The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์แหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kamonnawin, 2021-10-13 11:12:23

รายงานสถานการณ์แหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ สงิ่ แวดลอ้ มศิลปกรรมในพ้นื ท่ี

ย่านชมุ ชนเกา่
หัวเขา-แหลมสน



เชิญชวน

ย่านชุมชนเมืองเก่าหัวเขา-แหลมสน อ�ำเภอสิงหนคร เป็นแหล่งอารยธรรม
และประวัติศาสตร์ของจังหวัดสงขลา ในสมัยโบราณเป็นอาณาจักรศรีวิชัย มีพ่อค้า
ชาวอินเดีย เดินทางมาค้าขายทางเรือ เมื่อผ่านเกาะหนู เกาะแมว ทางด้านนอกมอง
เขา้ หาฝ่ัง มองเห็นเหมือนสิงหห์ มอบ จงึ เรียกวา่ “สิงหลา” และเรียกเมอื งท่ีตั้งอยบู่ นฝง่ั
หวั เขาแดงว่า “สิงหนครา” หรือ “สงิ ขรนครา” และมีคนชาติตา่ ง ๆ เรียกตาม ๆ กันว่า
“ซิงกอร่า” จนเพย้ี นมาเป็นสงขลาในปัจจุบัน โดยมีเอกสารพ่อค้าชาวอังกฤษเขียนถึง
การค้าที่เมืองสิงขรไว้วา่

“...จะไมผ่ ิดหวงั หากคดิ จะสรา้ งคลงั สนิ คา้ ขนาดใหญข่ ึ้นทสี่ งิ ขระ (Singora)
ขา้ พเจา้ คดิ วา่ เราอาจจะใชส้ งิ ขระเปน็ ทส่ี ำ� หรบั ตระเวนหาสนิ คา้ จากบริเวณใกลเ้ คยี ง เพ่ือ
จัดสง่ ใหแ้ กห่ ้างของเราที่กรุงสยาม โคชนิ ไชน่า บอรเ์ นยี ว และญีป่ นุ่ ได้อย่างด.ี .”

ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานเท่าไร การเดินทางมาท่องเที่ยวสงขลาฝั่งหัวเขา-
แหลมสน กย็ ังคงอยใู่ นความทรงจ�ำของผคู้ นเสมอมาและจะยังคงเปน็ นนั้ ต่อไป

รายงานสถานการณแ์ หลง่ สิ่งแวดลอ้ มศิลปกรรม 3

บทนำ�

Introduction

ยุคเมืองสงขลาหัวเขา ในช่วงเวลาพทุ ธศตวรรษท่ี 22-23
สงขลาเป็นเมืองท่าค้าขายทางเรอื ที่มีท่าเรือน�้ำลึกปานกลาง ท้ังใน
ทะเลใหญแ่ ละในทะเลสาบ เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ
ในนามเมือง “สงขลาริมเขาแดง” เรยี กเจ้าเมืองสงขลาว่า “ดะโต๊ะ
โมกอลส”์ การตงั้ เมอื งสงขลาของดาโตะ๊ โมกอลส์ ไดส้ รา้ งปอ้ ม คู ประตู
หอรบ อย่างแน่นหนา บันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรอื ชาวอาหรับ
เปอรเ์ ซยี ระหวา่ งปี พ.ศ. 1993 - 2093 เรยี กสงขลาบรเิ วณริมเขาแดง
ว่า “ซิงกูร”์ หรอื “ซงิ กอรา”
4 รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม

ภายหลังจาก พ.ศ. 2223 ชาวสงขลาส่วนหนึ่งจงึ ไดอ้ พยพ
มาตั้งบ้านเรอื นใหมท่ ี่บรเิ วณแหลมสน เชงิ เขาปลายสุดของคาบสมุทร
สทิงพระ เรียกกันต่อมาว่า “เมืองสงขลาฝั่งแหลมสน” จนมาถึง
ชว่ งเวลา พ.ศ. 2313 – 2385 สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชประกาศ
อิสรภาพ และทรงปราบปรามเมืองนครศรีธรรมราชได้แล้ว ทรงแยก
เมอื งสงขลาออกจากนครศรธี รรมราช และพฒั นาเมอื งสงขลาใหเ้ จรญิ
เพื่อคานอ�ำนาจกับนครศรีธรรมราช ทรงแต่งต้ัง เหย่ียง แซ่เฮ่า
ชาวจีนฮกเกี้ยน เป็นหลวงสุวรรณคีรสี มบัติและพระยาสงขลา ผู้เป็น
ตน้ ตระกูล ณ สงขลา ในปัจจุบนั

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดล้อมศิลปกรรม 5

กTrาaรnsเดpoนิ rtทatiาoงn

การเดินทางไปหัวเขา-แหลมสน
มี 2 เส้นทาง เสน้ ทางแรก สามารถเดนิ ทาง
ดว้ ยรถยนต์ โดยใชท้ างหลวงหมายเลข 408
สงขลา-สิงหนคร ผ่านเกาะยอไปยัง
บา้ นหวั เขา เสน้ ทางทสี่ อง สามารถใชบ้ ริการ
แพขนานยนตข์ า้ มทะเลสาบสงขลา จากทา่ แพ
ขนานยนต์ในฝั่งอ�ำเภอเมืองสงขลา ไปยัง
บ้านหัวเขา ซึ่งเป็นจุดเรมิ่ ต้นส�ำหรับ
การเดนิ ทางที่น่านา่ สนใจ

6 รายงานสถานการณแ์ หลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศิลปกรรม

แหล่งทอ่ งเที่ยว
ทางดา้ นโบราณสถาน
และประวตั ิศาสตร์

(Historical places)

รายงานสถานการณ์แหลง่ สิง่ แวดลอ้ มศิลปกรรม 7

8 รายงานสถานการณแ์ หลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศิลปกรรม

กำ� แพงเมืองและป้อมปราการ

ในยคุ แรกเมอื งสงขลาตงั้ ขึ้นบรเิ วณเขาแดง อำ� เภอสงิ หนคร เมอื่ ปี พ.ศ. 2148
ในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ โดยท่านดาโต๊ะ โมกอล ท่ีอพยพล้ีภัยจักรวรรดิมาจาก
เมืองสาเลห์ บนเกาะชวา ประเทศอนิ โดนเี ซยี ทา่ นดาโต๊ะ โมกอล ได้สรา้ งบ้านแปลงเมือง
จนเจรญิ รงุ่ เรือง ทา่ นไดส้ รา้ งกำ� แพงเมอื ง คเู มอื ง ปอ้ มเมอื ง ทำ� ใหเ้ มอื งสงขลามลี กั ษณะ
เปน็ “เมอื งแหง่ ปอ้ มปราการ” ซง่ึ มปี อ้ มปนื 18 ปอ้ ม แตย่ งั คงเหลอื หลกั ฐานจนถงึ ปจั จุบนั
จำ� นวน 13 ป้อม

รายงานสถานการณ์แหล่งสิง่ แวดล้อมศิลปกรรม 9

10 รายงานสถานการณ์แหลง่ สงิ่ แวดล้อมศลิ ปกรรม

กำ� แพงเมอื งไดป้ รบั ปรงุ เพิม่ เตมิ
ให้มีความมั่นคงยง่ิ ข้ึนในสมัยของท่าน
สุลตา่ นสลุ ยั มาน บตุ รชายของท่านดาโตะ๊
โมกอล ท่ีสามารถสร้างความม่ันคงและ
ปลอดภัยให้กับเรือสินค้าท่ีเข้ามาค้าขาย
กับเมืองสงขลาได้อย่างดียงิ่ ซ่ึงป้อม
หัวเขาแดงเป็นป้อมท่ีแข็งแรงมาก ท�ำให้
กองทพั ของกรงุ ศรีอยธุ ยาตอ้ งยกทพั มาตี
ถงึ 3 ครง้ั จงึ สามารถตกี �ำแพงแตกได้

รายงานสถานการณแ์ หล่งสิ่งแวดลอ้ มศิลปกรรม 11

เจดยี อ์ งคด์ ำ� องคข์ าว บนเขาคา่ ยมว่ ง

เจดีย์องค์ด�ำ องค์ขาว หรอื เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เจดีย์สองพีน่ ้อง เจดีย์ท้ัง
สององค์มีลักษณะเหมือนกัน ลักษณะของเจดีย์เป็นเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองตั้งบนฐาน
สี่เหลี่ยมก่อด้วยหนิ ฉาบปูน ในปี พ.ศ. 2375 เจา้ พระยาพระคลงั (ดศิ บนุ นาค) น�ำทพั
ลงมารกั ษาขอบขัณฑสีมาในเขตเมืองชายแดนภาคใต้ พระยาพระคลงั สามารถเอาชนะ
ศึกครั้งน้ัน และได้มาชุมนุมกองทัพท่ีหัวเขาแดง พร้อมทั้งสร้างอนุสรณ์แห่งชัยชนะไว้
บนยอดเขา ปรากฏเป็นเจดียอ์ งค์สดี ำ� หรือเจดยี อ์ งคพ์ ่ี

สว่ น เจดยี อ์ งคข์ าว หรอื เจดยี อ์ งคน์ อ้ ง สรา้ งข้นึ ประมาณ พ.ศ. 2382 - 2384
โดย พระยาพิพฒั นร์ ตั นราชโกษา (ทดั บนุ นาค) ซงึ่ เปน็ นอ้ งชายของเจา้ พระยาพระคลงั
(ดศิ บนุ นาค) เพ่ือเป็นอนสุ รณ์แห่งชัยชนะในครงั้ ที่ยกทพั มายงั เมอื งปตั ตานีและไทรบรุ ี

นักท่องเที่ยวสามารถมองเห็นเจดีย์องค์ด�ำ องค์ขาวได้จากฝั่งอ�ำเภอเมือง
สงขลา และถา้ มองจากบนยอดเขานจ้ี ะสามารถเห็นทิวทัศนท์ ีส่ วยงาม

12 รายงานสถานการณ์แหลง่ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 13

ศาลากวง

ศาลากวงเป็นโบราณสถานตัวแทนแห่งการตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน โดยมี
ศิลาจารกึ ภาษาจีน กล่าวถึงการสร้างสาธารณประโยชน์คืนให้แก่ประชาชนและให้แก่
แผ่นดินแห่งนี้เพอื่ สืบสานเจตนารมย์ต่อจากบรรพบุรุษ อน่ึง ค�ำว่า “กวง” ในภาษา
จนี กลาง มคี วามหมายวา่ แสงสวา่ ง ดงั นน้ั จงึ สนั นษิ ฐานวา่ สถานทแ่ี หง่ นหี้ มายถงึ ศาลา
ทม่ี แี สงไฟ ลกั ษณะของศาลาเปน็ อาคารกอ่ อฐิ และปนู ยกพื้น ผงั อาคารเปน็ ทรงสเ่ี หลยี่ ม
ผืนผ้า ภายในมีลักษณะเป็นอาคารโล่ง ซ่ึงใช้เป็นศาลาท่ีพักส�ำหรับคนเดินทางใน
สมยั ก่อน ปจั จบุ ันยังคงเหลือเพียงซากอฐิ หลงเหลือใหพ้ บเหน็

14 รายงานสถานการณแ์ หล่งส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 15

ศาลาหลบเสอื

ศาลาหลบเสอื เปน็ ศาลาทสี่ รา้ งขึน้ ในพทุ ธศตวรรษที่ 24 สมยั พระบาทสมเดจ็
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 ตั้งอยู่บนเส้นทางเดินโบราณระหว่างบ้านหัวเขา-
สทงิ หม้อ โดยเมืองสงขลาแหลมสน แต่เดมิ น่ันมเี สอื อยู่เยอะ จึงมีการสรา้ งศาลาข้ึนมา
เพือ่ เอาไว้พักหลบเสือ และใช้ส�ำหรับพักแรมในเวลา ลักษณะอาคารแสดงให้เห็นถึง
สถาปัตยกรรมท้องถน่ิ แดนใต้ในยุครัตนโกสินทร์ หลายคนบอกว่าศาลาแห่งน้ีสร้างขนึ้
เปน็ อนสุ รณก์ ารปราบเสอื ของพระยาวิเชยี รครี ี (เถยี้ นเสง้ ) ในครงั้ นนั้ ทา่ นไดพ้ าชาวบา้ น
ออกไปล้อมจับเสือและยิงเสือตาย ชาวบ้านจึงเรยี กขนานนามท่านว่า “พระยาสงขลา
เสือ”

16 รายงานสถานการณแ์ หลง่ ส่งิ แวดล้อมศลิ ปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 17

บ่อเกง๋

บอ่ เกง๋ คอื ปราการรกั ษาดา้ นหนา้ ของเมอื งสงขลาแหลมสน สรา้ งขน้ึ ประมาณ
ปลายพุทธศตวรรษท่ี 24 ประกอบด้วยแนวก�ำแพง ท่ีต้ังปืนใหญ่ ซุ้มประตู บ่อน�้ำและ
ศาลาทพ่ี ัก โดยหลงั คามรี ปู ทรงแบบเก๋งจีน จงึ เปน็ ที่มาของชือ่ “บ่อเก๋ง” หลงั จากมกี าร
ย้ายเมืองสงขลามายังฝั่งบ่อยาง (ตัวเมืองสงขลาในปัจจุบัน) ท�ำให้สถานที่แห่งน้ี
ถกู ปลอ่ ยรา้ งไป แตช่ าวบา้ นยงั คงใชป้ ระโยชนจ์ ากบอ่ นำ้� จดื บรเิ วณนใ้ี นการอุปโภคบรโิ ภค
ปจั จุบนั มีซมุ้ ประตูท่ยี ังคงสภาพคอ่ นข้างสมบูรณ์ และซากโบราณสถานหลงเหลอื ไว้ให้
ไปเย่ียมชม

18 รายงานสถานการณแ์ หลง่ ส่ิงแวดลอ้ มศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 19

สสุ าน เจ.ว.ี ลาร์เซน

หลุมฝังศพของ เจ.ว.ี ลารเ์ ซน มชี ือ่ กำ� กบั “V.J. LARSEN” มีกำ� กบั ประเทศ
ว่า “เดนมาร์ก” ท้ังยงั มคี �ำวา่ “Maskinmester" หมายความวา่ ชายคนนม้ี ีอาชีพเป็น
“หัวหน้าช่างวศิ วกร” โดยชายคนน้ีเกิดในปี ค.ศ.1875 ณ ประเทศเดนมาร์ก และมา
เสียชีวติ ท่ี “Singora” ชอ่ื เมอื งสงขลา (เดิม) ในปี ค.ศ.1909 นัน่ คอื หวั หน้าชา่ งคนน้ี
เสยี ชีวติ ตอนอายุ 34 ปี (พ.ศ.2418 - 2452) ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้
เจา้ อยู่หวั

20 รายงานสถานการณ์แหล่งสง่ิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม

แหล่งท่องเทยี่ ว
ทางด้านศาสนสถาน

(Religious places)

รายงานสถานการณ์แหลง่ สิ่งแวดลอ้ มศลิ ปกรรม 21

22 รายงานสถานการณ์แหลง่ สงิ่ แวดล้อมศลิ ปกรรม

วดั สุวรรณคีรี (Suwan Khiri Temple)

วัดสุวรรณคีรี ถือเป็นวัดที่ส�ำคัญประจ�ำเมืองสงขลาฝั่งแหลมสน สร้างขนึ้
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตน้ โดยเจา้ เมอื งสงขลา ภายในอโุ บสถประดิษฐานพระพุทธรปู
ปางมารวชิ ัย มีภาพจติ รกรรมฝาผนังที่งดงาม เจดีย์ก่ออิฐฉาบปูนตกแต่งด้วยปูนปั้น
ศิลปะอทิ ธิพลตะวนั ตก เจดีย์จีนทำ� ดว้ ยหนิ แกรนิต หอระฆงั ซุ้มเสมาประดับด้วยปนู ปนั้
ที่ละเอียดงดงาม และมีองค์ประกอบทางภูมสิ ถาปัตยกรรมท่นี ่าสนใจ

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดล้อมศิลปกรรม 23

นอกจากนน้ั วดั สวุ รรณคีรีในสมยั สมยั ธนบุรี สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ ฯ ตอ้ ง
รวบรวมบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่นด้วยการออกว่าราชการและบัญชาการรบอยู่เรือ่ ย ๆ
หน่งึ ในเมอื งทีพ่ ระองค์ต้องลงมาว่าการสงครามดว้ ยตัวเอง คอื สงขลา แหลมสน ราว
พ.ศ.1131 นน่ั เอง พงศาวดารเมอื งสงขลา เรยี บเรยี งโดยพระยาวิเชยี รคริ ี (ชม) เมอ่ื ยงั
เป็นพระยาสุนทรานุรกั ษ์ บนั ทกึ เรื่องราวน้ีไว้ว่า เมอ่ื ศักราช 1131 (พ.ศ.2312) ปฉี ลู
เอกศก สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ยกกองทัพหลวงมาตีเมืองนครศรธี รรมราชแตกแล้ว
เลยยกกองทพั มาตงั้ อยู่ ณ เมอื งสงขลา หลวงสงขลาวเิ ถยี นหนสี มเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ฯ
ไปกับเจ้าเมืองนครศรธี รรมราช สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ตั้งให้นายโยม คนชาวเมือง
สงขลาเปน็ พระสงขลาเพ่ือปกครองเมอื งสงขลาฝง่ั แหลมสน และในคราวเดยี วกนั นนั่ เอง
ยังตง้ั ชาวจนี คนหนง่ึ ช่อื นายเหยยี่ ง แซเ่ ฮา เป็น หลวงอินทคีรีสมบัติ นายอาการรังนก
เกาะส่ีเกาะห้า และเลื่อนต�ำแหน่งเป็น หลวงสุวรรณคีรีสมบัติ ปกครองเมืองสงขลา
(ต้นสายสกลุ ณ สงขลา)

24 รายงานสถานการณ์แหล่งสง่ิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม

ว่ากนั ว่าคราวน้ันสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ ฯ ประทับอยรู่ าว 1 เดือน จากหลกั
ฐานทางวชิ าการค้นพบว่า พระองค์ทรงว่าราชการอยู่ท่ี วัดสุวรรณคีรี ต�ำบลหัวเขา
อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา และปรากฏหลักฐานว่าเป็นสถานท่ีตั้งพลับพลาของ
สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช เนอ่ื งจากมกี ารพบแนวฐานอฐิ เปน็ จำ� นวนมาก พบเคร่อื ง
กระเบอื้ งจีนราวปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยา นอกจากนบ้ี รเิ วณแห่งน้เี ป็นเนนิ สามารถมองเห็น
ทพั เรือทแ่ี ลน่ เข้ามา และสามารถหลบคลนื่ ลมได้เหมาะแกก่ ารว่าทพั น่ันเอง

รายงานสถานการณแ์ หล่งส่ิงแวดล้อมศลิ ปกรรม 25

วัดบ่อทรพั ย์ (Bor Sub Temple)

วัดบ่อทรัพย์ สร้างข้นึ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นวัดส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง
ในสมัยท่ีสงขลาต้ังเมืองอยู่บริเวณฝั่งแหลมสน ภายในบรเิ วณวัดมีอุโบสถรูปแบบ
เรยี บง่าย มีหลังคาโดยรอบเป็นซุ้มโค้งกลม ซ่ึงได้รับอิทธิพลจากตะวันตก และกุฏิไม้
แบบไทยพื้นถิ่นภาคใต้ บริเวณบนั ไดทางขึ้นวดั จะมบี อ่ นำ้� พน้ื เมอื งทเี่ รียกวา่ “บอ่ ซบั ” ซง่ึ
เป็นบ่อน้�ำขนาดใหญ่ซึมซับน้�ำที่ลงมาจากภูเขา ขอบบ่อเป็นอิฐโบราณ ภายนอกฉาบ
ปูนขาว นอกจากนี้ยังมีหลักฐานส�ำคัญของการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพรเพือ่ การ
รักษาโรคระบาดในอดตี เช่น บ่อแช่ว่าน เสาธงอุณาโลม และทวดเจ้าเขาเขียว

26 รายงานสถานการณแ์ หล่งสิ่งแวดลอ้ มศลิ ปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 27

วดั ศิริวรรณาวาส (Siriwannawat Temple)

วดั ศริ ิวรรณาวาส เปน็ วดั โบราณเมอื งสงขลา สรา้ งข้ึนโดยเจา้ เมอื งตน้ ตระกลู
ณ สงขลา ในสมัยรัตนโกสินทรต์ อนตน้ เปน็ สถาปตั ยกรรมรปู แบบไทยผสมจนี ภายใน
อุโบสถมีพระพทุ ธรูปปูนปั้นศิลปะพน้ื บ้านฝีมือช่างท้องถ่นิ ล้อมรอบด้วยก�ำแพงแก้ว
มซี มุ้ เสมารอบอโุ บสถ ประตทู างเขา้ เปน็ ซมุ้ ประตแู บบจีน หลงั คามงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งดนิ เผา
เกาะยอ นอกจากนี้บรเิ วณวัดยงั ปรากฏซากหอระฆงั เก่าทีเ่ หลอื แต่ฐานและบนั ไดให้เห็น
แต่ยังคงปรากฏร่องรอยของสถาปัตยกรรมท่ีทรงคุณค่าท้ังทางภูมิปัญญาและจิตใจ
ไว้ให้ชนรุน่ หลงั ได้มาเยี่ยมชม

28 รายงานสถานการณ์แหล่งสง่ิ แวดลอ้ มศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 29

วัดภูผาเบิก (Phupha Boek Temple)

วดั ภผู าเบกิ เปน็ ศาสนสถานและโบราณสถานสำ� คญั สรา้ งในสมยั รตั นโกสนิ ทร์
ตอนต้น ปี พ.ศ. 2370 เอกลักษณ์ของวัดแห่งนี้คือสถาปัตยกรรมผสมตะวันตกท่ีมี
ความโดดเด่น มีการวางผังวัดและการท�ำก�ำแพงก้ันด้วยหินภูเขา 3 ระดับ มีทางเดิน
เป็นข้ันบันไดที่ปูด้วยอิฐดินเผาโบราณ ซ่ึงสะท้อนถึงอัตลักษณ์เครอื่ งดินเผาเกาะยอ
ภายในวัดประกอบด้วยอโุ บสถ ศาลาการเปรยี ญโบราณและกุฏิเรือนไทย ในอดีต
วดั ภูผาเบกิ ยังใช้เป็นสถานท่ีส�ำหรับเลา่ เรียนภาษามคธ

30 รายงานสถานการณแ์ หลง่ สง่ิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 31

วดั เขานอ้ ยและเจดยี ์เขานอ้ ย
(Khao Noi Temple and Khao Noi Pagoda)

วดั เขานอ้ ย เปน็ วดั แตโ่ บราณยคุ พทุ ธศาสนามหายานแหง่ ศรีวชิ ยั มปี ชู นยี วตั ถุ
และปชู นยี สถานทสี่ ำ� คญั คอื เจดยี ว์ ดั เขานอ้ ย ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นยอดเขา ลกั ษณะของเจดยี ์ไมม่ ี
การเจอื ปนู และการจดั วางอฐิ ไม่เปน็ ระบบ ฐานเจดีย์เปน็ รูปสเ่ี หล่ยี มจัตุรัส องค์เจดียเ์ ป็น
ซากปรกั หักพงั เหลือเพียงฐานซ่ึงมีซ้มุ ประตแู บบรปู โคง้ แหลม เปน็ แบบชา่ งสมัยศรวี ิชยั
พทุ ธศตวรรษที่13 -18 ภายในมพี ระพทุ ธรูปปนู ปนั้ ปางมารวิชยั เจดียว์ ดั เขานอ้ ยได้รบั
การบูรณะต่อเติมกันมาหลายยุคเป็นเวลาหลายร้อยปี ปัจจุบันยังเหลือร่องรอย
ส่วนฐานของเจดียแ์ ละเศษอฐิ โบราณไว้ใหเ้ ยี่ยมชม

32 รายงานสถานการณแ์ หล่งส่ิงแวดลอ้ มศิลปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 33

ทวดเขาแดง (Khao Daeng Great Grandfather)

ทวดหวั เขาแดง เป็นสิง่ ศักด์สิ ิทธ์ปิ ระจ�ำหัวเขาแดง คนทอ้ งถิน่ เช่อื ว่าเป็นเทพ
ที่สถิตอยู่ ณ หัวเขาแดง ปากน�้ำเมืองสงขลามาต้ังแต่ครั้งโบราณกาล เช่ือว่าท่านจะ
คมุ้ ครอง ปอ้ งกนั รกั ษา และใหโ้ ชคแกเ่ มอื งสงขลา ตอ่ มาในยคุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ มกี าร
สรา้ งศาลาประดิษฐานทวดหัวเขาแดงไว้อย่างถาวร เป็นสถาปตั ยกรรมจนี คลา้ ยศาลา
เรียกว่า “ศาลาทวดหัวเขาแดง” ภายในศาลาแห่งนี้มีรูปจ�ำลองแกะสลักของ “ทวด
เขาแดง” และ “พระเอ็งบ้วนต๊ะ” เทพองค์ส�ำคัญองค์หน่ึงของฝ่ายบุ๋น เป็นแม่ทัพท่ี
ชาวจีนต่างนับถือมาก ทวดจะคอยคุ้มครองและให้โชคลาภแก่ชาวเมืองสงขลาและผู้ท่ี
เดินทางผา่ นไปมาท้ังทางบกและทางทะเล

34 รายงานสถานการณ์แหลง่ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม

แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
ทางด้านวถิ ชี วิ ิต

(Way of life)

รายงานสถานการณแ์ หล่งส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม 35

กลุ่มสตรีชุมชนตำ� บลหวั เขา

(The women’s group of Hua Khao subdistrict’s Community)

กลมุ่ สตรีชมุ ชนตำ� บลหวั เขา เปน็ การรวมกลมุ่ กนั ของสตรีในตำ� บลหวั เขา เพอ่ื
พัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนให้เป็นท่ีรู้จัก ได้แก่ น�้ำมะม่วงเบา ภายใต้
แบรนด์ ซงิ โก้ (SINGO) มะมว่ งเบาแชอ่ ่ิม แยมมะมว่ งเบา นอกจากนย้ี งั มผี ลติ ภณั ฑจ์ าก
ทะเล ทั้งปลาเกลด็ ขาวทอดขมน้ิ ปลาเกล็ดขาวสามรส ปลาหมกึ หวาน ปลาข้างเหลือง
สามรส ปลาข้างเหลืองรสด้ังเดิม ซึ่งเป็นสินค้าที่มีคุณภาพดีและรสชาติอร่อย
นกั ท่องเทีย่ วสามารถซ้ือเป็นของฝากได้

36 รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดล้อมศิลปกรรม

แหล่งเรยี นรู้สมนุ ไพรแหลมสนสวุ รรณคีรี
(Laem Son Suwan Khiri Herbal Learning Center)

แหล่งเรยี นรู้สมุนไพรย่านชุมชนเก่าหัวเขา-แหลมสน จัดตั้งขึน้ โดย
หนว่ ยอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ จงั หวดั สงขลารว่ มกบั โรงเรียน
แพทย์แผนไทยเมืองสิงขระ เพอื่ ส่งเสริมให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพร
ด้านเภสชั กรรมไทยและการอนุรักษ์แหล่งสิง่ แวดล้อมศิลปกรรม

รายงานสถานการณแ์ หล่งสิ่งแวดลอ้ มศลิ ปกรรม 37

ท่าเรอื แหลมสน (Laem Son Pier)

ท่าเรือแหลมสน เป็นท่าเรอื ขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ทางฝั่งหัวเขาแดง ซึ่งใช้สัญจร
ไปมาและขนส่งสินค้าระหว่างฝั่งสงขลาและฝั่งแหลมสนต้ังแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ชาวบา้ นบรเิ วณนน้ี ยิ มใชเ้ สน้ ทางนี้ เพราะสะดวกและรวดเรว็ สว่ นบรเิ วณโดยรอบทา่ เรอื
มที ศั นยี ภาพอนั สวยงามของทะเลสาบสงขลาให้ไดเ้ ที่ยวชม

38 รายงานสถานการณ์แหลง่ สงิ่ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม

รายงานสถานการณ์แหลง่ ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม 39

ชุมชนสทงิ หมอ้ (Sathing Mo Community)

ชุมชนสทิงหม้อ ตั้งท่ีอยู่ในต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
มีช่ือเสียงในการท�ำเคร่ืองปั้นดินเผาแบบโบราณที่เรียกว่า เคร่อื งปั้นดินเผาสทิงหม้อ
ท่ีเป็นศิลปหัตถกรรมพืน้ บ้านประเภทหนึ่งที่น่าสนใจ มีเอกลักษณ์เฉพาะและเป็นอาชีพ
หลกั ของชาวบา้ นในชมุ ชนสทงิ หมอ้ เครอื่ งปน้ั ดนิ เผามรี ปู แบบและลวดลายทยี่ งั คงมคี วาม
เป็นพน้ื ถิ่นภาคใต้ ซ่ึงมีการท�ำมาเป็นระยะเวลานานถือเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ี
สร้างไว้ เพอ่ื ให้คนร่นุ หลงั สามารถสบื ทอดและอนรุ ักษ์ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินใหค้ งอยู่ตอ่ ไป

40 รายงานสถานการณ์แหล่งสิง่ แวดล้อมศลิ ปกรรม


Click to View FlipBook Version