The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยกิ๊บส่ง2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongbest.nonggrace, 2019-09-17 01:00:57

วิจัยกิ๊บส่ง2562

วิจัยกิ๊บส่ง2562

ชอ่ื เรื่อง การฝึกทักษะการอา่ นภาษาองั กฤษ ของนักเรยี นช้ันปวช. 1
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
ผวู้ จิ ยั นางณิชาภา ศรีธรณ์
ปีการศึกษา 256๒

บทคดั ยอ่

การวิจยั เร่ืองการฝึกทกั ษะการอ่านภาษาองั กฤษในคร้ังนี้ เนื่องจากผู้วจิ ยั เห็นว่าการอ่าน
เป็นกระบวนการหน่งึ ที่มีความสาคญั ในการพฒั นาทกั ษะทางภาษา โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นการ

สอนโดยใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะ กลุ่มตวั อย่างทใ่ี ช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนระดบั ช้ันปวช.1
ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา 2561 วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ซงึ่ ไดม้ าโดยการสมุ่ เลือก เครื่องมอื ที่
ใชใ้ นการวิจัย ได้แก่ แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ

ผลจากการวจิ ยั คร้ังน้พี บว่า

จากการเปรยี บเทยี บคะแนนการอา่ นของนักเรยี นกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ใน
การสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น พบว่าค่าคะแนนทางสถิตกิ อ่ นทาการทดลองคะแนนของกลุ่ม
ทดลองมีค่าเฉลย่ี เป็น 12.73 และคะแนนของกลุ่มควบคุมมคี ่าเฉลี่ยเปน็ 10.73 และหลงั ทา
การทดลองคะแนนของกลมุ่ ทดลองมคี า่ เฉล่ียเปน็ 21.40 และคะแนนของกลมุ่ ควบคุมมีคา่ เฉลีย่
เป็น 17.46 ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งกันมากอยา่ งเห็นไดช้ ัด ซ่ึงปฏิเสธสมมติฐานทีต่ ้งั ไว้ แสดงว่ากล่มุ
ทดลองมีคะแนนการอ่านสงู กว่ากลุ่มควบคมุ เด็กสามารถเรียนการอา่ นได้ดี และรักการอา่ นมาก
ขึ้น บง่ บอกถงึ ประสิทธผิ ลของเครอ่ื งมอื ในการใช้ ทีท่ าการทดลองเป็นเรอ่ื งที่เรียงลาดับจากเร่ือง
งา่ ยไปเร่ืองยากและมีภาพประกอบรวมทั้งแบบฝึกหัดท่ีเด็กจะสามารถอ่านได้ง่ายและนา่ สนใจ เป็น
การเร่ิมต้นใหเ้ ด็กฝึกและหดั อ่าน เพราะเด็กสามารถจดจาคาศัพทไ์ วใ้ นหน่วยความจา จึงสามารถ
อา่ นจับใจความได้เม่ือมีการทดสอบภายหลงั

บทที่ 1

บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา

การอา่ นเปน็ กระบวนการที่มคี วามสาคญั ตอ่ มนุษย์ไม่น้อยกว่ากระบวนการทักษะ
ด้านอื่น ๆ ของมนุษย์ ดงั ที่ Francis Bacon ได้กล่าวไว้เม่อื 360 กว่าปีท่ีแลว้ ว่า “ การอา่ น
ทาใหม้ นุษย์สมบูรณ์ การประชุมทาให้มนุษยพ์ รอ้ ม และการเขียนทาใหเ้ ป็นมนุษยท์ ่ีแท้จรงิ ”
ความคิดเห็นเกีย่ วกบั นิยามของการอ่านนั้นแตกต่างกนั ออกไป บางกลุ่มจะเน้นให้ความสาคญั ใน
เรอ่ื งของการถอดรหสั (Code Cracking) แตบ่ างกลุ่มจะให้ความสาคัญในเรื่องของความหมาย
(Meaning) เป็นการยากในการใหค้ านิยามของการอา่ นใหค้ รอบคลมุ ในทกุ ๆ ด้าน การอ่านน้นั มี
หลายแบบ การอ่านกระ ทาโดยมีวัตถุประ สงค์หลาย ๆ ประการ ท้ังยังต้องการความรู้
ความสามารถ พ้นื ฐานหลายอย่างประกอบกันเพอ่ื การอา่ น Gibson และ Levin (1975 อ้าง
โดย Downing และ Leong, 1982) ได้ให้คานิยามของการอ่านว่า การอ่านเป็นการแยก
ความหมายออกจากเนือ้ หา (Text) โดยคาวา่ “ เนื้อหา ” มีความหมายรวมตงั้ แต่ ส่ิงพิมพ์
รปู ภาพ กราฟ แผนกูมิ และวัสดอุ ุปกรณ์เพ่ือการอา่ นอน่ื ๆ การให้ความหมายของการอา่ น
ข้นึ อยกู่ ับการใหค้ วามสาคญั หรอื ความเชื่อ มุมมอง รวมถงึ วัตถุประสงค์ของการศึกษาการอา่ นก็มี
ผลในการให้คานิยามของการอ่านด้วย และยังให้ความสาคัญกับการอ่านในเรื่องการเข้าใจ
ความหมายโดยสมบูรณ์ ไมใ่ ชก่ ารอา่ นแบบผา่ น หรอื อ่านแบบเร็ว

การอ่านเป็นการทางานร่วมกันของประสาทรับรูท้ างสายตาและกระบวนการ
จดั การข้อมลู ( Information Processing System ) ในสมอง โดยเริ่มด้วยสญั ญาณภาพผ่าน
ไปท่ีตาแล้วเกิดการบันทกึ การรับรู้ ( Sensory Store) จากน้นั ก็ไปเกบ็ อยใู่ นความจาระยะสัน้

( Short Term Memory) และความจาระ ยะ ยาว ( Long Term Memory) (Benjamin
และคณะ, 1994 ) การอ่านในลกั ษณะของการสะกดคา ( Phonic)

จะเป็นการทางานของสมองซกี ซา้ ย ซึง่ จะเปน็ การทางานในลักษณะของการวเิ คราะหแ์ บบอนกุ รม
( Serial ) ส่วนการอา่ นแบบอ่านรูปคา (Whole Word) จะเป็นการทางานของสมองซีกขวา
ซึง่ จะมีการทางานแบบขนาน ( Parallel ) คือ มลี ักษณะแบบโดยรวม ( Holistic) (Rayner

และ Pollatsek, 1989) จะเหน็ ได้ว่าการอ่านถอื เป็นสิ่งสาคัญอนั ดับแรกของการสอนภาษา ถ้า
ผ้เู รียนมีความพรอ้ มหรือวุฒิภาวะถึงข้ันหรือถงึ ระดบั ท่สี มควรแลว้

การเรียนการอ่านก็จะประสบความสาเร็จได้ไม่ยากนัก และถ้ามีการพัฒนา
องคป์ ระกอบความพร้อมในการอ่านให้สูงขนึ้ เด็กก็จะสามารถเรียนท่ีจะอา่ นได้ไมว่ า่ จะใช้วิธกี าร
สอน หรือกิจกรรมอะไรก็ตามมาชว่ ยสอน ดงั น้ีการเตรียมความพร้อมของเด็กทาให้เกิดความ
ม่นั ใจในตนเองและเกดิ ความสนใจในการเรยี น ( นฤนาท, 2532 ) ดังนนั้ การเพิ่มประสบการณ์
ในการอ่านให้เด็กจึงเป็นเรื่องท่ีน่าสนใจท่ีจะศึกษ า เพราะในปัจจุบันเด็กบางส่วนยังขาด
ประสบการณ์ในการอ่าน ตคี วาม และแปลความหมายของประโยค การผา่ นประสบการณท์ ีไ่ ด้
ฝึกฝนการอ่าน และการรับร้ตู า่ ง ๆ อย่างทันทว่ งที จะทาใหเ้ ด็กสามารถเรียนร้กู ารอ่านได้โดยไม่
ตอ้ งรอ

ในการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ การอา่ นกเ็ ป็นอีกปัญหาหนงึ่ ที่ผู้สอนจะพบได้บอ่ ย
ภาษาองั กฤษเปน็ ทกั ษะพน้ื ฐานทีส่ าคญั ของผู้เรียน ผเู้ รียนจะมสี มั ฤทธผิ์ ลทางการเรียนไดก้ ็ตอ่ เม่อื
ได้พฒั นาทักษะทง้ั 4 ควบคไู่ ปดว้ ยกนั จากการสังเกตเหตผุ ลทนี่ กั เรียนไม่ประสบความสาเร็จใน
การเรยี นภาษาอังกฤษ เน่อื งจากผูเ้ รยี นละเลย ไม่ตระหนักถึงความสาคญั ในการอ่านและสะกด
คาศัพท์ครูผูส้ อนจงึ ควรหากลวิธที าให้เด็กหนั กลบั มาสนใจทักษะการอา่ นเพิ่มมากข้ึนดงั น้ันผู้วิจัยจงึ
เหน็ ควรนาเร่ืองการอา่ นมาทาวจิ ัย

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
1. เพอ่ื มีทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษมากข้นึ
2. เพ่ือมีเจตคติทดี่ แี ละรกั การอ่านภาษาองั กฤษ
3. สามารถนาไปใชไ้ ด้จรงิ ในชีวิตประจาวันและสอดแทรกนิสยั รักการอ่านใน

กจิ กรรมทจ่ี ดั ขนึ้

สมมตฐิ านของการวิจยั
คะแนนทดสอบการอา่ นของนักเรียนหลังการทดลองมีคะแนนสูงกวา่ การอ่านของ

นกั เรียนกอ่ นการทดลอง

ขอบเขตการวจิ ัย

1. กลุ่มตวั อยา่ งเปน็ นักเรียนท้ังชายและหญิงในระดับปวช.1 ทก่ี าลังศึกษาในภาค
เรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา 2561 ของวิทยาลัยเทคนคิ ระยอง

2. เนอ้ื หาและรูปแบบท่ีใชส้ อนเพื่อฝึกทกั ษะการอ่านได้ใชแ้ บบฝึกทกั ษะการอา่ น
ทีไ่ ด้สร้างขนึ้ เองเพ่อื เนน้ การฝกึ อา่ นจับใจความ

3. การวิจัยครั้งนี้ไม่คานึงถึงความแตกต่างทางเพศ การอบรมเล้ียงดูทางบ้าน
ตลอดจนฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครวั เพราะมงุ่ จะศึกษาเฉพาะการวจิ ัยที่ส่งผล
พฒั นาดา้ นการอ่านของเด็กเทา่ นน้ั
ระยะเวลา

ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา 2561
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั

1. ทาให้รปู้ ระสิทธิภาพของการฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่ส่งผลต่อการ
พฒั นาการอา่ นอยา่ งตอ่ เนื่อง

2. เป็นแนวทางสาหรบั ครูผ้สู อน และผู้ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั เดก็ ในการฝึกทกั ษะการอ่าน
ภาษาอังกฤษให้กับเดก็

3. เป็นแนวทางในการค้นคว้า วิจัย เกี่ยวกับการฝึกทักษ ะในการอ่าน
ภาษาอังกฤษของเด็กต่อไป

บทท่ี 2

แนวคดิ ทฤษฏี และงานวิจยั

งานวิจยั เรอื่ งนี้ ผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาทฤษฏี แนวคดิ และงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้องตามลาดับ
ดงั นี้

1. ความหมายของการอ่าน
2. ความพร้อมในการอา่ น
3. องค์ประกอบของความพรอ้ มในการอา่ น

1. ความหมายของการอา่ น
ปัจจุบนั มกี ารศกึ ษาเกย่ี วกับการอา่ นอยา่ งกว้างขวางและมกี ารกล่าวถงึ ความหมาย

ของการอา่ นไวอ้ ย่างหลากหลาย อาทิเชน่

ประเทนิ ( 2530 ) ไดใ้ ห้ความหมายของการอ่านไวว้ ่า เปน็ กระบวนการในการ
แปลความหมายของอกั ษรหรอื สญั ลักษณ์ที่มีการจดบันทกึ ไว้ การอา่ นเป็นกระบวนการทซ่ี ับซ้อน
ลักษณะของการอ่านต้องทาความเข้าใจความหมายของเรือ่ งทีอ่ ่าน ความหมายดังกล่าวมิไดเ้ กิด
จากตวั อักษรหรือสัญลักษณท์ ี่อ่านเท่านั้น แตข่ ึ้นอยู่กับการกระตุ้นให้เกดิ ความคิดรวบยอดหรือ
จินตนาการของผู้อ่านเป็นสาคัญ โดยอาศัยพ้ืนฐานประ สบการณ์เดิมของผู้อ่าน จึ งเป็น
กระบวนการทีป่ ระกอบด้วยการแปลความการตอบสนอง การกาหนดความมุ่งหมาย และการ
จัดลาดับ เม่ือผู้อ่านไดร้ ับข่าวสารจากส่งิ ตีพมิ พก์ ็สามารถออกเสยี งและทาความเข้าใจเรอ่ื งราวโดย
การถ่ายทอดความคดิ ความรสู้ ึกและจินตนาการ จากผู้เขยี นส่ผู ู้อา่ นโดยผา่ นสื่อสิ่งพิมพ์ เพ่ือ
รับรวู้ ่าผู้เขียนคดิ อะไร พูดอะไร สามารถทาความเขา้ ใจกบั ส่ิงท่ตี นเองอา่ นไดท้ ้ังหมาดจนสามารถ
นาความคิดนน้ั ไปใชใ้ ห้เป็นประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ได้

ราชบัณฑิตยสถาน (2525) ใหค้ วามหมายของการอ่านไวใ้ นหนังสือพจนานกุ รม
วา่ การอ่านเปน็ การออกเสยี งตามตัวหนังสอื หรอื การเข้าใจความหมายจากตัวหนงั สือ สงั เกตหรือ
พิจารณาดเู พอ่ื เข้าใจ

บันลือ (2538) การอ่านเป็นการพัฒ นาความคิด โดยที่ผู้อ่านต้องใช้
ความสามารถหลาย ๆ ด้าน เช่น การใชก้ ารสังเกตจารูปคา ใช้สตปิ ญั ญาและประสบการณเ์ ดิม
ในการแปลความ หรอื ถอดความใหเ้ กิดความเข้าใจเรือ่ งราวที่อ่านไดด้ ี โดยวิธอี ่านแบบนี้จะตอ้ ง
ดาเนนิ การเป็นข้ันตอนและต่อเนอ่ื ง

Downing และ Leong (1982) การอ่านคือ การแปลความหมายของ
สัญลักษณ์

Fries ( 1963 อ้ า ง โด ย Downing แ ล ะ Leong, 1982 ) ก า ร อ่ า น
ประกอบดว้ ยการเปลยี่ นสัญลกั ษณ์ทางการได้ยินไปเปน็ สญั ลกั ษณท์ างสายตา

Elkonin (1973 อ้างโดย Downing และ Leong, 1982 ) การอ่านเป็น
การสร้างคาพูดในรปู แบบของเสยี งจากลักษณะของรูปแบบของการเขียน

จากความหมายดงั กล่าวสามารถสรุปได้ว่า การอ่านคือกระบวนการทีซ่ ับซ้อนท่ี
สามารถถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและจินตนาการของผู้เขียน โดยผ่านการแปลความหมาย
หรือตีความจากตวั อกั ษร เครอ่ื งหมายหรือสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ โดยอาศัยประสบการณแ์ ละความคิด
รวบยอดเดมิ ของผู้อา่ นเป็นพื้นฐาน เพื่อกอ่ ให้เกิดความเข้าใจในเร่ืองราวนัน้ ๆ และสามารถทา
ความเขา้ ใจท่ีเกิดใหเ้ ปน็ ประโยชนด์ ้านในด้านหนง่ึ

2. ความพรอ้ มในการอา่ น
ประเทิน ( 2530 ) กล่าวว่า ข้ันของพัฒนาการซึ่งปจั จัยด้านส่ิงแวดลอ้ มและ

ปัจจยั ภายในร่างกายสง่ ผลให้เด็กพรอ้ มท่ีจะรับการสอนอา่ น นอกจากน้ัน ความพร้อมในการอา่ น
ยังหมายถงึ ช่วงเวลาท่เี ดก็ มคี วามเหมาะสมทจี่ ะเร่มิ สอนอ่านได้

บันลือ ( 2538 ) ให้ความหมายของการเตรียมความพร้อมในการอ่านว่า
หมายถงึ สภาพของเดก็ ท่ีมคี วามคลอ่ งท่ีจะใช้การผสานของตวั อักษรผสมเป็นคาอ่าน อา่ นเป็น
ประโยคหรือเรื่องราวแล้วได้รับความรู้ เช่น อา่ นบัตรคาประกอบภาพ อา่ นประโยคประกอบ
ภาพหรืออ่านเรื่องท่มี ภี าพประกอบ

นงเยาว์ ( 2522 ) กล่าวถงึ ความพรอ้ มในการอ่าน หมายถึง พฒั นาการระดับ
หน่งึ ที่จะทาใหเ้ ดก็ เรียนอา่ นได้โดยมีอุปสรรคไมม่ ากนัก หรือสามารถเรียนไดใ้ นอัตราเร็ว ซง่ึ เป็น
อัตราปกติสาหรบั คนทั่วไป พฒั นาการดังกล่าวนี้อาจเป็นพฒั นาเรอื่ งจากวุฒภิ าวะ (Maturation)
หรือจากการเรยี นที่ผ่านมา (Previous Learning) หรอื เกิดจากอิทธิพลของท้ังสองส่ิงประกอบ
กนั ฉะนน้ั ความพร้อมในการเรียนอา่ นซง่ึ ประกอบด้วยตัวประกอบมากมายทม่ี ีความสัมพันธต์ ่อ
กนั ในอนั ทจ่ี ะชว่ ยใหก้ ารเรียนการอา่ นเป็นไปอยา่ งราบรื่น

Humphrey และ Joy ( 1990 ) กล่าววา่ ความพร้อมในการอ่านต้องคานึงถึง
ส่วนประกอบของความสามารถทางพ้ืนฐานและสิง่ แวดล้อมหลายประการ ไมใ่ ชเ่ พียงปจั จัยใด
ปัจจัยหน่งึ ซึ่งประกอบด้วยความสามารถในการมองเห็น ประสานการรบั รู้ทางเสยี ง ความ
แตกต่างทางเพศ อายุ และปจั จัยทางดา้ นสงั คมเศรษฐกิจ

3. องค์ประกอบของความพรอ้ มในการอ่าน

สิ่งสาคัญทีช่ ่วยใหก้ ารอ่านประสบผลสาเรจ็ ไดเ้ ป็นอย่างดีก็คอื ความพร้อม เพราะ
ถา้ นกั เรียนถูกบงั คับให้เรยี นทกั ษะใดทักษะหนึ่งโดยทยี่ ังไมม่ วี ฒุ ิภาวะ
เพยี งพอนั้น ย่อมก่อใหเ้ กิดผลเสยี มากกวา่ ผลดี ประมวล (2509) กล่าววา่ การเรยี นรขู้ องเด็ก
ทีต่ ิดตัวมาจากบา้ นมีประโยชนต์ ่อการเริ่มเรียนของเด็กเป็นอย่างมาก ถา้ เดก็ มีพื้นฐานดมี ากอ่ นเขา้
โรงเรียนเดก็ ก็พรอ้ มท่จี ะรับการสอน

Harris (1968) ให้ความเห็นเกี่ยวกับความพร้อมในการอ่านว่า การอ่านก็
เช่นเดียวกับการเดิน เด็กจะอ่านได้ดีกต็ ่อเม่ือผ่านกระบวนการเติบโตและกระบวนการเรียนรู้
มาแล้วเปน็ เวลานานพอสมควร การอา่ นเป็นกิจกรรมท่ีสลับซับซ้อนย่ิงกว่าการเดนิ หลายเท่า
ต้องการทงั้ พัฒนาการทางรา่ งกาย ทางสมอง และการเรยี นรปู้ ระกอบด้วย เดก็ จะเรียนอา่ นได้ดี
กต็ อ่ เม่ือเด็กเข้าถึงภาวะหนึ่งซึ่งเรียกวา่ “ พร้อม ” ในภาวะเชน่ นี้เดก็ จะมีสงิ่ ตา่ ง ๆ ภายในตัว
ประกอบกันอยา่ งเหมาะสม ได้แก่ อายุ ความสามารถทั่วไป การรับรูท้ างสายตาและการเห็น
สุขภาพ ความเข้าใจและความสามารถในการพดู อารมณ์ ตลอดจนการปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับสังคม
และความสนใจในการอา่ น

งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

Thompson ( 1981 ) ได้ศกึ ษาบทบาทของผู้ปกครองในการพัฒนาการอ่าน
ของเดก็ ตามการรบั รู้และความต้องการของผู้ปกครอง โดยศึกษาจากผู้ปกครองของเด็กนกั เรียน
ชัน้ อนบุ าล นักเรยี นเกรด 1 เกรด 2 และเกรด 3 จานวน 192 คน จากการศึกษาพบว่า
ผปู้ กครองต่างรบั รู้วา่ ตนเองมสี ่วนท่จี ะช่วยใหเ้ ด็กมีการพฒั นาการอา่ นย่ิงขึ้น ผปู้ กครองส่วนมาก
จะปฏิบตั ติ นโดยการฟงั เด็กอ่านมากกวา่ ทจี่ ะอ่านออกเสียงให้เด็กฟงั ทง้ั ๆ ทก่ี ารอา่ นออกเสียงให้
เดก็ ฟังน้นั เป็นวิธีการท่สี าคัญในการพัฒนาการอ่านของเดก็ ผปู้ กครองเชอื่ ว่าตนเองมีอิทธิพลต่อ
การอ่านของเดก็ แตก่ ย็ ังเชือ่ ว่ามีอิทธิพลน้อยกว่าทางโรงเรยี น โดยเฉพาะครผู ้สู อน นอกจากน้ัน
ผู้ปกครองมีความต้องการข่าวสารข้อมูลท่ีจะช่วยในการพัฒนาการอ่านของเด็ก เพ่ือท่ีจะ
พัฒนาการอ่านของเดก็ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ

โดยสรปุ จากเอกสารและงานวิจัยพบว่า ในการเตรยี มความพร้อมด้านการอ่าน
ให้กับเด็กนน้ั สิ่งแวดลอ้ มเปน็ ปจั จัยหนงึ่ ทมี่ คี วามสาคญั ตอ่ การพฒั นาการดา้ นการอ่านของนกั เรียนให้
ได้ผลดี

บทท่ี 3

วิธีดาเนนิ การวิจยั

ประชากรทใี่ ชใ้ นการวิจยั
1. ประชากร คอื นกั เรยี นชาย – หญิง ช้นั ปวช. 1 โดยทาการวจิ ยั ในภาคเรียนที่
๑ ปีการศกึ ษา 256๑จานวน 294 คน
2. กลุ่มตัวอยา่ ง คือนักเรยี นชาย – หญิง ชนั้ ปวช. 1 จานวน 30 คน ขน้ั ตอน
การเลือกกลุม่ ตวั อย่างผวู้ ิจยั ได้ใช้การสมุ่ แบบเจาะจง (Purposive Sampling)
เน่ืองจากมีความพร้อมและยินยอมในกา รให้ความร่วมมือในการทดลอง
จากน้ันผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการคัดเลือกนกั เรียนช้ันปวช. 1
จานวน 30 คน เป็นกลุ่มทดลอง จานวน 15 คน และกลุ่มควบคุม
จานวน 15 คน เหตุผลในการกาหนดจานวนของนักเรียนในการวิจยั คือ
ต้องเป็นนกั เรียนที่มาเรยี นสมา่ เสมอ

ขัน้ ตอนการทดลอง
การฝกึ ทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษ ผวู้ จิ ยั ได้ดาเนินการสอนอา่ นเนอ้ื เรื่องและแปล

ประโยคให้กบั นกั เรียนช้ันปวช.1 โดยใชเ้ วลาในการสอนสัปดาหล์ ะ 2 คาบเรยี น คาบละ 50
นาที จานวน 12 คาบ เป็นเวลา 6 สัปดาห์

วิธีการหรอื นวัตกรรมท่ีใช้
ครูแบง่ กลุ่มนักเรียนกลมุ่ ละ 3 คน ครูกาหนดเรื่องทอ่ี ่านให้นกั เรียนได้อ่านและ

ชว่ ยกนั แปลความหมาย เรยี บเรยี งประโยคให้สละสลวย ครแู นะนาเพอื่ การใชภ้ าษาท่ถี ูกต้องตาม
หลักภาษาและมารยาทสงั คมของการใช้ภาษา และบนั ทกึ เน้ือเรือ่ งเปน็ ภาษาไทยจากเรื่องทอี่ ่าน
ตอบคาถามจากเนือ้ เรอื่ งเพื่อเป็นการวัดความเข้าใจเนื้อเรื่องอีกครั้ง ทาแบบฝึกหัดเก่ียวกับ
ไวยากรณ์โดยดงึ คาศพั ท์ และประโยคจากเรอื่ งทีอ่ า่ น

การเก็บรวบรวมข้อมลู
1. ระยะก่อนการทดลอง ผู้วิจยั ไดด้ าเนินการทดสอบก่อนการเรียน (Pre–test)

โดยใชเ้ นอื้ เรื่องภาษาองั กฤษ ให้นกั เรยี นไดอ้ า่ นและตอบคาถามตามเนอ้ื เรื่อง

2. ระยะทาการทดลอง ผู้วจิ ยั ได้ดาเนินการทดลองในภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา
256๑โดยนาเด็กกลมุ่ ทดลองมาสอนด้วยเนอื้ เรอ่ื งภาษาองั กฤษ ฝกึ การอา่ นการค้นหาความหมาย
จากการฝกึ เปิดพจนานุกรม หรือเดาความหมายจากประโยค เพื่อแ ปลเป็นภาษาไทยและตอบ
คาถามตามเนื้อเร่อื งหรอื ทาแบบฝกึ หัด

3. ระยะ หลังการทดลอง หลังจากเรียนจนครบตามกาหนดแล้ว ผู้วิจัยได้
ดาเนินการทดสอบหลังการทดลอง (Post – test) อีกคร้งั โดยผ้วู จิ ัยให้นกั เรยี นทาการทดสอบ
ชดุ เดมิ นาผลของคะแนนท่ีไดม้ าวิเคราะห์ทางสถติ ิ

สถานท่ีทาการทดลอง
วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง จงั หวดั ระยอง

สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู
X = X


แทนค่า X คา่ เฉล่ีย
X แทนผลรวมของคะแนนของผ้เู รยี น
แทนจานวนผ้เู รยี น


วิธีการวิเคราะหข์ อ้ มูล
วเิ คราะห์ข้อมูลเปรียบเทยี บคะแนนท่ีได้จากการสอบก่อนเรยี นและการสอบหลัง

เรยี น ระหวา่ งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

สมมติฐานที่ 1 คะแนนการทดสอบการอ่านของนักเรียนก่อนการทดลอง

ของกล่มุ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ไม่แตกตา่ งกันมาก

สมมติฐานที่ 2 คะแนนการทดสอบการอ่านของนักเรยี นหลงั การทดลอง

ของกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุมไมแ่ ตกตา่ งกันมาก

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

ตารางท่ี 1 ทดสอบก่อนเรยี น
คะแนนเตม็ 10 คะแนน รวม 30 คะแนน

กลุ่มทดลอง กลุม่ ควบคุม

คนท่ี ครั้งท่ี ครง้ั ที่ ครงั้ ที่ รวม คร้งั ท่ี คร้งั ที่ ครัง้ ที่ รวม

123 123

1 4 3 3 11 4 3 3 10

2 3 3 4 10 3 3 3 9

3 4 4 5 13 4 4 3 11

4 4 5 5 14 4 3 5 12

5 5 4 4 13 5 4 3 12

6 3 5 4 12 3 3 3 9

7 4 6 5 15 3 4 5 12

8 5 4 5 14 3 4 5 12

9 4 4 4 12 4 4 3 11

10 3 5 4 12 3 3 4 10

11 3 5 3 11 3 5 3 11

12 4 5 3 12 4 4 3 11

13 4 5 4 13 4 3 4 11

14 5 4 5 14 5 3 3 11

15 4 5 4 13 3 3 3 9

 X 189  X 161

X 12.73 X 10.73

จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ พบว่า เปน็ ไปตามสมมติฐานท่ี 1 ทต่ี ั้งไวค้ ือ
คะแนนทไี่ ดจ้ ากการทดสอบการอ่านของนกั เรียนกลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม ก่อนการทดลองไม่
แตกต่างกันมาก คือ กลมุ่ ทดลองมีผลรวมของคะแนนเป็น 191 และ และมีคา่ เฉลี่ยอยู่ที่
12.73 ส่วนกลมุ่ ควบคมุ มคี ะแนนเป็น 161 และมคี ่าเฉลี่ยอย่ทู ่ี 10.73 ตามลาดบั แสดงว่า
นักเรียนท้ังกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมนั้นมีวุฒิภาวะความพร้อม พ้ืนฐานความรู้ และ
ประสบการณ์ในการอา่ นนอ้ ย จึงทาใหค้ ะแนนทไี่ ดไ้ มแ่ ตกต่างกันมาก
ตารางที่ 2 ทดสอบหลังเรยี น

คะแนนเตม็ 10 คะแนน รวม 30 คะแนน

กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคมุ

คนท่ี คร้งั ท่ี ครัง้ ท่ี ครงั้ ที่ รวม ครั้งท่ี คร้งั ท่ี คร้ังที่ รวม

123 123

1 7 8 7 22 5 5 6 16

2 8 8 6 22 6 5 7 18

3 7 7 6 20 5 6 7 18

4 7 9 8 24 6 6 5 17

5 6 9 9 24 5 7 6 18

6 9 6 8 23 6 6 6 18

7 5 7 7 19 6 7 5 18

8 8 6 7 21 6 7 6 19

9 8 7 7 22 5 5 6 16

10 6 6 6 12 5 5 6 16

11 7 9 8 24 5 7 6 18

12 8 6 6 20 7 6 5 18

กลมุ่ ทดลอง กลุ่มควบคมุ

คนท่ี ครงั้ ท่ี ครง้ั ท่ี คร้งั ท่ี รวม ครั้งท่ี คร้งั ท่ี คร้งั ที่ รวม
123 123

13 8 8 9 25 6 5 7 18

14 8 6 9 23 6 5 6 17

15 5 7 8 20 6 5 6 17

 X 321  X 262

X 21.40 X 17.46

จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ พบว่า หลังทาการทดลองคะแนนของกลุ่ม
ทดลองมีผลรวมของคะแนนเป็น 321 โดยมีค่าเฉล่ียอย่ทู ่ี 21.40 และคะแนนของกลุ่ม
ควบคุมมผี ลรวมของคะแนนเปน็ 262 โดยมคี ่าเฉลีย่ อยู่ที่ 17.46 ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งกนั มาก
อย่างเหน็ ไดช้ ัด ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ 2 ท่ีต้ังไว้ แสดงว่ากล่มุ ทดลองมีคะแนนการอ่านสูงกว่า
กล่มุ ควบคุม

ตารางท่ี 3 การเปรียบเทียบคะแนนการอ่านของนักเรียนกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคุมก่อน
และหลังการทดสอบ

การทดสอบ  X X
191 12.73
กอ่ นการเรยี น กล่มุ ทดลอง 15 161 10.73
15 321 21.40
กอ่ นการเรียน กลมุ่ ควบคุม 15 262 17.46
15
หลังการเรยี น กลมุ่ ทดลอง

หลงั การเรียน กลมุ่ ควบคุม

จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถติ ิตารางท่ี 3 พบว่า กอ่ นทาการทดลองคะแนน

ของกลมุ่ ทดลองมีคา่ เฉลี่ยเป็น 12.73 และคะแนนของกลมุ่ ควบคุมมีค่าเฉล่ียเป็น 10.73 และ
หลงั ทาการทดลองคะแนนของกลุ่มทดลองมีคา่ เฉลยี่ เปน็ 22.46 และคะแนน

ของกลุม่ ควบคุมมีค่าเฉลี่ยเป็น 17.46 ซึ่งมคี วามแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด ซ่ึงปฏิเสธ
สมมตฐิ านที่ 2 ท่ีต้ังไว้ แสดงว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนการอ่านสูงกว่ากลุ่มควบคุม เด็กสามารถ
เรยี นการอ่านไดด้ ี และรักการอ่านมากข้ึน บ่งบอกถงึ ประสิทธผิ ลของเคร่ืองมอื ในการใช้ เน้ือเร่อื ง
ภาษาอังกฤษ SRA ท่ีทาการทดลองเป็นเร่ืองท่ีเรียงลาดับจากเร่ืองง่ายไปเรื่องยากและ มี
ภาพประกอบรวมทงั้ แบบฝกึ หดั ทเ่ี ด็กจะสามารถอา่ นได้งา่ ยและนา่ สนใจ เป็นการเริม่ ตน้ ให้เด็กฝึก

และหัดอ่าน เพราะเด็กสามารถจดจาคาศัพท์ไว้ในหน่วยความจา จงึ สามารถอ่านจับใจความได้
เมื่อมีการทดสอบภายหลัง สไุ ร (2525) กล่าวว่า การสอนอ่านมคี วามสาคญั และมคี ุณคา่ ต่อ
ผู้เรียนโดยเฉพาะอย่างย่งิ ในการสอนภาษาเพราะเป็นการเร้าความความสนใจของเดก็ มั่งทาให้
นกั เรยี นท่ีทากิจกรรมลมื ไปว่าตนกาลังเรียนอยู่ขณะที่ตนกใ็ ช้ภาษาไปด้วย ซึ่งทาให้นักเรียนใช้
ภาษาไดค้ ลอ่ งแคลว่ มากขึน้

บทที่ 5
สรุปและข้อเสนอแนะ
ความมงุ่ หมายของการศึกษาคน้ คว้า

เพ่ือศกึ ษาผลการพัฒนาผเู้ รยี นด้านทกั ษะการอา่ นแปลเร่ืองและจบั ใจความจาก
เนอื้ เร่อื งของ SRA โดยเปรยี บเทียบกบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระหว่างผู้เรยี นกลุ่มทดลองและ
ผู้เรยี นกลุ่มควบคุม

วิธีดาเนนิ การวิจัย
1. แหลง่ ข้อมลู และกลุ่มตวั อยา่ ง

ประชากรนักเรยี นชนั้ ปวช. 1 วิทยลยั เทคนิคระยอง จงั หวดั ระยอง
ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา 2561

2. เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ประกอบด้วย

- เนอื้ เรอ่ื งที่อ่านจาก SRA
- แบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
3. วิธีดาเนินการศึกษา
ผู้วจิ ยั ดาเนินการสอนในช่วั โมงเรียนปกตขิ องการเรยี นในภาคเรียนท่ี ๑ ปี
การศึกษา 2561

4. การเกบ็ ข้อมลู
4.1 แบบทดสอบก่อนเรียน
4.2 ดาเนินการสอนการอ่านเนอื้ เร่อื งจาก SRA
4.3 ทดสอบหลังเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบชุดเดิม
4.4 นาคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลังเรยี นมาวเิ คราะห์ทางสถิติ

การวิเคราะห์ข้อมูล

ผวู้ ิจัยได้วเิ คราะห์โดยเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นภาษาองั กฤษกอ่ นและ
หลังเรียนโดยใชส้ ูตร

X = X


แทนคา่ ค่าเฉลย่ี
X แทนผลรวมของคะแนนของผ้เู รียน
X แทนจานวนผ้เู รยี น


สรปุ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้

ผลจากการวเิ คราะหข์ ้อมลู สรุปได้ดังนี้

เปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ของผูเ้ รยี นซ่ึงไดร้ ับการสอนโดยใช้วธิ กี ารสอนการอา่ นของ
SRA ทาให้ผู้เรยี นในกลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นภาษาองั กฤษในด้านทักษะการอ่านดขี ้นึ

ข้อเสนอแนะ

1 วิธกี ารนีเ้ ป็นวิธหี นึ่งที่สามารถพจิ ารณานาไปใช้ในการสง่ เสรมิ พัฒนาการด้าน
การอา่ นของเด็ก เนื่องจากในการฝกึ ทักษะการอา่ นเด็กจะเกดิ ความพร้อมใน
ดา้ นต่าง ๆ คอื ร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาพรอ้ ม ๆ กนั ไป

2. สามารถประ ยุกต์ใช้เคร่ืองมือชนิดอื่น ๆ เพ่ือส่งเสริมการอ่าน เช่น
หนังสือพมิ พ์ วีดีโอ หรือ Multimedia ซึ่งจะมีภาพเคลื่อนไหวและมีเสียง
ประกอบเป็นการเพ่ิมความน่าสนใจในการอา่ น



บรรณานุกรม

บนั ลอื พฤกษะวนั . 2538. มติ ิใหม่ในการสอนอ่าน. สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ,
140 น.

ประมวล ดิคคนิ สัน. 2509. ความพร้อมทจี่ ะเรียนอา่ นของเด็ก จิตวิทยาการศึกษาของเด็ก.
หน่วยศกึ ษานิเทศน์ กรมการฝึกหดั ครู กระทรวงศกึ ษาธิการ, กรุงเทพฯ 114 น.

ประเทิน มหาขันธ.์ 2530. การสอนอา่ นเบ้ืองต้น. สานกั พิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 243
น.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. พจนานกุ รมฉบับราชราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525.
สานักพมิ พ์อกั ษรเจริญทศั น์. กรงุ เทพฯ 972 น.

สุไร พงษ์ทองเจริญ. 2525. วิธสี อนภาษาองั กฤษเป็นภาษาที่สอง. มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทร์
วิโรฒประสานมิตร, กรุงเทพฯ. 155 น.

Downing, J. and C.K. Leong. 1982. Psychology of Reading. Maemillan Publishing
Co., Inc., New York. 410 p.

Elkonin, D.B. 1973. U.S.S.R. Comparative reading. Cited by J. Downing and C.K.
Leong. 1982. Psychology of Reading. Maemillan Publishing Co.,
Inc., New York. 410 p.

Fries, C.C. 1963. Linguistics and reading. Cited by J. Downing and C.K. Leong.
1982. Psychology of Reading. Maenillan Publishing Co., Inc., New
York. 410 p.

Harris, A.J. 1968. How to increase Reading Ability : A Guide to Development
and Vemedio Methods. 4 th ed., David Mckay, New Youk. 325 p.

Humphrey, J.H. and N.H. Joy. 1990. Reading Con Be Child’s Play. Charles C.
Thomas Publisher, Illinois. 116 p.

Thomson, B.J. 1981. Parent’s perseptions of their roles and neesa as related to
their children’s reading development. Ph.D. thesis, State University
of New York, New York. (Diss. Abstr. 42 : 1079 -A 1080 – A)

รายงานการวจิ ยั ในช้ันเรียน

การฝกึ ทกั ษะการอ่านภาษาองั กฤษ

ภาคเรยี นท่ี๑ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

จดั ทาโดย

นางณิชาภา ศรธี รณ์
ครูอัตราจ้างหมวดวิชาภาษาตา่ งประเทศ

วิทยาลัยเทคนิคระยอง
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

กติ ติกรรมประกาศ

การทาวิจยั ในชน้ั เรยี นฉบับนผี้ ู้จดั ทาตอ้ งขอขอบพระคณุ คณะผู้บรหิ าร
คณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ตลอดจนคณะครรู ะดับชัน้ ปวช. 1 ท่ีไดช้ ่วยเป็น
กาลงั ใจ และให้คาแนะนาในการจัดทาตลอดจนการค้นหาข้อมูลในกระบวนการและขั้นตอนต่าง ๆ
ของการทาวิจยั ซ่ึงถอื เปน็ สว่ นสาคัญของการดาเนินการจัดทา และขอขอบใจนกั เรียนระดับชน้ั
ปวช. 1 วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง ท่ไี ดใ้ หค้ วามรว่ มมือในการดาเนินการทดลองและเกบ็ ข้อมลู เป็น
อย่างดี จนทาใหง้ านวิจัยฉบับนสี้ าเรจ็ ลุล่วงลงได้ด้วยดี

นางณชิ าภา ศรีธรณ์

คานา

การอ่านเปน็ ทักษะด้านหน่งึ ที่สาคัญมากในวิชาภาษาอังกฤษ เพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นให้
มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานในการนาไปใช้ศึกษาต่อในระดับทีส่ งู ข้ึน ใชใ้ นหนา้ ทีก่ ารงานในอนาคต
และใช้ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมตามหลกั เกณฑ์ และเพ่อื นาไปส่คู วามเขา้ ใจใน
ทกั ษะการฟงั การพดู การเขียน และการสรา้ งกจิ กรรมการเรียนการสอนอันหลากหลายตอ่ ไป

ผู้เขยี นไดศ้ กึ ษาและนาเสนอวิธีการฝกึ ทกั ษะการอ่านเน้ือเรอ่ื งภาษาองั กฤษที่
พฒั นาขึน้ สามารถพฒั นาการอา่ นภาษาองั กฤษของนักเรียนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพนาไปสู่
จดุ มงุ่ หมายท่ีต้องการและนาไปใชใ้ นเหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั ไดเ้ ป็นอย่างดี

นางณิชาภา ศรธี รณ์

สารบัญ หนา้
1
เรอ่ื ง 4
ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 9
12
แนวคิดทฤษฎแี ละงานวิจยั 16
วธิ ีดาเนินการวิจัย
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
สรปุ อภิปรายและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม


Click to View FlipBook Version