The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by E-Library DAS, 2021-08-29 22:21:28

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ : การวัดและการพัฒนา

C3 Health Literacy : Measurement and Development

Keywords: Health Literacy : Measurement and Development,C3,ความรอบรู้ด้านสุขภาพ : การวัดและการพัฒนา

รศ.ดร.อังศินันท์ อินทรกำแหง

สถำบนั วิจยั พฤติกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

ควำมหมำย ควำมรอบรดู้ ำ้ นสุขภำพของบคุ คล (HL)

ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพของบคุ คล (WHO,1998) หมายถึง
การกระทาอย่างต่อเน่ืองของบุคคล ท่ีเป็ นการใช้

ทักษะทางปัญญา (ด้านการคิด) และทักษะทางสังคม
(การส่ือสาร 2ทาง-ปฏิสมั พนั ธ์ร่วมกนั ) ในการเข้าถึง ทา
ความเข้าใจ และ ประเมินข้อมูลและบริการทางสุขภาพ ท่ี
ได้รบั การถ่ายทอดหรือเรียนร้จู ากส่ิงแวดล้อม ซ่ึงจะเป็ น
แรงจูงใจในตนเองให้มีการตดั สินใจเลือกวิถีทางในการ
ดูแล จดั การสุขภาพตนเองได้ เพ่ือป้องกนั และคงรกั ษา
สขุ ภาพท่ีดีของตนเองไว้เสมอ

แนวคดิ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ส่วน WHO (2016) ในการประชุมส่งเสริมสุขภาพโลกคร้ังที่ 9 เม่ือ 21-
24 พฤศจิกายน 2559 ท่ีเชี่ยงไฮ้ ประเทศจีน มีเป้าหมายการพฒั นาท่ียงั่ ยนื
(Sustainable Development Goal-SDG) มีประเดน็ สาคญั ที่วา่

“ความรอบรู้ด้านสุขภาพช่วยสนับสนุนความสาเร็จในการทางานด้าน
สุขภาพและการเข้าถงึ คุณภาพในการดูแลสุขภาพของประชาชนได้
อย่างไร” และไดใ้ หค้ วามหมายของ HLโดยทวั่ ไปเพ่ิมวา่

“เป็ นความสามารถของบุคคลในการเข้าถงึ เข้าใจและใช้
สารสนเทศในทางส่งเสริมและคงไว้ซึ่งการมสี ุขภาพทด่ี เี พ่ือ
ตนเอง ครอบครัวและชุมชน เช่น ความเข้าใจจากการอ่านฉลาก
ยา ฉลากอาหาร การเจรจาและปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังของแพทย์ได้ ”

http://www.pc-freak.net/blog/iq-world-rank-country-smartest-nations/
SOURCE: Richard Lynn, Tatu Vanhanen, Jelte Wicherts.

The two general things one notices is that first, average IQ scores
cluster by race; that is European peoples all have average IQ scores around
100, Black Africans all around 70, Native Americans in the 80s, etc.

ทกั ษะทางปัญญา (Cognitive skills) ทกั ษะทางสงั คม (Social skills)
IQ Scores EQ Scores

rank Country % rank Country %

1 Singapore 108 1 Philippines 60

2 South Korea 106 2 El Salvador 57

3 Japan 105 3 Bahrain 56

4 Italy 102 4 Oman, Colombia 55
5 Iceland, Mongolia 101
5 Chile, Costa Rica, Canada, 54
6 Switzerland 101 Guatemala, Bolivia, Ecuador,
Dominican Republic, Peru,
7 Austria, China, Luxembourg, 100 Nicaragua, United States

Netherlands, Norway, UK :: :
50
8 Belgium, Canada, Estonia, 99 9 .., Thailand,..

Finland, Germany, New SOURCE: Gallup, a global performance-management
Zealand, Poland, Sweden consulting company based in Washington, DC. (2009-2011)
http://www.gallup.com/poll/158882/singapore-ranks-least-
16 Brunei, Cambodia, Cyprus, 91 emotional-country-world.aspx

FYROM , Lithuania, Sierra

Leone, Thailand

SOURCE: Richard Lynn, Tatu Vanhanen, Jelte Wicherts.

IQ Scores - ASEAN Emotional State
Country Rankings of ASEAN Country

rank Country % rank Country %

1 Singapore 108 1 Philippines 60
2 Vietnam 94
3 Malaysia 92 2 Cambodia, Thailand 50
4 Brunei, 91
3 Indonesia 49
Cambodia,
4 Malaysia 48
Thailand
5 Laos 47

5 Laos 89 6 Vietnam 40

6 Indonesia, 87 7 Singapore 36
Myanmar
SOURCE: Gallup, a global performance-management

7 Philippines 86 consulting company based in Washington, DC. (2009-2011)
http://www.gallup.com/poll/158882/singapore-ranks-least-

emotional-country-world.aspx

SOURCE: Richard Lynn, Tatu Vanhanen, Jelte Wicherts.

ระดบั IQ ของเดก็ ไทย ระดับ EQ ของเด็กไทย

อำยุ 6-11 ปี จำแนกรำยภำค อำยุ 6-11 ปี จำแนกรำยภำค

104.5 45.84 45.95
45.62
101.29
100.11 45.12

98.59 44.38
96.85 44.04
95.99

ที่มำ: กรมสขุ ภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข. 2554 หมำยเหตุ: คะแนนปกติ 50-100

ผลลพั ธ์ของทักษะทำงปัญญำสังคมและพฤติกรรม
เชน่ ควำมฉลำดทำงสขุ ภำพของคนไทย

(Health Quotient: HQ)

ควำมฉลำดทำงสขุ ภำพของบุคคล หมำยถึง

คุณลักษณะ ควำมสำมำรถของบุคคล ในกำรจัดกำรสุขภำพที่ดี

เพื่อให้มีอำยุยืนยำววดั จำก 6 องคป์ ระกอบ คือ

1. ควำมร้สู ึก 2. ควำมตระหนกั 3. กำรกำกับตนเอง

4. กำรจูงใจตนเอง 5. กำรบริหำรจัดกำรบคุ คล และ

6. กำรควบคมุ สภำพแวดลอ้ มที่เปน็ สำเหตุของปัญหำสขุ ภำพ

ระดบั HQ ของกล่มุ ตวั อย่ำงที่ศึกษำ

คะแนนรวมที่ได้ ระดับ นอกเมือง ในเมอื ง รวม

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

นอ้ ยกวำ่ 94 คะแนน หรือ ตำ่ 31 6.2 34 6.8 65 6.5
<60 % ของคะแนนเตม็

94-124 คะแนน หรือ ≥ 60% ปำน 322 64.4 334 66.8 656 65.6
- < 80% ของคะแนนเต็ม กลำง

มำกกวำ่ 124 คะแนน หรือ ≥ สงู 147 29.4 132 26.4 279 27.9
80% ของคะแนนเตม็

กลมุ่ ตัวอย่ำงท่ศี กึ ษำ:จำกกลุม่ ประชำชน อำยุ 15 ปี ขน้ึ ไป ทั้งหมด 1000 คน แบง่ เปน็
เขตเมอื ง 500 คน และนอกเมอื ง 500 คน

หมำยเหตุ: แบบวัด HQ 39 ข้อคำถำม คะแนนเต็ม 156 คะแนน จัดระดับตำมแนวคิดของ บลูม

(Bloom.1976) โดยแบง่ เปน็ 3 ระดบั คือ มีคะแนน ≥ 80% ขึ้นไป ระดับปำนกลำง มีคะแนน อยู่ระหว่ำง
≥ 60% - < 80% และระดบั ต่ำ มีคะแนน <60 %

ยุคของการพฒั นาสุขภาพมาสู่ยุค HL ได้อย่างไร

ยุค 1 ค.ศ. 1796 โรคระบาดโรคตดิ เชื้อ คนอายสุ ้ัน
ยคุ 2 ค.ศ. 1854 แก้ปัญหาด้วยนวตั กรรม – มีวคั ซีน /ยา/อนามัย
ยุค 3 เคศนรอษาฐยกุนจิ ้อใยหญมีจ่ขานึ้ นGวนloเพbaม่ิ liมzาaกtiขonนึ้ –โรบครNิโภCคDนิยม ปัญหาสุขภาพเริ่มที่
ยุค 4 ศตวรรษที่ 21 มคี วามเป็ นเลศิ ทางการรักษา มผี ู้ป่ วยอายยุ ืนเพมิ่ ขนึ้
World Economic Forum พบ ประชากรที่มีอายยุ นื เฉลี่ย 15 อนั ดบั แรก

ไดแ้ ก่ ฮ่องกง ญป่ี ่ นุ อิตาลี ไอซ์แลนด์ สวติ เซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส สเปน
เ8สก1ิาง.ห7ค,ลโ8ีใป1ตร.้์7เทอ,่อา8กส1บั.เ5ต8,ร38เ.ล15ี.ย,58,อ38ิส.11.ร,4า,8เอ821.ล9.4,ส8ว2ีเด.9น, 8อ2งั .ก7,ฤ8ษ2น.6อ, ร8์เ2ว.ย4์,ล8กั 2เ.ซ1ม, 8เบ2ิร.1์ค,
สป่วระนเปทรศะในเทโศลกไท(Wย EอFาย, เุ2ฉ0ล1ี่ย7)74ใ.น4ขอณยอู่ะนั 5ด0บั ปี7ก2่อนจาอกากยาเุ ฉรจลดั่ียอเทบั ่าดเกบั าห13ล8ีใต้

HL เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวติ

สถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพทว่ั โลก

ปี ค.ศ.1974 HL ถูกนาเสนอคร้ังแรกโดย Simonds จากบท
ความหลงั ประชุมวชิ าการสุขศึกษา
ปี ค.ศ.1996 โดยสามีภรรยา Cecelia and Leonard Doak จากผลงาน
Teaching patients with low literacy skills
ปี 2003 USA สารวจความรู้ความเขา้ ใจในการอา่ นฉลากยา

ฉกบัลากกลอุ่มาผหใู้ าหรญใ่อนาสยงั่ ุ 1แ6พปที ขย้ึน์ สไิทปธิรก้อารยรลักะษ3า5แลมะี HเอLกสต่าารรค้อวยาลมะรู้5ด3า้ นสุขภาพ

ปานกลาง และ ร้อยละ 12 HL สูง
23,000 คปีน20ร0้อ8ยลCะan5a5daมีสHาLรวตจ่า HL ผใู้ หญ่อายุ 16 ปี ข้ึนไปจานวน
ปี พ20บ1บ0วNา่ eรw้อยZลeaะla5n6d.2สมาีรHวLจผตใู้่าหญ่อายุ 16-65 ปี ใช่/ไม่ใช่
ชาวเมารี

สถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพทว่ั โลก

ปี 2012 สารวจ 8 ประเทศในยโุ รป รวม 7,795 คน HL ต่า ใน
ประเทศบลั แกเรีย เสปน ออสเตรีย 6เย2อ.1ร,ม5นั 8ก.3ร,ีซ56โ.ป4แ, ล4น6.ด3,์ ไ4อ4ร.8์แ,ล4น4.ด6์,
และ เนเธอร์แลนด์ คิดเป็นร้อยละ
40.0 และ 28.7 ตามลาดบั
ปี 2013-2014 ใน 6 ประเทศเอเชีย รวม 10,024 คน มี
สอราินถยาโงนดานภนารีเซพะียดทบัคางาHสซงLัคั คสมมถีคาวนามมสามัเลพเซนั ียธพ์กบัม่ารไะตดห้บั วกนัารแศลึกะษเาวแยี ลดะนราะมดไบั ม่
8ม5ี H.4Lใไนมปญี่พ2่ีปอ0่ ุนเ1พ5แียลญงะปี่มร่ ุนี้ปอยัญสลหาะราว4แจ7ล.ะG9มEใีจNนาย-กHโุดั รLมปาอการยวุ 2ม0ก-6นั 9มปีจี า1น,ว0น54ร้อคยนลพะบวา่
ผทู้ ี่มีระดผบ้ัูมกี HารLศตึกา่ษจาตะ่พากบวใา่ นมกธั ลยมุ่มศเชึก่นษาผผสู้ อูู้งพอายยพุ ชแลนะกผลทูุ้่มี่มนีนอ้ ายนชะนยาผกวิ จสนี

ตวั อย่างแบบวัด
ในอดตี เป็ น

แบบทดสอบวัด

Functional HL

กำรประเมินควำมรอบรู้ด้ำนสขุ ภำพของคนไทย
อำยุ 15 – 59 ปี ในกำรปฏิบตั ิตำมหลัก 3อ 2ส

(ABCDE-Health Literacy Scale of Thai Adults)

Ungsinun Intarakamhang, & Yuttapong Kwanchuen. (2016). The development
and application of the ABCDE-health literacy scale for Thai adults.
Asian Biomedicine, 10(6), 587-594.

ปี ค.ศ. 2014 หรือ 2556 ประเทศไทย โดย กองสุขศึกษา ร่วมกบั มศว สร้างและ
พฒั นาโดย systematic review + CFA จากกลุ่มตวั อยา่ ง 13 จงั หวดั รวม 4,401 คน

ผลตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ The ABCDE-HL scale for Thai adults

ช่อื องคป์ ระกอบ จำนวนข้อ ช่วงค่ำอำนำจ ค่ำควำมเชื่อม่นั ค่ำดัชนี

คำถำม จำแนก (r (Cronbach’s Alpha) องคป์ ระกอบ

1.ควำมรู้และควำมเข้ำใจทำงสุขภำพท่ี 10 ขอ้ 432-.765 .611 .390-.670
ถูกตอ้ ง (คำ่ ควำมยำกงำ่ ย =.490-.660) (คำ่ KR-20) .724 - .841

2.กำรเขำ้ ถงึ ข้อมลู และบรกิ ำรสขุ ภำพ 5 ขอ้ .625 - .725 .861

3.กำรสื่อสำรเพ่ิมควำมเช่ียวชำญทำง 6 ขอ้ .554 - .847 .912 .735 - .847
สขุ ภำพ

4.กำรจัดกำรเงื่อนไขทำงสุขภำพของ 5 ขอ้ .689 - .752 .887 .710 - .791
ตนเอง

5.กำรรเู้ ท่ำทันสือ่ และสำรสนเทศ 5 ขอ้ .554 - .710 .834 .389 - .771

6.กำรตดั สินใจเลือกปฏบิ ัติที่ถกู ต้อง 5 ขอ้ .215 - .476 .674 .685 - .820

รวมขอ้ คำถำมทัง้ หมด 36 ขอ้ คำถำม

ระดับ HL ของคนไทย อำยุ 15 ปี ขึน้ ไป ปี 2557 โดยกองสุขศึกษำ/มศว

กำรเกบ็ ข้อมลู เพื่อศึกษำระดบั ควำมรอบรดู้ ำ้ นสขุ ภำพของคนไทย อำยุ 15 ปี ข้ึนไป ด้วย
แบบประเมิน ABCDE-Health Literacy Scale of Thai Adults จำกกลุ่มตัวอย่ำง อำยุ 15 ปี
ข้ึนไป ทั่วประเทศ จำนวน 31,200 คน โดยเก็บข้อมูลจำก กทม. จำนวน 800 คน และ เก็บ
จำกจังหวัดในแต่ละภำครวม 76 จังหวัดๆละ 400 คน พบว่ำ คนไทยมีระดับควำมรอบรู้ด้ำน
สุขภำพ ดังน้ี

59.4%

39.0%

< 60 % ของคะแนนเตม็ ≥ 60 – <80 % ของคะแนนเตม็ 1.6%

(ระดับควำมรอบรู้ด้ำนสุขภำพไม่ (ระดับควำมรอบรู้ด้ำนสุขภำพท่ี ≥ 80% ของคะแนนเต็ม
เพียงพอต่อกำรปฏิบัติตนตำม เพียงพอและอำจจะมีกำรปฏิบตั ิ
หลัก 3อ 2ส) ตนตำมหลัก 3อ 2ส ได้ถูกต้อง (ระดับควำมรอบรดู้ ้ำนสุขภำพท่ี
บ้ำง) เ พี ย ง พ อ แ ล ะ อ ำ จ จ ะ มี ก ำ ร
ปฏิบัติตนตำมหลัก 3อ 2ส ได้
ถูกต้องและยง่ั ยืนจนเชี่ยวชำญ)

จากผลการประเมิน HL ในปี 2557 และ 2559 โดยกองสุขศึกษากบั มศว

ระดบั HL ปี 2557 คดิ เป็ นร้อยละ ปี 2559 คดิ เป็ นร้อยละ

สตรีไทย กลุ่มวยั เรียน กล่มุ ผ้ใู หญ่ วยั เรียน 7-14 วยั ทางานอายุ
วยั รุ่น 15-21 7-14 ปี อ้วน 3 อ 2 ส ปี สุขบัญญัติ 15-59 ปี
ปี 2,001 คน 2,000 คน 31,200 คน 15,156 คน 15,278 คน
ต่า
(< 60% ของ 95.5 60.4 59.4 3.8 49.0
คะแนนเตม็ )
63.2 45.50
พอใช้ 4.5 38.3 39.0
(มีคะแนนอยู่ 31.8 5.5
ในช่วง 60% -
< 80% )
ดีมาก (มี
คะ8แ0น%น)≥ - 1.3 1.6

สรุป ร้อยละของคนไทยทุกกล่มุ เส่ียง มีระดับ HL ต่า ทมี่ ากกว่าคนยุโรป USA ญป่ี ่ ุน

แบบวดั HL ในปัจจุบนั เป็ นแบบ Psychometric เช่น Health Literacy Questionnaire (HLQ) โดย

Osborne et al. (2013) สร้างจาก สัมภาษณ์และประชุมปฎบิ ตั กิ ารในกลุ่มประชาชน ผู้ป่ วย ผู้ปฏบิ ตั ิและผู้
กาหนดนโยบาย ทดสอบเคร่ืองมือจากกลุ่มประชาชนในชุมชน และรพ. 634 คน ตรวจสอบซ้าอกี 405 คน

ปี 2560 กองสุขศึกษาร่วมกบั มศว ทาการสังเคราะห์และพฒั นาเคร่ืองมือวดั ความรอบรู้ด้าน
สุขภาพฉบบั ทวั่ ไป (Thais General Health Literacy Scales) สาหรับคนไทยทุกกล่มุ วยั

พฒั นาจากการระดมสมองนักวชิ าการด้านสุขภาพ และนาไปทดลองใช้กบั กลุ่มตวั อย่างทุกกลุ่มวยั

ได้แก่ เดก็ นักเรียนทกี่ าลงั ศึกษาในระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาทมี่ อี ายุ 7-14ปี กลุ่มวยั รุ่นอายุ 15-24ปี
กลุ่มวยั ผู้ใหญ่อายุ 25 -59 ปี และกลุ่มสูงวยั 60 –75 ปี ได้มาจากการกาหนดโควตาจาก 4 ภูมภิ าค ๆ ละ 2จังหวดั ๆ
ละ 500 กลุ่มวยั ละ 250 คนรวม 4,000 คน Cronbach's alpha ทัง้ ฉบบั เท่ากับ 0.97

องค์ประกอบ จานวนข้อ คะแนน ค่าอานาจ ค่าความเช่อื ม่ัน ค่านา้ หนัก
รวม 47 ข้อ เตม็ จาแนก ( alpha) องค์ประกอบ

1. การเข้าถงึ ข้อมูลและบริการสุขภาพ 8 40 0.46-0.60 0.81 0.45-0.64

2. การเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพท่ี 5 25 0.56-0.61 0.85 0.60-0.74
เพยี งพอต่อการปฏบิ ัติ

3. การตรวจสอบข้อมูลและบริการสุขภาพ 6 30 0.58-0.66 0.85 0.62-0.68

4. การส่ือสารและการสนับสนุนทางสังคม 17 85 0.61-0.68 0.94 0.47-0.77

5. การจดั การสุขภาพตนเอง 11 55 0.60-0.66 0.90 0.54-0.75

ความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทยโดยรวม(องค์ประกอบท1ี่ -5) ปี 2560
พบในกลุ่มรวมส่วนใหญ่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ระดบั พอใช้ได้

ไมด่ ีพอ พอใช้ได้ ดีมาก

กล่มุ รวม 16.80% 58.90% 24.30%

สงู วยั 18.60% 59.80% 21.60%

วยั ผ้ใู หญ่ 25.00% 58.20% 16.80%

วยั ร่นุ 12.60% 43.40% 44.10%

วยั เรียน 11.40% 73.30% 15.30%

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพ่อื ป้องกันการ
ตงั้ ครรภ์ก่อนวยั อันควร สตรีไทยวยั รุ่นอายุ 15-21 ปี

(Health Literacy Scale for Unwanted Pregnancy Prevention of
Thai Female Adolescents)

องั ศนิ นั ท์ อนิ ทรกำแหง และธญั ชนก ขมุ ทอง. (2560). กำรประเมนิ ควำมรอบรู้ด้ำนสขุ ภาพ
เพ่ือปอ้ งกนั กำรตงั ้ ครรภ์ก่อนวยั อนั ควรสำหรับสตรีไทยวยั รุ่น อำยุ 15-21 ปี. วารสารพยาบาลสาธารณสขุ , 31(2).

สาหรกับรสอตบรแไี นทวยควิดัยกรุ่นาร1ส5ร-2า้ ง1แปบี บ(HวLัดSคfวoาrมUรnอwบaรnดู้teา้ dนPสrุขeภgnาaพnเcพyอ่ื Pปre้อvงeกnันtioกnารoตf้งั TคhรaรiภFeก์ m่อนalวeัยAอdันoคleวsรcents)

ทักษะทางปัญญาระดบั พ้นื ฐาน ทักษะระดับวจิ ารณญาณ
1.ความรคู้ วามเข้าใจทางสขุ ภาพ 1.การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ
2.การเขา้ ถึงข้อมลู และบริการ 2.การตดั สินใจเลอื กปฏิบตั ทิ ถี่ กู ตอ้ ง

ทักษะทางสงั คมระดบั ปฏิสมั พนั ธ์ พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั การตัง้ ครรภ์
1.การสอ่ื สารเพิม่ ความเชี่ยวชาญ
2.การจัดการเงอื่ นไขทางสขุ ภาพตนเอง ก่อนวัยอนั ควร

1.การเท่ียวกลางคนื สถานเริงรมณ์
2. กำรดสู อ่ื ลำมก
3. กำรจดั กำรปัญหำสว่ นตวั
4. กำรให้ควำมใกล้ชิดกบั เพศชำย

เก็บรวบรวมขอ้ มลู กับกลุ่มตัวอย่าง วยั รุ่นท่มี ีอายุ 15-21 ปี 2,001 คน
ที่มีพฤตกิ รรมเส่ียงตอ่ กำรมีเพศสมั พนั ธ์และตงั้ ครรภ์ก่อนวยั อนั ควรพิจำรณำ
โดยครู เช่น กำรมีครู่ ัก ชอบเท่ียวกลำงคนื กำรดื่มสรุ ำ กำรใช้ยำเสพตดิ เกเร
ขำดเรียนบอ่ ย ไมไ่ ด้อำศยั อยกู่ บั ครอบครัว เป็นต้น ได้มำจำกำรส่มุ แบบแบง่
ชนั้ ภมู ิตำมโควต้ำ ที่ศกึ ษำอยใู่ นโรงเรียน
1) สงั กดั สำนกั งำนกำรศกึ ษำขนั้ พืน้ ฐำนจำนวน 500 ตวั อยำ่ ง
2) สงั กดั กรมสง่ เสริมกำรปกครองสว่ นท้องถ่ิน จำนวน 500 ตวั อยำ่ ง
3) สงั กดั คณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ จำนวน 250 ตวั อยำ่ ง

4) สงั กดั สำนกั งำนอำชีวศกึ ษำ จำนวน 500 ตวั อยำ่ ง และ
5) สงั กดั สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำ กองกำรศกึ ษำผ้ใู หญ่ 250 ตวั อยำ่ ง

กำหนดให้ครอบคลมุ แตล่ ะภมู ิภำค และเก็บทงั้ ในเขตเมืองและเขตชนบท

ปี ค.ศ. 2015 หรือ 2557 กองสุขศกึ ษา ร่วมกับ มศว สร้างและพัฒนาเคร่ืองมือวัด
โดย systematic review + CFA จากกลุ่มตัวอย่าง 13 จังหวัดท่ีกระจาย
ทัง้ 4 ภาค รวม 2,001 คน ผลตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ

องค์ประกอบ จานวนข้อ คะแนน สัมประสทิ ธ์ิ ค่าความเช่อื ม่ัน ค่านา้ หนัก
รวม 38 ข้อ เตม็ สหสัมพันธ์ องค์ประกอบ
1.ความรู้และความเข้าใจ Cronbach's alpha
8 8 0.34-0.78 0.22 – 0.88
2. การเข้าถงึ ข้อมูลและบริการ 0.76
3. การส่ือสารเพ่มิ ความ 5 20 0.71-0.77 (KR-20) 0.79 – 0.85
6 24 0.57-0.72 0.57 – 0.85
เช่ียวชาญ 0.89
4. การจัดการเง่อื นไขทาง 0.87 0.81– 0.92

สุขภาพตนเอง 5 20 0.65-0.80 0.90 0.73 – 0.89
5. การรู้เท่าทนั ส่ือและ
5 20 0.72-0.75 0.89 0.53 – 0.84
สารสนเทศ
6. การตดั สนิ ใจเลือกปฏิบัตทิ ่ถี ูกต้อง 9 32 0.12-0.75 0.87

เส้นทางท่คี วรพฒั นาลาดบั แรก

ความรอบรู้ด้านสุขภาพทางเพศ กบั การส่ือสาร
(Sexual Health literacy with communication)

ความหมายของ สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
WHO (2010) ครอบคลุม ประเดน็ เนื้อหา

1) ความเป็นอยู่ (รู้และเขา้ ใจถึงการอยรู่ ่วมกนั กบั เพศตรงขา้ ม) ไม่ใช่แค่เร่ือง การไม่มีโรค
ที่เก่ียวขอ้ งกบั ทางเพศ เท่าน้นั

2) ความเคารพ ความปลอดภยั และเป็นอิสระในการเลือกปฏิบตั ิ หรือเสรีภาพทางเพศ
3) การปฏิบตั ิตามสิทธิมนุษยชน ลดความรุนแรงต่อตนเองและผอู้ ื่น
4) ครอบคลุมตลอดชีวติ ไม่เพยี งแต่ในช่วงปี เจริญพนั ธุ์ รวมท้งั ช่วงวยั เดก็ และวยั สูงอายุ
5) แสดงออกผา่ นเพศวถิ ีท่ีมีความหลากหลายและรูปแบบของการแสดงออกทางเพศ
6) ไดร้ ับอิทธิพลจากบรรทดั นานทางเพศสภาพ บทบาท ความคาดหวงั และอานาจ
7) ความเขา้ ใจในบริบทท่ีเฉพาะเจาะจงทางสังคม เศรษนกิจ และการเมือง

นิยาม พฤตกิ รรมเก่ยี วกบั สุขภาพทางเพศ

- การดูแลตนเอง ดา้ นอนามยั เจริญพนั ธ์
- การตรวจความผดิ ปกติของอวยั วะสืบพนั ธ์
- การศึกษาหาความรู้และการสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้เร่ืองเพศ
- การแสดงความรักและการอยรู่ ่วมกนั กบั เพศตรงขา้ ม
- การมีเพศสัมพนั ธ์ท่ีปลอดภยั
- การคุมกาเนิด
- การป้องกนั โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์
- การทากิจกรรมเพ่อื ลดความตอ้ งการหรือหมกหมุนเรื่องเพศ
- การปฏิบตั ิตนหรือการแสดงออกใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมในเรื่องเพศ
- การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์

พฤตกิ รรมลดเส่ียงทางเพศ

- รู้และเข้ำใจในเร่ืองควำมรัก
- รู้และเข้ำใจในควำมเสน่หำหรือรักแบบพศิ วำท
- มที กั ษะกำรสื่อสำรเชิงบวกกบั เพศตรงข้ำม
- มที กั ษะกำรปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ที่ระบบสืบพนั ธ์ุ
- มที กั ษะกำรจดั กำรกบั อำรมณ์ทำงเพศท่เี หมำะสม
- มที กั ษะกำรปฏิบตั ติ นตอ่ เพศตรงข้ำม
- มที กั ษะกำรปฏเิ สธกำรมเี พศสมั พนั ธ์ก่อนวยั อนั ควร
- กำรหลกี เลย่ี งสถำนกำรณ์ที่กระต้นุ ควำมรู้สกึ ทำงเพศ

คาแนะนาขององค์การอนามัยโลก
ในการปอ้ งกนั การตงั้ ครรภ์ก่อนวัยอนั ควร (WHO, 2011)

การป้องกันการตงั้ ครรภ์ก่อนวัยอันควร การป้องกันภาวะแทรกซ้อน

เม่ืออายนุ ้อยเกินไป ด้านอนามัยการเจริญพนั ธ์

1. ลดการแต่งงานก่อนอายุ 18 ปี 1. ลดการแท้งไม่ปลอดภยั ใน

2. สร้างความเข้าใจและการดแู ลช่วยเหลือ กลุ่มวยั รุ่น

เพ่อื ลดการตงั้ ครรภ์ก่อนอายุ 20 ปี 2.เพ่มิ การเข้าถงึ บริการใน

3. เพ่มิ การใช้การคุมกาเนิดในกลุ่มวัยรุ่น การฝากครรภ์ การคลอด

ท่มี ีความเส่ียงต่อการตงั้ ครรภ์โดยไม่ได้ รวมทงั้ การดแู ลหลังคลอด

ตงั้ ใจ ในกลุ่มวัยรุ่น

4. ลดการมเี พศสัมพนั ธ์โดยการบงั คบั

ขนื ใจในกลุ่มวัยรุ่น

หรือ ถงึ กับต้องเป็ นกฎ ข้อบังคับท่เี ป็ นฃ
สิทธิของเดก็ ท่ตี ้องได้รับ การจดั การศกึ ษา
เร่ือง เพศโดยเฉพาะ

คณะกรรมการพฒั นาอนามัยการเจริญพันธุ์แหง่ ชาติ กรมอนามัย ไดว้ างยุทธศาสตร์

ในการปอ้ งปัญหาการตงั้ ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การส่อื สารสาธารณะ
- สร้างความเข้าใจ ความรู้ และทัศนคตทิ ีด่ ีเพื่อการป้องกนั การต้งั ครรภ์ก่อนวัยอนั ควร
- ให้เข้ำใจปัญหำที่เกิดจำกกำรมีเพศสมั พนั ธ์ วิธีกำรในจดั กำรกบั อำรมณ์และควำมต้องกำรทำงเพศที่

ถกู ต้อง
- สร้ำงแรงจงู ใจมีกำรสร้ำงควำมเข้มแขง็ และกระต้นุ กำรทำงำนแบบบรู ณำกำรในระดบั พืน้ ท่ีและท้องถ่ิน

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การเข้าถงึ บริการอนามยั การเจริญพนั ธ์ุ
ประเทศไทย ปัญหำและอปุ สรรคในกำรเข้ำถึงบริกำรของวยั รุ่นส่วนใหญ่จะเป็นกำรไมส่ ำมำรถเข้ำถึง
บริกำรได้ และบริกำรไม่เป็นท่ียอมรับของวยั รุ่น เนื่องจำกข้อจำกดั ทำงด้ำนกฎหมำย ไม่ทรำบวำ่ ท่ีไหนมี
ให้บริกำรบ้ำง แหลง่ ให้บริกำรอำจจะอยไู่ กลทำให้เดินทำงลำบำก หรือคำ่ ใช้จำ่ ยท่ีสูง และมีหลำยขนั้ ตอน
กวำ่ จะรักษำเสร็จสนิ ้ ทำให้วยั รุ่นมกั จะไม่อยำกเข้ำใช้บริกำรได้

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ระบบการดแู ลช่วยเหลือ
เชน่ เน้นกำรบริกำรให้คำปรึกษำแบบมีทำงเลอื ก กำรปอ้ งกนั กำรตงั้ ครรภ์ซำ้ ในกรณีท่ีวยั รุ่นเกิดกำร
ตงั้ ครรภ์ขนึ ้ มำแล้วอยำ่ งน้อย 1 ครัง้ กำรให้ควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถกู ต้องเก่ียวกบั กำรวำงแผนครอบครัว
และกำรคมุ กำเนิด

ตัวอย่างงานวจิ ัย ความรอบรู้ด้านสุขภาพทางเพศ

นัยน์ชนก หอมโกศล (2550) ผลของการใชเ้ วบ็ ไซต์ www.health4teen.com
ต่อความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพทางเพศของนกั เรียนวยั รุ่นตอนตน้ พบวา่
1) นกั เรียนวยั รุ่นตอนตน้ ที่เขา้ ศึกษาในเวบ็ ไซต์ www.health4teen.com
มีระดบั ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพทางเพศหลงั เขา้ ศึกษาสูงกวา่ ก่อนเขา้ ศึกษา

ธัญธัช วภิ ตั ภิ ูมิประเทศ (2547) การใหค้ วามหมายเรื่องสุขภาพทางเพศของ
นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั พบวา่ นกั ศึกษาท่ีมีประสบการณ์ทางเพศไดใ้ หค้ วามหมาย
เร่ืองเพศวา่ ยอมรับไดก้ บั การมีเพศสมั พนั ธก์ ่อนแต่งงาน โดยเฉพาะกบั คนรัก

อภิชา น้อมศิริและคณะ (2558) พฒั นาตวั ช้ีวดั ความฉลาดทางสุขภาพดา้ นเพศสาหรับวยั รุ่น
ตอนตน้ มี 7 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) ความรู้เกี่ยวกบั สุขภาพทางเพศ 2) เจตคติที่ดีตอ่ เรื่อง
เพศและความสัมพนั ธ์ทางเพศ 3) ความเคารพตอ่ เพศวถิ ีท่ีแตกต่างจากตน 4) ความสามารถ
ในการจดั การกบั สุขภาพทางเพศตนเอง 5) ความรุนแรงทางเพศ 6) ความรู้เท่าทนั ส่ือทางเพศ
และ 7) ความสามารถในการส่ือสารทางเพศ

ตวั อย่างงานวจิ ยั ความรอบรู้ด้านสุขภาพทางเพศ

Celia McMichael & Sandra Gifford (2009) ศึกษา สุขภาพทางเพศในหนุ่มสาวที่เคยเป็นผลู้ ้ีภยั ในเมลเบิร์น,
ออสเตรเลีย พบวา่ คนกลุ่มน้ีมีความรู้เลก็ นอ้ ยเกี่ยวกบั สุขภาพทางเพศ โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์/โรคเอดส์
และมีความตระหนกั ในแหล่งขอ้ มูลโดยมีการนาขอ้ มูลบางส่วนมาใช,้ อุปสรรคในการเรียนรู้เก่ียวกบั
สุขภาพทางเพศ ไดแ้ ก่ ความกงั วลเก่ียวกบั การรักษาความลบั ความน่าอบั อาย และความอึดอดั ใจ
เมื่อพดู ถึงสุขภาพทางเพศ ควรไดร้ ับโปรแกรมการสอนสุขภาพทางเพศที่เหมาะสม

Dean J, Mitchell M, Stewart D, Debattista J. (2017) สารวจความรู้และพฤติกรรมดา้ น
สุขภาพทางเพศ ของวยั รุ่น เมืองควนี สแลนด์ ออสเตรเลีย อายุ 16-24 ปี จานวน 229 คน
พบว่า มคี วามรู้เรื่องโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ โรคเอดส์ ตา่ ผู้หญิงมคี วามรู้สูงกว่าผู้ชาย
และ 33.1 % มปี ระสบการณ์การมีเพศสัมพนั ธ์ทไี่ ม่ปลอดภัย

Bingham A, Drake JK, Goodyear L, Gopinath CY, Kaufman A, Bhattarai S. (2011) ศึกษาโปรแกรมการ
สนทนาระหวา่ งบุคคล ในโครงการทกั ษะชีวติ ของประเทศเนปาล สามารถช่วยป้องกนั การต้งั ครรภท์ ี่ไม่
พร้อม และลดจานวนการทาแทง้ ท่ีไม่ปลอดภยั โดยกลุ่มสนทนาแสดงบทบาท ที่มีความไวต่อสภาพปัญหา
และการไม่ทาใหเ้ สือมเสียชื่อเสียง เกบ็ ความลบั ได้ และใหก้ ารเสริมพลงั อานาจ การเจรจาต่อรอง และการ
สนบั สนุนทางสงั คมได้

จากสถานการณ์สุขภาวะด้านเพศ “เพศสัมพันธ์ท่ไี ม่ปลอดภยั ”
จากตดิ เชือ้ โรค ท้องไม่พร้อม และไม่ปลอดภยั จากความรุนแรง

ผลสารวจของศูนย์เครื อข่ายวิชาการเพ่ือสังเกตการณ์และวิจยั
ความสุขชุมชน มหาวิทยาลยั อสั สมั ชนั (2552) พบวา่
- เพศหญิงมีการติดตามขอ้ มูลข่าวสารเร่ืองเพศเชิงวิชาการมากกวา่ ชาย
- เพศชายใหค้ วามสนใจติดตามโดยวธิ ีรดูเวบ็ โป๊ ทางอินเทอร์เน็ต
- เพศชายและหญิงมีความรู้ความเขา้ ใจเรื่องเพศในสัดส่วนที่ใกลเ้ คียง

กนั และจะมีความเขา้ ใจเพิ่มข้ึนไปตามช่วงอายุท่ีเพิ่มข้ึนโดย 63.3%
ไม่ทราบวธิ ีคุมกาเนิด เพศหญิงรู้วธิ ีคุมกาเนิดมากกวา่ ชาย
- กลุ่มตวั อยา่ ง 64.3% ไม่ทราบวธิ ีป้องกนั โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์
- นกั เรียนสามารถเขา้ ถึงสื่อประเภทหนงั สือ วีซีดี และวดิ ีโอ ไดง้ ่าย

Concept of HL and Interventions to
Improve Health Outcomes for
Low Literacy Patients

ตวั อย่าง แนวคดิ HL ในต่างประเทศ













เป็นแบบวดั Psychometric เช่นกนั





กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2560) HL หมายถงึ ความรอบรู้และ
ความสามารถด้านสุขภาพของบุคคลในการท่จี ะกล่ันกรอง ประเมนิ และ ตัดสนิ ใจ ท่ี
จะปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม เลือกใช้บริการ/ผลติ ภณั ฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม ตาม

โมเดล V shape ไว้ 6 ด้านคอื การเข้าถงึ ความเข้าใจ การโต้ตอบซักถาม
แลกเปล่ียน การตดั สนิ ใจ การเปล่ียนพฤตกิ รรมและการบอกต่อ

และในปี พ.ศ. 2564 คนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพ่มิ ขนึ้ ร้อยละ 25



Martin Saligman & Christ Patterson
ผู้นา Positive Psychology จัดกลุ่มคนเป็ น
24 ลักษณะ ให้มองท่จี ดุ แขง็ เป็ นหลัก จะไม่ไปหาจุดอ่อน

หรือท่มี ีความเส่ียง เป็ นหลัก ให้เสริมจุดแขง็

ปัจจัยทม่ี ตี ่อ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ด้านบุคคล (personal factors); อายุ เพศสภาพ เชื้อชาติ รายได้ ระดบั การศึกษา
ความรุนแรงของโรค ประสบการณ์สุขภาพ ความสามารถในการใช้เหตุผล ความถใี่ นการ
อ่าน ความสามารถในการฟังพูดอ่านเขยี น การใช้อวจั นภาษาหรือทกั ษะทางปัญญา
ทกั ษะทางสังคมในการปฏิสัมพนั ธ์ เป็ นต้น

ด้านสภาพแวดล้อม (Environmental factors); วฒั นธรรม ภาษา การประกนั
สุขภาพ รูปแบบสุขภาพในครอบครัว การสนับสนุนทางสังคม ระบบการศึกษา ระบบ
สาธารณสุข ข้อมูลช่องทางการสื่อสาร เป็ นต้น

จากงานวิจยั หลายเร่ือง ท่พี บว่า

การส่ือสารระหว่างแพทย์กับผู้ป่ วย เกดิ ขนึ้ น้อยมาก
หรือมักจะเกดิ ในลักษณะท่ลี ดความไว้วางใจซ่งึ กันและกัน

Rozier. 2011 cited in Choi; et al. 2008; Macdonald; et al. 2015; Kiesler and Auerbach, 2006;

Threlfall; et al. 2007; discussion 216-217; Rozier. 2011 )

ส่วนใหญ่เป็ นเพราะแพทย์เช่ือว่า อธิบายผู้ป่ วยไปอย่างไรสุดท้าย
ผู้ป่ วยกจ็ ะปล่อยให้แพทย์ตดั สินใจการรักษาให้เอง


Click to View FlipBook Version