอง
ในเรอื่ งใด

๑ การหาเลยี้ งชพี ๒ การศกึ ษาหาความรู้

๓ การใชช้ วี ติ ประจาวนั ๔ การอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื

เฉลย

ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ ตน

๓ บทรอ้ ยกรองวรรคใดทใ่ี ชศ้ ลิ ปะในการประพนั ธ์
ดว้ ยการเปรยี บเทยี บ

๑ เราเกดิ มาทงั้ ทชี วี ติ หนงึ่
๒ คิดบากบนั่ ตง้ั หนา้ มานะนา
๓ เชิญเลอื กทาตามถนดั อยา่ ผดั วนั
๔ เอาความเพยี รเปน็ พยานประสานกนั

เฉลย

ตนเป็ นท่ีพงึ่ แห่งตน

๔ “กสกิ ิจพณชิ ยการงานมเี กยี รติ อยา่ หยามเหยยี ดพาลหาวา่ งานตา่ ”
กล่าวถงึ อาชพี อะไร

๑ กรรมกร คา้ ขาย ๒ เกษตรกร คา้ ขาย
๓ กรรมกร ช่างฝมี อื ๔ นกั ธรุ กจิ รับจา้ ง

เฉลย

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

๕ การกระทาใดตรงกบั สภุ าษติ “ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ ตน”

๑ เข้าสอบแขง่ ขนั ชงิ ทนุ การศกึ ษา
๒ ตง้ั ใจฟงั เวลาครอู ธบิ ายความรู้
๓ เชอ่ื ฟงั คาสง่ั สอนของผใู้ หญ่
๔ ช่วยคณุ พอ่ ปลกู ตน้ ไม้

เฉลย

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

๑ “ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ ตน”
เป็นบทรอ้ ยกรองประเภทใด

๑ กลอนหก ๒ กลอนแปด
๓ กลอนสกั วา ๔ กลอนดอกสรอ้ ย

ไปยงั ขอ้ ๒

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

๒ สาระสาคญั ของบทรอ้ ยกรองกลา่ วถงึ การพง่ึ พา
ตนเองในเรอ่ื งใด

๑ การหาเลย้ี งชพี ๒ การศกึ ษาหาความรู้

๓ การใชช้ วี ติ ประจาวนั ๔ การอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื

ไปยังขอ้ ๓

ตนเปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ ตน

๓ บทร้อยกรองวรรคใดทใ่ี ชศ้ ิลปะในการประพนั ธ์
ดว้ ยการเปรยี บเทยี บ

๑ เราเกดิ มาทงั้ ทชี วี ิตหนง่ึ
๒ คิดบากบนั่ ตั้งหนา้ มานะนา
๓ เชิญเลอื กทาตามถนดั อยา่ ผดั วนั
๔ เอาความเพยี รเปน็ พยานประสานกนั

ไปยงั ขอ้ ๔

ตนเปน็ ทพี่ งึ่ แหง่ ตน

๔ “กสิกจิ พณชิ ยการงานมีเกยี รติ อย่าหยามเหยยี ดพาลหาวา่ งานตา่ ”
กลา่ วถงึ อาชพี อะไร

๑ กรรมกร คา้ ขาย ๒ เกษตรกร คา้ ขาย
๓ กรรมกร ช่างฝมี อื ๔ นกั ธรุ กจิ รบั จ้าง

ไปยงั ขอ้ ๕

ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน

๕ การกระทาใดตรงกบั สภุ าษติ “ตนเปน็ ทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน”

๑ เขา้ สอบแขง่ ขนั ชงิ ทนุ การศกึ ษา
๒ ตง้ั ใจฟงั เวลาครอู ธบิ ายความรู้
๓ เชื่อฟงั คาสงั่ สอนของผใู้ หญ่
๔ ช่วยคณุ พอ่ ปลกู ตน้ ไม้

นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ภาษาไทย
วรรณคดแี ละวรรณกรรม

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ หน้า ๑๑๒-๑๑๕

และ
แบบฝกึ หดั ทกั ษะภาษา หนา้ ๗๕-๗๖

หมดเวลาเรยี นแล้ว
ไวเ้ จอกันในชั่วโมงต่อไปนะคะ


Click to View FlipBook Version