The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนโครงสร้างวิชาภาษาไทยชั้นป5ปี2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sara_p-love, 2022-05-21 00:43:31

แผนโครงสร้างวิชาภาษาไทยชั้นป5ปี2565

แผนโครงสร้างวิชาภาษาไทยชั้นป5ปี2565

กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

แผนกประถมศึกษา
โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา

โครงสรา งการสอน วชิ าภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 5
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา .......... เวลา 100 ชวั่ โมง

หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
1 ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน
ครอบครวั พอเพยี ง การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ การ
- การอา่ น มาตรฐานท่ี ท 1.1 อ่านเพอ่ื จับใจความหรอื ขอ้ คดิ 10 35
ใชก้ ระบวนการอ่านสร้าง ความคดิ สาคัญหลักของขอ้ ความ (ส.1-2)
จบั ใจความสาคญั ความรแู้ ละความคิดเพือ่ หรือเร่ืองท่อี า่ นการอา่ นจับใจความ
นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหา สาคญั ถอื เป็นทกั ษะสาคัญที่ใชใ้ น
ในการดาเนนิ ชีวิตและมีนิสยั การอ่านเพ่อื การสอื่ สารมากที่สดุ 1
รกั การอา่ น เพราะเป็นพืน้ ฐานสาคัญใน
ตัวชี้วัดที่ ป 5/1 การศกึ ษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้
อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ เกิดความชานาญ
และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง
ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 5/2
อธบิ ายความหมายของคา
ประโยคและขอ้ ความที่เป็น
การบรรยายและการ
พรรณนา
ตวั ชี้วัด ป 5/3
อธิบายความหมายโดยใน
จากเรอื่ งที่อา่ นอย่าง
หลากหลาย
ตัวช้ีวัดท่ี ป 5/4
แยกข้อเท็จจริงและ
ขอ้ คดิ เห็นจากเรอ่ื งท่ีอ่าน
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/5
วิเคราะหแ์ ละแสดงความ
คดิ เหน็ เกี่ยวกับเรื่องทอ่ี ่าน
นาไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 5/8
มมี ารยาทในการอา่ น

-การคดั ลายมอื มาตรฐานท่ี ท 2.1 ลายมอื คือ ตัวหนงั สอื เขยี นท่ีมี 2
ใช้กระบวนการเขียนเขียน ลกั ษณะเฉพาะบง่ บอกวา่ เปน็ ของผู้
สอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ย่อ หน่งึ ผู้ใด ซึง่ การฝึกคดั ลายมอื จะชว่ ย
ความ และเขยี นเรอ่ื งราวใน ทาให้ผ้เู ขียนเขยี นหนังสือไดอ้ ยา่ ง
รปู แบบต่างๆ เขยี นรายงาน สวยงาม และเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย
ขอ้ มูลสารสนเทศและ รวมท้งั ชว่ ยฝกึ สมาธิ และท่สี าคัญยัง
รายงานการศึกษาคน้ ควา้ เป็นการช่วยอนุรกั ษม์ รดกทาง
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ วฒั นธรรมไทย
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 5/1
คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็
บรรทดั และครง่ึ บรรทดั
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/9
มีมารยาทในการอา่ น

- พยางค์ คา มาตรฐานท่ี ท 1.1 พยางค์ คอื เสยี งท่เี ปลง่ ออกมา 1 2
และกลมุ่ คา ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ ง ครั้ง จะมคี วามหมายหรอื ไมม่ ี
ความรู้และความคิดเพือ่ ความหมายกไ็ ด้ สว่ นคา คือ เสียงท่ี
นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ญั หา เปล่งออกมาแลว้ มคี วามหมาย ถ้าเรา
ในการดาเนินชีวิตและมนี ิสัย เข้าใจพยางค์และคา จะทาให้
รักการอ่าน นาไปใช้ได้ถูกต้อง
ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 5/2
อธิบายความหมายของคา
ประโยคและข้อความที่เปน็
การบรรยายและการ
พรรณนา

- การอา่ น มาตรฐานท่ี ท 1.1 การอ่านจบั ใจความสาคญั คอื การ 1
จบั ใจความสาคญั ใช้กระบวนการอ่านสรา้ ง อ่านเพอื่ จับใจความหรือข้อคดิ
(บทอาขยาน) ความรู้และความคิดเพื่อ ความคิดสาคญั หลกั ของขอ้ ความ
นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหา หรือเร่ืองทีอ่ า่ นการอ่านจับใจความ
ในการดาเนนิ ชวี ิต และมี สาคญั ถือเปน็ ทกั ษะสาคญั ท่ีใช้ใน
นสิ ยั รักการอ่าน การอ่านเพอ่ื การสอ่ื สารมากที่สดุ
ตวั ช้ีวัดที่ ป 5/1 เพราะเป็นพื้นฐานสาคัญใน
อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว การศึกษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้
และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ตอ้ ง เกิดความชานาญ
ตัวชี้วัดที่ ป 5/2

อธบิ ายความหมายของคา
ประโยคและข้อความท่ีเป็น
การบรรยายและการ
พรรณนา
ตัวชีว้ ดั ที่ ป 5/8
มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐานท่ี ท 5.1
เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็
วจิ ารณว์ รรณคดีและ
วรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คณุ ค่าและนามาประยกุ ตใ์ ช้
ในชวี ติ จริง
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/4
ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ี
กาหนดและบทร้อยกรองท่มี ี
คุณค่าตามความสนใจ

- แผนภาพโครง มาตรฐานท่ี ท 2.1 แผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพ 2
เรอื่ งและแผนภาพ
ความคิด ใช้กระบวนการเขียนเขียน ความคิด เป็นวิธีทีใ่ ชใ้ นการเตรียม

สอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อ งานเขยี นโดยนาความรหู้ รือ

ความ และเขียนเร่ืองราวใน ข้อเท็จจริงมาจดั ระบบ ซงึ่ แผนภาพ

รูปแบบต่างๆ เขยี นรายงาน โครงเร่อื งมักใชใ้ นการวางโครงเรอ่ื งท่ี

ขอ้ มูลสารสนเทศและ มตี ัวละคร ฉาก การดาเนนิ เร่ืองตาม

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้า ลาดบั เหตุการณ์ สว่ นแผนภาพ

อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ความคิดมักใช้ในการวางโครงเรอื่ งทม่ี ี

ตวั ช้วี ดั ป 5/3 ความคิดรวบยอดเป็นสาคญั

เขียนแผนภาพโครงเร่อื งและ

แผนภาพความคิดเพื่อใช้

พฒั นางานเขียน

ตัวชี้วดั ที่ ป 5/9

มมี ารยาทในการอา่ น

-มาตราตวั สะกด มาตรฐานที่ ท 1.1 มาตรา ก กา คอื คาทไ่ี ม่มตี ัวสะกด 2

ใช้กระบวนการอา่ นสร้าง ตัวสะกด ส่วน มาตราตวั สะกดแบง่

ความรแู้ ละความคิดเพื่อ ออกเป็น 8 มาตรา ตัวสะกดบาง

นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หา มาตราใชต้ วั สะกดเพยี งตัวเดียว ใน

ในการดาเนนิ ชีวติ และมี การบงั คบั เสียง แตบ่ างมาตรามี

นิสยั รักการอ่าน พยัญชนะในการบังคับเสียง

ตัวชี้วดั ที่ ป 5/2 หลายตวั

อธิบายความหมายของคา

ประโยคและขอ้ ความที่เป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

2 คนละไมค้ นละมอื มาตรฐานที่ ท 1.1 การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ การ 10

- การอา่ น ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ ง อา่ นเพือ่ จับใจความหรอื ข้อคดิ (ส.3-4)

จับใจความสาคญั ความรู้และความคิดเพอ่ื ความคิดสาคัญหลกั ของข้อความ

นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหา หรือเร่ืองทอ่ี า่ นการอ่านจบั ใจความ 1

ในการดาเนนิ ชวี ิตและมนี ิสยั สาคัญ ถือเป็นทกั ษะสาคญั ที่ใช้ใน

รักการอ่าน การอา่ นเพ่ือการสื่อสารมากท่ีสุด

ตวั ชี้วัดท่ี ป 5/1 เพราะเป็นพื้นฐานสาคญั ใน

อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ การศกึ ษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้

และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ตอ้ ง เกิดความชานาญ

ตัวชว้ี ัดที่ ป 5/2

อธิบายความหมายของคา

ประโยคและข้อความที่เป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

ตวั ชี้วดั ป 5/3

อธบิ ายความหมายโดยใน

จากเร่อื งทอ่ี ่านอย่าง

หลากหลาย

ตวั ชี้วดั ท่ี ป 5/4

แยกขอ้ เท็จจรงิ และ

ข้อคิดเห็นจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน

ตัวชี้วัดที่ ป 5/5

วิเคราะหแ์ ละแสดงความ

คิดเห็นเก่ียวกบั เรอ่ื งทอ่ี า่ น

เพอื่ นาไปใช้ในการดาเนนิ

ชวี ิต

ตัวชวี้ ดั ท่ี ป 5/8

มีมารยาทในการอ่าน

- การเขยี น มาตรฐานที่ ท 2.1 คาขวญั เป็นถ้อยคาท่แี ต่งข้นึ เพื่อ 2
คาขวญั ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี น เตอื นใจหรือเพอื่ เปน็ สิริมงคล มี
ส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อ ลักษณะเปน็ การเชญิ ชวน หรือ
ความ และเขยี นเร่อื งราวใน ขอรอ้ งให้ผูอ้ า่ นหรอื ผูฟ้ ังยดึ เปน็ แนว
รปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงาน ในการปฏิบตั ิ ถอ้ ยคามกั มี ความ
ข้อมูลสารสนเทศและ คลอ้ งจอง หรอื มีสัมผัสเป็นรอ้ ยกรอง
รายงานการศกึ ษาค้นควา้ สัน้ ๆ เพอ่ื ใหจ้ ดจาข้ึนใจ
อยา่ ง
ตวั ชีว้ ัดที่ ป 5/2
เขียนสอื่ สารโดยใชค้ าได้
ถกู ตอ้ งชดั เจนและเหมาะสม
ตัวช้ีวัดท่ี ป 5/9
มีมารยาทในการอา่ น

- คาคลอ้ งจอง มาตรฐานท่ี ท 1.1 คาคลอ้ งจอง เป็นคาที่ใชพ้ ูดกันมา 2
ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้าง นาน และยังคงใชก้ ันอยู่ในปจั จบุ ัน 1
- การอา่ นจับ ความร้แู ละความคิดเพ่อื แมบ้ างคาจะให้ความหมายไมช่ ัดเจน
ใจความสาคญั นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หา เพราะ มงุ่ หวงั ให้คลอ้ งจองกัน
กาเนดิ ผิดพน้ คน ในการดาเนินชวี ติ และมี เท่านนั้ แต่กแ็ สดงให้เหน็ จงึ ความ
ทงั้ หลาย นสิ ยั รักการอ่าน เป็นเจ้าบทเจา้ กลอนของคนไทย
ตวั ชว้ี ัด ป 5/1
อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว
และบทร้อยกรองได้
มาตรฐานท่ี ท 4.1
เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษา
และหลักภาษาไทย การ
เปลย่ี นแปลงของภาษาและ
พลังของภาษา ภูมปิ ัญญา
ทางภาษา และรักษา
ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ อง
ชาติ

มาตรฐานท่ี ท 5.1 การอ่านจบั ใจความสาคญั คอื การ

เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น อ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด

วิจารณว์ รรณคดีและ ความคดิ สาคัญหลักของขอ้ ความ

วรรณกรรมไทยอย่างเหน็ หรอื เร่อื งท่อี า่ นการอา่ นจับใจความ

(วรรณคดีลานา ) คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ สาคัญ ถือเป็นทกั ษะสาคัญที่ใช้ใน
ในชีวิตจรงิ การอา่ นเพื่อการสอ่ื สารมากที่สุด
ตวั ชวี้ ัดท่ี ป 5/1 เพราะเป็นพน้ื ฐานสาคัญใน
สรุปเร่ืองจากวรรณคดหี รือ การศกึ ษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้
วรรณกรรมทอ่ี ่าน เกดิ ความชานาญ
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 5/2
ระบคุ วามร้แู ละข้อคดิ จาก
การอ่านวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่สามารถ
นาไปใชใ้ นชีวิตจริง
ตวั ชี้วัดที่ ป 5/3
อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดี
และวรรณกรรม

- การเขยี นคาอวย มาตรฐานท่ี ท 2.1 การเขยี นคาอวยพร ในโอกาสต่าง ๆ 2
พร ใช้กระบวนการเขียนเขียน ควรเลอื กข้อความท่ีเขียนแสดงความ
สื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ยินดี หรอื ความปรารถนาดีใช้คาให้
ความ และเขยี นเรือ่ งราวใน เหมาะสมกบั กาลเทศะ
รูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน
ข้อมลู สารสนเทศและ
รายงานการศกึ ษาค้นคว้า
อย่าง
ตัวช้ีวดั ที่ ป 5/2
เขยี นสือ่ สารโดยใช้คาได้
ถูกต้องชดั เจนและเหมาะสม
ตัวชี้วัดท่ี ป 5/9
มีมารยาทในการเขียน

- คาพอ้ งรปู มาตรฐานที่ ท 1.1 คาพอ้ งรปู คอื คาที่เขียน 2
ใชก้ ระบวนการอ่านสร้าง เหมอื นกนั อา่ นออกเสียงต่างกัน
ความรู้และความคิดเพ่ือ ความหมายต่างกนั
นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปญั หา
ในการดาเนินชีวติ และมี
นสิ ัยรกั การอา่ น
ตัวชี้วดั ท่ี ป 5/2
อธิบายความหมายของคา

3 ภยั เงยี บ ประโยคและขอ้ ความท่ีเปน็ การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ การ 10
- การอา่ นจบั การบรรยายและพรรณนา อ่านเพอื่ จับใจความหรือข้อคดิ (ส.5-6)
ใจความสาคญั มาตรฐานที่ ท 1.1 ความคิดสาคัญหลักของขอ้ ความ
ใชก้ ระบวนการอ่านสร้าง หรอื เรือ่ งทีอ่ า่ นการอา่ นจบั ใจความ 1
ความรูแ้ ละความคิดเพ่อื สาคัญ ถอื เปน็ ทักษะสาคัญท่ีใช้ใน
นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหา การอา่ นเพือ่ การส่ือสารมากที่สดุ
ในการดาเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั เพราะเปน็ พ้นื ฐานสาคญั ใน
รักการอา่ น การศกึ ษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/1 เกิดความชานาญ
อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว
และบทร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง
ตัวชวี้ ัดท่ี ป 5/2
อธิบายความหมายของคา
ประโยคและขอ้ ความที่เป็น
การบรรยายและการ
พรรณนา
ตัวชี้วดั ป 5/3
อธิบายความหมายโดยใน
จากเรื่องทีอ่ ่านอย่าง
หลากหลาย
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 5/4
แยกข้อเท็จจรงิ และ
ข้อคดิ เหน็ จากเรื่องทอี่ ่าน
ตัวชี้วัดที่ ป 5/5
วเิ คราะห์และแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน
เพ่ือนาไปใช้ในการดาเนนิ
ชีวติ
ตวั ชี้วดั ท่ี ป 5/8
มมี ารยาทในการอ่าน

- การเขยี น มาตรฐานที่ ท 2.1 คาแนะนาและคาอธบิ ายแสดง 2
คาแนะนาอธบิ าย ใช้กระบวนการเขียนเขยี น ขน้ั ตอนเปน็ การเขยี นเพ่ือใหค้ วามรู้
ขน้ั ตอน ส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความเขา้ ใจ ภาษาท่ีใช้ควรเป็นภาษา
ความ และเขยี นเร่อื งราวใน ทางการ เรยี บเรยี งขน้ั ตอนตามลาดับ
รปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงาน

ขอ้ มลู สารสนเทศและ เพ่อื ให้ปฏิบัตหิ รือนาไปใช้ไดถ้ กู วิธี
รายงานการศึกษาค้นคว้า
อยา่ ง
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/2
เขียนส่ือสารโดยใชค้ าได้
ถกู ต้องชัดเจนและเหมาะสม
ตัวชวี้ ัดที่ ป 5/9
มมี ารยาทในการเขียน

- คาพอ้ งเสยี ง มาตรฐานท่ี ท 1.1 คาพอ้ งเสยี ง คอื คาทเ่ี ขยี นตา่ งกัน 2
1
- การอา่ นจบั ใช้กระบวนการอ่านสรา้ ง อ่านออกเสยี งเหมอื นกัน
ใจความสาคญั
กระเชา้ นางสดี า ความรแู้ ละความคิดเพื่อ ความหมายต่างกัน
(วรรณคดีลานา )
นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หา

ในการดาเนินชวี ิต และมี

นสิ ัยรกั การอ่าน

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป 5/2

อธิบายความหมายของคา

ประโยคและข้อความท่ีเป็น

การบรรยายและพรรณนา

มาตรฐานที่ ท 5.1 การอ่านจบั ใจความสาคญั คือ การ

เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น อ่านเพอื่ จับใจความหรอื ข้อคดิ

วิจารณว์ รรณคดีและ ความคดิ สาคัญหลักของข้อความ

วรรณกรรมไทยอย่างเหน็ หรอื เร่อื งทอ่ี ่านการอ่านจับใจความ

คุณค่าและนามาประยกุ ต์ใช้ สาคญั ถอื เป็นทกั ษะสาคญั ท่ีใชใ้ น

ในชวี ติ จรงิ การอ่านเพอื่ การสอ่ื สารมากที่สุด

ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/1 เพราะเปน็ พื้นฐานสาคญั ใน

สรปุ เรอื่ งจากวรรณคดหี รือ การศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้

วรรณกรรมทอ่ี า่ น เกดิ ความชานาญ

ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 5/2

ระบุความรแู้ ละข้อคิดจาก

การอา่ นวรรณคดแี ละ

วรรณกรรมทสี่ ามารถ

นาไปใชใ้ นชีวติ จรงิ

ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 5/3

อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี

และวรรณกรรม

- การเขยี นแผนภาพ มาตรฐานที่ ท 2.1 แผนภาพความคดิ เป็นวธิ ีทีใ่ ช้ในการ 2

ความคิด ใช้กระบวนการเขยี นเขียน เตรยี มงานเขยี น โดยนาความรหู้ รอื

สอื่ สาร เขียนเรียงความ ย่อ ข้อเทจ็ จรงิ มาจดั ระบบ มกั ใช้ในการ

ความ และเขียนเรือ่ งราวใน วางโครงเรอื่ งที่มีความคิดรวบยอด

รปู แบบต่างๆ เขียนรายงาน เป็นสาคัญ

ข้อมูลสารสนเทศและ

รายงานการศึกษาคน้ ควา้

อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ตัวชว้ี ดั ป 5/3

เขียนแผนภาพโครงเร่อื งและ

แผนภาพความคิดเพือ่ ใช้

พัฒนางานเขยี น

ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/9

มีมารยาทในการเขยี น

- การผนั เสยี ง มาตรฐานท่ี ท 1.1 วรรณยกุ ต์ในภาษาไทย มี 4 รูป 5 2
วรรณยกุ ต์ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ ง เสยี ง คาทุกคาจะต้องมีเสียง
ความรู้และความคิดเพอ่ื วรรณยกุ ต์ ซ่งึ การผันวรรณยุกตจ์ ะ 10
4 ประชาธปิ ไตย นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปญั หา สมั พันธก์ บั อกั ษร 3 หมู่ คือ อกั ษรสงู (ส.7-8)
ใบกลาง ในการดาเนนิ ชีวิต และมี อกั ษรกลาง อกั ษรต่า และคาเป็น คา
-- การอ่านจบั นิสัยรักการอา่ น ตาย การมีความรเู้ รอ่ื งอักษร 3 หมู่ 1
ใจความสาคญั ตัวช้วี ัดท่ี ป 5/2 และคาเปน็ คาตาย จะชว่ ยใหอ้ ่านคา
อธบิ ายความหมายของคา และผันวรรณยกุ ต์ไดถ้ ูกต้องยง่ิ ข้ึน
ประโยคและข้อความท่ีเปน็
การบรรยายและพรรณนา การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ การ
มาตรฐานที่ ท 1.1 อ่านเพ่ือจบั ใจความหรอื ขอ้ คดิ
ใชก้ ระบวนการอ่านสร้าง ความคดิ สาคัญหลกั ของขอ้ ความ
ความรู้และความคิดเพือ่ หรือเร่อื งท่ีอา่ นการอา่ นจับใจความ
นาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหา สาคัญ ถอื เป็นทกั ษะสาคญั ที่ใช้ใน
ในการดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสยั การอา่ นเพื่อการสอื่ สารมากที่สดุ
รกั การอ่าน เพราะเป็นพื้นฐานสาคัญใน
ตวั ชี้วัดท่ี ป 5/1 การศกึ ษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้
อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ เกดิ ความชานาญ
และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้อง
ตัวชี้วดั ท่ี ป 5/2
อธิบายความหมายของคา

ประโยคและขอ้ ความที่เป็น
การบรรยายและการ
พรรณนา
ตัวช้วี ดั ป 5/3
อธบิ ายความหมายโดยใน
จากเร่ืองท่อี า่ นอยา่ ง
หลากหลาย
ตวั ชี้วัดที่ ป 5/4
แยกข้อเท็จจรงิ และ
ขอ้ คดิ เหน็ จากเร่อื งท่อี า่ น
ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป 5/5
วิเคราะหแ์ ละแสดงความ
คดิ เห็นเก่ียวกบั เรอ่ื งท่ีอา่ น
เพ่ือนาไปใชใ้ นการดาเนนิ
ชวี ติ
ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป 5/8
มีมารยาทในการอา่ น

- การเขยี น มาตรฐานท่ี ท 2.1 การเขยี นจดหมาย ถงึ พ่อแม่ ญาติ 2
จดหมายลาครู ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี น ผ้ใู หญ่ หรือครอู าจารย์ ควรใช้
สอ่ื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ถอ้ ยคาท่ีแสดงความเคารพและ
ความ และเขียนเรือ่ งราวใน สภุ าพเขียนถกู ตอ้ งตามรปู แบบของ
รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงาน จดหมายด้วยลายมือท่ีสวยงามอ่าน
ข้อมลู สารสนเทศและ งายไม่มีรอยลบ ขูดขดี ฆา่ ขอ้ ความ ใช้
รายงานการศกึ ษาคน้ คว้า กระดาษ และซองจดหมายทีส่ ะอาด
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เรยี บร้อยสสี ุภาพ แสดงถึงการมี
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/5 มารยาทในการเขยี นและการใช้
เขียนจดหมายถงึ ผู้ปกครอง จดหมาย
และญาติ
ตัวชว้ี ัดที่ ป 5/9
มีมารยาทในการเขยี น

-คาควบแทแ้ ละ มาตรฐานที่ ท 1.1 คาทม่ี อี กั ษรควบ เปน็ การนา 2
คาควบไมแ่ ท้ ใช้กระบวนการอา่ นสร้าง พยญั ชนะ 2 ตัวมาเรยี งกันเปน็
ความรูแ้ ละความคิดเพ่อื พยญั ชนะต้น และประสมดว้ ยสระ
นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหา เดียวกนั เวลาอา่ นจะอ่านออกเสยี ง

ในการดาเนินชวี ิต และมี พยญั ชนะต้น 2 ตวั พร้อมกนั
นสิ ัยรักการอา่ น พยญั ชนะตัวที่ 2 ที่นามา
ตัวช้ีวัดท่ี ป 5/2 ควบ ไดแ้ ก่ ร ล ว การศกึ ษาเร่ือง คา
อธิบายความหมายของคา ที่มอี ักษรควบ จะทาให้อา่ นและ
ประโยคและข้อความท่ีเป็น เขียนคาท่ีมีอกั ษรควบได้ถกู ตอ้ ง
การบรรยายและพรรณนา

- การฟงั และ มาตรฐานท่ี ท 3.1 คาพดู หรอื งานเขยี นประเภทโน้มนา้ ว 1
การอ่านงานเขยี น 2
ประเภทโนม้ นา้ วใจ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ ง ใจ เปน็ การโฆษณาหรอื

มวี จิ ารณญาณ ประชาสัมพันธเ์ พื่อเชิญชวน จงู ใจให้

และพูดแสดงความรู้ ผฟู้ งั หรอื ผ้อู ่านเชอื่ ถอื เหน็ คล้อยตาม

ความคดิ และความรูส้ ึกใน หรอื ยนิ ดปี ฏิบัติตาม

โอกาสตา่ งๆ อย่างมี

วจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

ตวั ชี้วัดท่ี ป 5/1

พูดแสดงความรู้ ความ

คดิ เหน็ และความรู้สึกจาก

เร่อื งทฟ่ี ังและดู

ตัวชี้วัดท่ี ป 5/2

ตั้งคาถามและตอบคาถาม

เหตุผลจากเรอื่ งที่ฟงั และดู

ตวั ชี้วดั ป 5/3

วเิ คราะห์ความนา่ เชอ่ื ถือ

จากเร่อื งทีฟ่ ังและดอู ยา่ งมี

เหตผุ ล

ตัวช้ีวดั ท่ี ป 5/4

พูดรายงานเรอ่ื งหรือประเดน็

ท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟัง

การดูและการสนทนา

ตวั ชี้วัดที่ ป 5/5

มีมารยาทในการฟงั การดู

และการพูด

- การเขยี น มาตรฐานที่ ท 2.1 การเขยี นจดหมายถงึ ผปู้ กครองและ
จดหมายถงึ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี น ญาติ เป็นการเขียนเพอ่ื การสือ่ สาร
ผู้ปกครอง ส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ แจ้งความประสงค์ ถามทกุ ขส์ ุขหรอื

และญาตผิ ู้ ความ และเขียนเรื่องราวใน เลา่ เหตุการณ์ต่าง ๆ ตอ้ งใช้ภาษาที่
- อกั ษรนา รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงาน สภุ าพแสดงให้เหน็ ถงึ ความเคารพ
ขอ้ มลู สารสนเทศและ และเขยี นด้วยลายมือบรรจงสะอาด
รายงานการศกึ ษาค้นควา้ เรยี บรอ้ ย จา่ หน้าซองให้ถูกตอ้ ง
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ตัวชีว้ ดั ท่ี ป 5/5
เขียนจดหมายถงึ ผู้ปกครอง
และญาติ
ตัวชีว้ ดั ที่ ป 5/9
มีมารยาทในการเขียน

มาตรฐานที่ ท 1.1 อกั ษรนา เปน็ การนาพยัญชนะ 2 2
ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ ง ตัว มาเรียงกัน ประสมด้วยสระ
ความรแู้ ละความคิดเพอื่ เดยี วกนั พยญั ชนะตัวแรกจะอ่าน
นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหา ออกเสียง อะ กึง่ เสยี ง พยัญชนะตัว
ในการดาเนินชีวิต และมี หลังจะออกเสยี งตามสระทปี่ ระสม
นิสัยรักการอา่ น และอา่ นออกเสยี งวรรณยกุ ต์ตาม
ตัวชว้ี ดั ที่ ป 5/2 พยัญชนะตวั แรก การศึกษาเร่อื ง
อธบิ ายความหมายของคา อกั ษรนา จะทาใหอ้ ่านและเขียนคาที่
ประโยคและข้อความที่เปน็ มอี กั ษรนาได้ถูกต้อง
การบรรยายและพรรณนา

ทบทวนบทเรยี น (ส.9-10)
10
วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ลางภาค
รวมคะแนนกลางภาค 10
45

หนว่ ยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
5 ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ (ส.11-12) 35
รว่ มแรงรว่ มใจ มาตรฐานที่ ท 1.1 การอ่านเพ่อื จบั ใจความหรอื ข้อคิด
- การอา่ นจบั ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ ง ความคดิ สาคัญหลักของขอ้ ความ 10
ใจความสาคญั ความรูแ้ ละความคิดเพอ่ื หรอื เรอื่ งทีอ่ ่านการอ่านจับใจความ
รว่ มแรงรว่ มใจ นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หา สาคญั ถอื เป็นทักษะสาคัญที่ใชใ้ น 1
การอ่านเพ่ือการสื่อสารมากที่สดุ
ในการดาเนินชีวิตและมนี ิสัย เพราะเปน็ พนื้ ฐานสาคัญใน
รกั การอ่าน การศกึ ษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 5/1 เกดิ ความชานาญ
อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว
และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ต้อง
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 5/2
อธบิ ายความหมายของคา
ประโยคและข้อความท่ีเปน็
การบรรยายและการ
พรรณนา
ตัวชี้วดั ป 5/3
อธบิ ายความหมายโดยใน
จากเรอ่ื งท่อี า่ นอย่าง
หลากหลาย
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/4
แยกขอ้ เทจ็ จริงและ
ข้อคดิ เหน็ จากเรอื่ งท่อี า่ น
ตวั ชว้ี ัดที่ ป 5/5
วิเคราะหแ์ ละแสดงความ
คิดเห็นเกย่ี วกบั เรอ่ื งทอ่ี ่าน
เพอื่ นาไปใช้ในการดาเนนิ
ชวี ิต
ตัวชว้ี ดั ที่ ป 5/8
มีมารยาทในการอา่ น

- การเขยี น มาตรฐานท่ี ท.4.1 การแตง่ คาประพนั ธ์ ควรคานึงถงึ คา 2
กาพยย์ านี 11 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา ท่ีนามาแต่ง ใหม้ ีสัมผัสและมี
และหลักภาษาไทย การ ความหมายเหมาะกับเร่ืองทร่ี ้อย
เปลีย่ นแปลงของภาษาและ เรยี งเป็นเรือ่ งราว เพอื่ ใหค้ าประพนั ธ์
พลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญา นั้นมคี วามไพเราะ สละสลวย มี

ทางภาษา และรักษา คุณค่าอันเปน็ ประโยชน์ต่อผูอ้ ่านและ
ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ อง ควรเรียนรู้ฉันทลักษณข์ องคา
ชาติ ประพันธแ์ ต่ละชนิดเพ่อื ใหก้ ารแต่ง
ตัวชว้ี ัดที่ ป 5/6 คาประพนั ธถ์ ูกตอ้ ง
แตง่ บทร้อยกรอง

- คานาม มาตรฐานท่ี ท.4.1 คานาม คือ คาท่ีใชเ้ รยี กชอ่ื คน สัตว์ 2
1
- การอา่ นจับ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา สงิ่ ของ สถานที่ อาคาร สภาพ และ
ใจความสาคญั
พอ่ ค้าจากเมาะตะ และหลกั ภาษาไทย การ ลักษณะทง้ั ส่งิ มชี วี ติ และไม่มชี ีวติ ท้ัง
มะ
(วรรณคดลี านา ) เปล่ียนแปลงของภาษาและ ทเ่ี ป็นรูปธรรมและเปน็ นามธรรม

พลังภาษา ภูมิปัญญาทาง

ภาษา และรักษาภาษาไทยไว้

เปน็ สมบัติของชาติ

ตัวช้วี ัดท่ี ป 5/1

ระบุชนดิ และหนา้ ที่ของคา

ในประโยค

มาตรฐานที่ ท 5.1 การอา่ นจบั ใจความสาคญั คอื

เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ การอา่ นเพอ่ื จบั ใจความหรอื ขอ้ คดิ

วจิ ารณว์ รรณคดแี ละ ความคดิ สาคญั หลักของข้อความ

วรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น หรอื เร่อื งทอ่ี า่ นการอ่านจับใจความ

คณุ ค่าและนามาประยกุ ต์ใช้ สาคญั ถอื เป็นทกั ษะสาคัญท่ีใช้ใน

ในชวี ิตจรงิ การอ่านเพือ่ การสอ่ื สารมากที่สดุ

ตัวชวี้ ัดที่ ป 5/1 เพราะเปน็ พ้นื ฐานสาคญั ใน

สรปุ เรื่องจากวรรณคดหี รอื การศกึ ษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้

วรรณกรรมทีอ่ า่ น เกิดความชานาญ

ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/2

ระบุความร้แู ละข้อคิดจาก

การอ่านวรรณคดีและ

วรรณกรรมที่สามารถ

นาไปใชใ้ นชีวิตจริง

- การเขยี นยอ่ มาตรฐานที่ ท 2.1 การเขยี นยอ่ ความ เปน็ การเกบ็ 2
ประกาศ ใช้กระบวนการเขียนเขียน ประเดน็ สาคญั แต่ละตอนจากเน้ือ
ส่อื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ เร่ืองทีอ่ ่าน นามาเรยี บเรยี งใหม่ให้
ความ และเขยี นเร่ืองราวใน สอดคล้องกลมกลนื เปน็ ข้อความ
รปู แบบต่างๆ เขียนรายงาน

ข้อมูลสารสนเทศและ ต่อเนอ่ื งกนั โดยใช้สานวนของผู้เขยี น

รายงานการศึกษาค้นควา้ เอง และถกู ต้องตามรปู แบบการ

อย่างมีประสิทธภิ าพ เขียนยอ่ ความ

ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 5/4

เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองท่ีอา่ น

ตัวชว้ี ดั ที่ ป 5/9

มีมารยาทในการเขยี น

- คาสรรพนาม มาตรฐานที่ ท.4.1 คาสรรพนาม คอื คาท่ีบอกความช้ี 2

เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา ซา้ ใชแ้ ทนนามที่กลา่ วไปแลว้ และ

และหลกั ภาษาไทย การ สรรพนามเชื่อมประโยคใช้แทนนาม

เปล่ยี นแปลงของภาษาและ ทม่ี าขา้ งหนา้ และเชอื่ มประโยคให้

พลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญา รวมเป็นประโยคเดยี วกัน ซ่ึงทาให้

ทางภาษา และรกั ษา ข้อความมีความกระชับมากขนึ้

ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของ

ชาติ

ตวั ช้ีวดั ท่ี ป 5/1

ระบชุ นิดและหนา้ ทีข่ องคาใน

ประโยค

6 จากคลองสหู่ อ้ งแอร์ มาตรฐานท่ี ท 1.1 การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ (ส.13-14)

- การอา่ นจับ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้าง การอ่านเพือ่ จับใจความหรือขอ้ คดิ 10

ใจความสาคญั ความรู้และความคิดเพอ่ื ความคิดสาคัญหลักของข้อความ
นาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหา หรือเรื่องท่ีอ่านการอา่ นจบั ใจความ
1

ในการดาเนนิ ชีวติ และมีนสิ ยั สาคัญ ถอื เปน็ ทักษะสาคญั ที่ใชใ้ น

รักการอา่ น การอ่านเพือ่ การส่อื สารมากที่สดุ

ตัวชี้วัดท่ี ป 5/1 เพราะเป็นพนื้ ฐานสาคญั ใน

อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว การศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้

และบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง เกดิ ความชานาญ

ตวั ช้วี ัดที่ ป 5/2

อธบิ ายความหมายของคา

ประโยคและข้อความท่ีเป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

ตัวชี้วดั ป 5/3

อธบิ ายความหมายโดยใน

จากเร่อื งทอี่ า่ นอย่าง

หลากหลาย
ตัวช้ีวดั ท่ี ป 5/4
แยกข้อเท็จจริงและ
ขอ้ คดิ เหน็ จากเรือ่ งทอ่ี า่ น
ตัวช้วี ดั ท่ี ป 5/5
วิเคราะห์และแสดงความ
คดิ เหน็ เก่ยี วกับเรอื่ งทอี่ ่าน
เพอื่ นาไปใช้ในการดาเนนิ
ชีวติ
ตัวชว้ี ัดท่ี ป 5/8
มีมารยาทในการอ่าน

- การเขยี นตามเรอ่ื ง มาตรฐานท่ี ท 2.1 การเขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ เปน็ 2
จากจนิ ตนาการ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี น การเขยี นเรอื่ งราวท่ีเกดิ จากความคดิ
ความฝนั ความรู้สึกท่เี กิดจากอารมณ์
ส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ตา่ ง ๆ การเขียนเรื่องตาม
ความ และเขียนเร่อื งราวใน จินตนาการไดด้ ีจะตอ้ งฝึกการคดิ
รูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงาน การสังเกต และมคี วามคดิ สร้างสรรค์
ข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นคว้า
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/8
เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/9
มมี ารยาทในการเขียน

- คากรยิ า มาตรฐานที่ ท.4.1 คากรยิ า คอื คาท่ีแสดงอาการของ 2

เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา นามหรือสรรพนาม ชว่ ยทาให้

และหลกั ภาษาไทย การ ประโยคมีใจความสมบรู ณ์

เปล่ยี นแปลงของภาษาและ

พลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญา

ทางภาษา และรักษา

ภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ อง

ชาติ

ตวั ชี้วัดท่ี ป 5/1

ระบชุ นดิ และหน้าทข่ี องคาใน

ประโยค

- การอา่ นจบั มาตรฐานที่ ท 1.1 การอ่านจบั ใจความสาคญั คือ การ 1
ใจความสาคญั ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ ง อา่ นเพ่อื จบั ใจความหรือขอ้ คดิ
บทความ ความรู้และความคิดเพอ่ื ความคิดสาคญั หลักของข้อความ
นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหา หรอื เรอ่ื งท่ีอ่านการอา่ นจบั ใจความ
- ในการดาเนินชวี ิตและมีนสิ ัย สาคัญ ถอื เป็นทักษะสาคญั ท่ีใชใ้ น
รักการอ่าน การอ่านเพื่อการสื่อสารมากท่ีสดุ
- การเขยี นยอ่ ตัวชี้วดั ที่ ป 5/4 เพราะเป็น
โอวาท แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และ
ขอ้ คดิ เหน็ จากเร่อื งท่อี า่ น
- คาวเิ ศษณ์ ตวั ชว้ี ดั ท่ี ป 5/5
วิเคราะห์และแสดงความ
คดิ เห็นเกี่ยวกบั เรื่องทอ่ี า่ น
เพ่ือใช้ในการดาเนนิ ชีวิต
ตัวชว้ี ดั ที่ ป 5/8
มมี ารยาทในการอา่ น

มาตรฐานท่ี ท 2.1 การเขยี นยอ่ ความ เปน็ การเขยี นสรปุ 2

ใช้กระบวนการเขียนเขียน เรื่องใจความสาคญั ของเรอื่ งทน่ี ามา

ส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ เรียบเรียงใหมใ่ หส้ น้ั กระชับ ตอ่ เนอ่ื ง

ความ และเขยี นเรื่องราวใน และคงสาระเดิมอยา่ งครบถ้วนโดย

รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงาน เขียนเป็นสานวนของตนเองทาให้

ข้อมลู สารสนเทศและ เขา้ ใจง่าย

รายงานการศึกษาค้นควา้

อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/4

เขยี นย่อความจากเร่ืองทอี่ า่ น

ตัวชี้วดั ที่ ป 5/9

มีมารยาทในการเขียน

มาตรฐานท่ี ท.4.1 คาวเิ ศษณ์ เป็นคาทข่ี ยายคาหรอื 2
เข้าใจธรรมชาติของภาษา ข้อความให้ชดั เจนมากยิ่งขึ้น แบง่
และหลักภาษาไทย การ ออกเปน็ ลักษณวเิ ศษณ์ กาลวิเศษณ์
เปลยี่ นแปลงของภาษาและ สถานวเิ ศษณ์ ประมาณวเิ ศษณ์ นิยม
พลังของภาษา ภมู ิปัญญา วเิ ศษณ์ อนยิ มวเิ ศษณ์ ปฤจฉา
ทางภาษา และรกั ษา วเิ ศษณ์ ประตชิ ญาวเิ ศษณ์ การ
ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ อง เลอื กใช้ที่เหมาะจะชว่ ยใหป้ ระโยคมี

ชาติ ใจความสมบรู ณ์

ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/1

ระบชุ นิดและหนา้ ท่ีของคาใน

ประโยค

7 ดงั่ หยาดทพิ ยช์ โลม มาตรฐานท่ี ท 1.1 การอ่านจบั ใจความสาคญั คอื (ส.15-16)

ใจ ใช้กระบวนการอา่ นสร้าง การอา่ นเพื่อจับใจความหรือข้อคิด 10

- การอา่ นจบั ความรแู้ ละความคิดเพ่อื ความคดิ สาคญั หลักของข้อความ 1
ใจความสาคญั นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหา หรือเรื่องทอี่ า่ นการอา่ นจบั ใจความ

ในการดาเนนิ ชวี ิตและมนี ิสัย สาคญั ถือเป็นทกั ษะสาคัญท่ีใชใ้ น

รกั การอา่ น การอา่ นเพ่ือการสอ่ื สารมากท่ีสุด

ตวั ช้วี ัดท่ี ป 5/1 เพราะเปน็ พน้ื ฐานสาคัญใน

อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ การศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้

และบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง เกิดความชานาญ

ตัวชว้ี ัดท่ี ป 5/2

อธิบายความหมายของคา

ประโยคและข้อความที่เป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

ตวั ชว้ี ดั ป 5/3

อธิบายความหมายโดยใน

จากเรอื่ งทอ่ี ่านอยา่ ง

หลากหลาย

ตวั ชว้ี ัดที่ ป 5/4

แยกขอ้ เท็จจริงและ

ข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งที่อา่ น

ตัวชว้ี ัดท่ี ป 5/5

วิเคราะห์และแสดงความ

คดิ เห็นเก่ยี วกบั เรื่องทอ่ี า่ น

เพ่ือนาไปใช้ในการดาเนนิ

ชวี ิต

ตัวชี้วัดที่ ป 5/8

มีมารยาทในการอ่าน

- การเขยี น มาตรฐานที่ ท 2.1 การเขยี นยอ่ ความ เป็นการเขยี นสรุป
ยอ่ คาปราศรยั
ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียน เร่ืองใจความสาคญั ของเรื่องทนี่ ามา 2

ส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อ

ความ และเขียนเรือ่ งราวใน เรยี บเรียงใหม่ใหส้ ้นั กระชบั ตอ่ เนือ่ ง

รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงาน และคงสาระเดิมอย่างครบถว้ นโดย

ข้อมลู สารสนเทศและ เขยี นเป็นสานวนของตนเองทาให้

รายงานการศึกษาคน้ ควา้ เขา้ ใจง่าย

อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ตวั ช้ีวดั ท่ี ป 5/4

เขยี นยอ่ ความจากเรือ่ งท่อี า่ น

ตวั ชี้วัดท่ี ป 5/9

มมี ารยาทในการเขยี น

- คาบพุ บท มาตรฐานที่ ท.4.1 คาบพุ บท เป็นคาเช่อื มคาหรือ 2
1
- การอา่ นจบั เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา กลมุ่ คา จะวางไวห้ น้าคานามคา
ใจความสาคญั
บทโฆษณา และหลักภาษาไทย การ สรรพนามหรือคากรยิ าที่ทาหน้าท่ี

เปลีย่ นแปลงของภาษาและ อยา่ งคานาม

พลงั ของภาษา ภูมิปญั ญา ทาใหค้ าหรอื กลมุ่ คานัน้ ตอ่ เน่อื ง

ทางภาษา และรกั ษา สมั พันธก์ นั

ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของ

ชาติ

ตัวช้ีวัดที่ ป 5/1

ระบชุ นดิ และหน้าท่ีของคาใน

ประโยค

มาตรฐานท่ี ท 1.1 การอา่ นจบั ใจความสาคญั คอื

ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ ง การอ่านเพ่อื จับใจความหรอื ขอ้ คิด

ความรูแ้ ละความคิดเพอ่ื ความคิดสาคญั หลกั ของขอ้ ความ

นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หา หรือเร่อื งที่อ่านการอ่านจบั ใจความ

ในการดาเนินชวี ิตและมีนิสัย สาคญั ถอื เปน็ ทักษะสาคัญท่ีใชใ้ น

รักการอา่ น การอา่ นเพอ่ื การสอื่ สารมากที่สุด

ตัวชี้วดั ที่ ป 5/1 เพราะเป็นพ้นื ฐานสาคญั ใน

อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ การศกึ ษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้

และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง เกิดความชานาญ

ตวั ช้ีวดั ที่ ป 5/2

อธิบายความหมายของคา

ประโยคและขอ้ ความที่เป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

ตวั ชว้ี ัด ป 5/3

อธบิ ายความหมายโดยใน
จากเร่อื งที่อา่ นอย่าง
หลากหลาย
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/4
แยกข้อเท็จจริงและ
ข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งที่อา่ น
ตวั ชี้วดั ท่ี ป 5/5
วิเคราะห์และแสดงความ
คดิ เห็นเกยี่ วกับเรอ่ื งท่อี ่าน
เพ่อื นาไปใชใ้ นการดาเนนิ
ชีวติ
ตัวช้ีวดั ที่ ป 5/8

มมี ารยาทในการอ่าน

- การเขยี น มาตรฐานท่ี ท 2.1 การกรอกใบฝากเงนิ ใบถอนเงนิ 2
กรอกแบบรายการ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี น ไดถ้ ูกต้องจะช่วยใหพ้ นักงานธนาคาร
ใบฝากและใบถอน สอื่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อ ใหบ้ ริการไดส้ ะดวกรวดเร็ว และ
เงนิ ความ และเขียนเร่ืองราวใน ข้อมลู ไม่คลาดเคลื่อน ซ่ึงอาจ
รปู แบบต่างๆ เขยี นรายงาน กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายทางการเงนิ
ข้อมูลสารสนเทศและ ได้
รายงานการศึกษาคน้ ควา้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ตัวช้วี ัดที่ ป 5/7
กรอกแบบรายการตา่ งๆ
ตวั ชี้วดั ท่ี ป 5/9
มมี ารยาทในการเขียน

- การใชพ้ จนานกุ รม มาตรฐานที่ ท 1.1 พจนานกุ รม เป็นหนังสอื ท่ีให้ความรู้ 2
ใช้กระบวนการอ่านสรา้ ง เกย่ี วกบั คาและวลี เรียบเรยี งไว้
ความรู้และความคิดเพอ่ื ตามลาดับอักษร ใหต้ วั สะกดท่ี
นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หา ถกู ตอ้ ง การเรยี นรวู้ ธิ ีเรียงลาดบั คา
ในการดาเนนิ ชีวิตและมีนิสัย จะทาใหห้ าความหมายของคาได้
รกั การอา่ น รวดเร็ว
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/2
อธบิ ายความหมายของคา
ประโยคและข้อความที่เป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

8 กา้ วใหไ้ กลไปใหถ้ งึ มาตรฐานที่ ท 1.1 การอา่ นจบั ใจความสาคญั คือ (ส.17-18)

- การอา่ นจบั ใช้กระบวนการอ่านสร้าง การอ่านเพ่ือจบั ใจความหรือข้อคิด 10

ใจความสาคญั ความรแู้ ละความคิดเพื่อ ความคิดสาคัญหลกั ของข้อความ 1

กา้ วใหไ้ กลไปใหถ้ งึ นาไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ญั หา หรือเร่ืองที่อ่านการอา่ นจับใจความ

ในการดาเนนิ ชวี ิตและมีนิสัย สาคญั ถือเปน็ ทกั ษะสาคญั ท่ีใช้ใน

รกั การอา่ น การอา่ นเพ่อื การสือ่ สารมากที่สุด

ตัวช้วี ดั ท่ี ป 5/1 เพราะเปน็ พื้นฐานสาคญั ใน

อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว การศกึ ษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้

และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ต้อง เกดิ ความชานาญ

ตวั ชี้วดั ท่ี ป 5/2

อธบิ ายความหมายของคา

ประโยคและขอ้ ความที่เป็น

การบรรยายและการ

พรรณนา

ตัวชวี้ ดั ป 5/3

อธิบายความหมายโดยใน

จากเร่อื งที่อา่ นอย่าง

หลากหลาย

ตวั ช้วี ัดท่ี ป 5/4

แยกขอ้ เท็จจรงิ และ

ขอ้ คดิ เห็นจากเรื่องที่อ่าน

ตัวชี้วัดที่ ป 5/5

วิเคราะหแ์ ละแสดงความ

คดิ เหน็ เกีย่ วกบั เร่อื งทอี่ า่ น

เพ่อื นาไปใช้ในการดาเนนิ

ชวี ิต

ตัวชว้ี ดั ที่ ป 5/8

มีมารยาทในการอ่าน

- การเขยี น มาตรฐานท่ี ท 2.1 การกรอกใบฝากธนาณตั ิ ในประเทศ 2
กรอกแบบรายการ ใช้กระบวนการเขยี นเขียน มคี วามสาคัญเป็นการสง่ เงินทาง
ธนาณัติ สอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ไปรษณีย์ท่สี ะดวก และปลอดภัย
ความ และเขียนเร่ืองราวใน ดงั นั้น ต้องกรอกอย่างระมดั ระวัง
รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงาน

ข้อมูลสารสนเทศและ และมคี วามรอบคอบ
รายงานการศึกษาค้นคว้า
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/7
กรอกแบบรายการต่างๆ
ตัวช้วี ัดท่ี ป 5/9
มีมารยาทในการเขยี น

- คาสนั ธาน มาตรฐานท่ี ท.4.1 คาสนั ธาน เปน็ คาทีใ่ ช้เช่อื มคากับ 2
1
เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา ประโยคหรือข้อความให้กลมกลนื

และหลกั ภาษาไทย การ เป็นเนือ้ ความเดียวกัน

เปลย่ี นแปลงของภาษาและ

พลังของภาษา ภูมิปัญญา

ทางภาษา และรกั ษา

ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของ

ชาติ

ตัวชว้ี ัดที่ ป 5/1

ระบุชนดิ และหน้าทข่ี องคาใน

ประโยค

-การอา่ นจบั ใจความ มาตรฐานที่ ท 1.1 การอ่านจบั ใจความสาคญั คอื

หนงั สอื นอกเวลา ใช้กระบวนการอ่านสร้าง การอา่ นเพือ่ จับใจความหรอื ขอ้ คิด

ความรแู้ ละความคิดเพอ่ื ความคดิ สาคัญหลักของขอ้ ความ

นาไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หา หรอื เรื่องที่อ่านการอ่านจับใจความ

ในการดาเนนิ ชวี ติ และมีนิสัย สาคัญ ถือเปน็ ทักษะสาคญั ท่ีใชใ้ น

รกั การอ่าน การอา่ นเพือ่ การสอ่ื สารมากท่ีสุด

ตัวช้วี ัด ป 5/7 เพราะเป็นพื้นฐานสาคัญใน

อา่ นหนังสือที่มีคณุ ค่าตาม การศกึ ษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้

ความสนใจอย่างสมา่ เสมอ เกิดความชานาญ

และแสดงความคดิ เห็น

เก่ียวกับเร่อื งท่อี า่ น

ตัวชี้วัดท่ี ป 5/8

มีมารยาทในการอ่าน

- การพดู และการ มาตรฐานท่ี ท 2.1 การพดู และการเขยี นแสดงความ 2
เขยี นเชงิ วเิ คราะห์ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี น คิดเหน็ คือการแสดงอารมณ์
สื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความรู้สึก ความคิด และขอ้ สันนิฐาน

ความ และเขยี นเรอ่ื งราวใน นั้นออกมาให้ผู้อา่ นไดร้ ับรู้ การพูด

รูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน และการเขียนแสดงความคดิ เหน็ นนั้

ขอ้ มลู สารสนเทศและ จาเปน็ ทจ่ี ะต้องพูดหรอื เขยี นดว้ ย

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้า ขอ้ มูลท่เี ปน็ ข้อเทจ็ จริง มีเหตุและมี

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ผลและเปน็ ไปในทางทส่ี รา้ งสรรค์

ตวั ชว้ี ดั ป 5/6 ผู้เขยี นและผู้พูดจะตอ้ งมคี วามรู้

เขียนแสดงความรูส้ ึกและ ความเข้าใจในเร่อื งทีจ่ ะแสดงความ

คดิ เหน็ ได้ตรงตามเจตนา คิดเห็นเป็นอยา่ งดี เพอ่ื ท่ีจะแสดง

ตัวชี้วัด ป 5/9 ความคิดเห็นไดอ้ ย่างเขา้ ใจและตรง

มีมารยาทในการเขยี น ประเดน็

มาตรฐานท่ี ท 3.1

สามารถเลือกฟังและดูอยา่ ง

มีวจิ ารณญาณ และพดู แสดง

ความรู้ ความคดิ และ

ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ

อยา่ งมวี ิจารณญาณและ

สรา้ งสรรค์

ตัวชี้วัด ป 5/1

พูดแสดงความรู้ ความ

คดิ เห็นและความรู้สกึ จาก

เรอ่ื งท่ีฟงั และดู

ตัวช้ีวดั ป 5/3

วิเคราะหค์ วามนา่ เชอื่ ถือจาก

เร่อื งทฟ่ี ังและดอู ย่างมเี หตผุ ล

- คาอทุ าน มาตรฐานที่ ท.4.1 คาอทุ าน เป็นคาทแ่ี สดงอารมณ์ 2
เข้าใจธรรมชาติของภาษา ความรสู้ ึกของผพู้ ดู สว่ นมากจะไม่
และหลักภาษาไทย การ คอ่ ยมคี วามหมายในตัวเอง
เปล่ยี นแปลงของภาษาและ
พลงั ของภาษา ภูมิปัญญา
ทางภาษา และรกั ษา
ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของ
ชาติ
ตวั ช้ีวัดท่ี ป 5/1
ระบุชนิดและหน้าทขี่ องคาใน
ประโยค

ทบทวนบทเรยี น (ส.19-20)

วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรปู้ ลายภาค 10
รวมคะแนนปลายภาค
20
รวมคะแนนทง้ั ปกี ารศกึ ษา 55
100

สปั ดาห์ท่ี 1

โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท.ี่ .…1…../.…........ ชอ่ื ผสู้ อน ……………………………………………………..
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที …ี่ …5..... จํานวน……5….คาบ
กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรอื่ ง.......................สายน้าํ สายชีวิต.....................
หนว่ ยการเรยี นรู้ ที่ ..……1…..…

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั

มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาํ ไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาํ เนินชีวติ และ
มนี ิสยั รักการอา่ น

ตวั ชีว้ ดั ท่ี ป 5/1 อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/2 อธิบายความหมายของคํา ประโยคและขอ้ ความทเ่ี ป็นการบรรยายและการพรรณนา
ตัวช้วี ัดท่ี ป 5/3 อธิบายความหมายโดยในจากเรื่องท่ีอ่านอยา่ งหลากหลาย
ตัวช้ีวัดที่ ป 5/4 แยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรื่องทีอ่ ่าน
ตวั ชีว้ ดั ที่ ป 5/5 วเิ คราะห์และแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั เรอ่ื งท่ีอ่านเพอ่ื นาํ ไปใชใ้ นการดาํ เนนิ ชีวิต
ตัวชี้วดั ท่ี ป 5/8 มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ
เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/1 คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทดั
ตวั ช้วี ัดที่ ป 5/9 มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐานที่ ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความร้สู กึ ในโอกาส
ตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วดั ที่ ป 5/1 พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรสู้ ึกจากเร่ืองทฟ่ี ังและดู
มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ
เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ตวั ชีว้ ัดท่ี ป 5/6 เขียนแสดงความรสู้ กึ และความคิดเหน็ ได้ตรงตามเจตนา

2. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด

การอ่านจับใจความสําคัญ คือ การอ่านเพ่ือจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสําคัญหลักของข้อความ หรือเร่ืองที่อ่าน
การอ่านจับใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสําคัญที่ใช้ในการอ่านเพื่อการส่ือสารมากท่ีสุด เพราะเป็นพื้นฐานสําคั ญในการศึกษา
หาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้เกิดความชาํ นาญ

ลายมือ คือ ตัวหนังสือเขียนท่ีมีลักษณะเฉพาะบ่งบอกว่าเป็นของผู้หนึ่งผู้ใด ซ่ึงการฝึกคัดลายมือจะช่วยทําให้ผู้เขียน
เขียนหนังสือได้อย่างสวยงาม และเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมท้ังช่วยฝึก สมาธิ และที่สําคัญยังเป็นการ ช่วยอนุรักษ์มรดก
ทางวฒั นธรรมไทย

พยางค์ คือ เสยี งที่เปลง่ ออกมา 1 ครง้ั จะมคี วามหมายหรือไมม่ คี วามหมายก็ได้
คาํ คือ เสียงท่ีเปล่งออกมาแล้วมคี วามหมาย ถา้ เราเข้าใจพยางค์และคํา จะทาํ ใหน้ ําไปใช้ไดถ้ กู ต้อง

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมาย และหลกั การอา่ นจับใจความสาํ คัญ (K)
2. บอกวธิ ีคัดลายมือให้ถกู ตอ้ งสวยงาม (K)
3. สามารถพดู และเขยี นแสดงความรู้สกึ ได้ (K)
4. รแู้ ละเขา้ ใจหลกั การอ่าน การเขียนพยางค์ คาํ และกลุ่มคาํ (K)
5. อ่านเร่ืองได้คลอ่ งแคลว่ รวดเรว็ และถกู ต้องตามอักขรวธิ ี (P)
6. แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรือ่ งทอี่ า่ น (P)
7. อา่ น เขยี นและแยกแยะพยางค์ คาํ และกลุ่มคําได้ถูกตอ้ ง (P)
8. คดั ลายมอื ตามขอ้ ความทกี่ ําหนด (P)
9. รแู้ ละเข้าใจหลักการพดู และการเขียนแสดงความร้สู ึก (P)
10. เหน็ ความสาํ คัญของการอ่านมารยาทในการอ่านและ นําความร้แู ละข้อคิดไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาํ วนั (A)
11. เหน็ ความสําคัญของการคดั ลายมือ (A)
12. กระตอื รอื รน้ และมสี ว่ นรว่ มกับการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (A)
13. มคี วามสุขในการเรยี นภาษาไทย (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

1. อธบิ ายความหมาย และหลักการอา่ นจบั ใจความสําคัญของเร่อื งได้
2. คัดลายมือได้อย่างถกู ต้อง สวยงาม
3. สามารถพดู และเขยี นแสดงความรูส้ ึกได้และเข้าใจหลกั การอา่ น
4. รแู้ ละเข้าใจหลกั การเขียนพยางค์ คาํ และกลมุ่ คาํ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ รวบรวมขอ้ มลู
คาบที่
1. นักเรียนดูแผนภูมิเพลง “อ่านในใจ” แล้วอ่านออกเสียงพร้อมกันร้องเป็นเพลง
คาบท่ี 1 ตามครู 1 เที่ยว แล้วให้นักเรียนร้องเอง 2 เที่ยวและร่วมกันสนทนาซักถามเก่ียวกับเนื้อหา
การอา่ นจบั ใจความ

ของเพลง โดยครูถามนําเพื่อโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้และการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน

โดยใชค้ ําถามดังตอ่ ไปนี้

- การอา่ นสรุปใจความคอื อะไร

- นกั เรียนใช้ทักษะอะไรบา้ งในการอ่านสรุปใจความ

- นักเรยี นจะนาํ หลักการอา่ นสรุปความไปใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ้ ย่างไร

* ในการตอบคาํ ถามใหค้ รูใช้ไม้เรยี กเลขท่ี เพื่อให้นักเรียนตอบทีละคน โดยถามคําถามก่อนจะ

เรยี กเลขทเ่ี พ่ือใหท้ กุ คนไดค้ ิด ในแต่ละคําถามควรใหน้ ักเรียนนาํ เสนอ 4-5 คน

เพลง “อา่ นในใจ”

คาํ ร้อง สาํ ลี รกั สทุ ธี

ทาํ นอง เปน็ โสดทําไม

อ่านในใจ อ่านไมใ่ หใ้ ครได้ยนิ เสียงไม่ออกมาทง้ั สน้ิ ไม่ไดย้ นิ เสยี งจรงิ ๆ หนา

อ่านในใจ เพื่อจบั ใจความทุกครา สรุปใจความได้วา่ ที่อ่านมานนั้ คือ อะไร

อ่านในใจ ตั้งใจอ่านไดด้ ีกว่า ว่นุ วายจะไมเ่ ข้าท่า เสยี เวลาอ่านไม่เข้าใจ

สมาธมิ ่นั สาํ คัญควรเอาใจใส่ อา่ นไปแล้วเขา้ ใจตอบคําถามได้สบายจรงิ เอย

2. นักเรยี นศกึ ษาวธิ ีการอา่ นจบั ใจความสาํ คญั จากใบความรู้ และสนทนาเก่ยี วกบั

การอา่ นจับใจความสาํ คัญโดยครใู ชค้ าํ ถามดงั น้ี

- การอา่ นจับใจความสําคัญคอื อะไร

ขน้ั ที่ 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

3. แบง่ นกั เรียนออกเป็น 5 กลุ่ม ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มอ่านเรอ่ื งครอบครัวพอเพียง

ในหนังสอื เรียนภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 โดยนําหลักการอ่านภาษาไทยมาใช้ ครูสังเกต

การอ่านของนักเรียนแตล่ ะคนวา่ ปฏิบัติไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการอ่านหรอื ไม่

4. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ พูดสรุปแนวคิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านเร่ืองครอบครัวพอเพียงแล้ว

ตง้ั คําถามกลุ่มละ 10 คําถาม

5. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ คดิ ประมลู เพ่ือเพมิ่ คณุ ค่าโดยครใู ช้คาํ ถามดงั ต่อไปน้ี

- คนท่รี ู้จักความพอเพยี งชีวิตจะเป็นอยา่ งไร

- แนวทางพอเพยี งเป็นแนวพระราชดํารัชของรัชกาลทเี่ ท่าไร

- ความพอเพยี งมปี ระโยชนต์ ่อชาวไทยอย่างไร

- จากการศกึ ษาเรื่องจากครอบครัวพอเพียง นักเรยี นสามารถนําไปใช้ใน

ชวี ิตประจําวันไดอ้ ย่างไร

ขนั้ ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ตั ิและสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ัติ

6. นักเรียนทํากิจกรรมการการถามตอบจากเรอื่ งที่ศึกษา

7. นกั เรยี นร่วมกนั สรุปหลักการอา่ นจบั ใจความดงั น้ี

หลักการจับใจความสําคญั

- ตงั้ จดุ มุงหมายในหารอ่านให้ชดั เจน
- อ่านเรอ่ื งราวอย่างครา่ วๆ พอเขา้ ใจและเก็บใจความสําคญั ของแต่ละยอ่ หนา้
- เมอ่ื อ่านจบให้ต้ังคําถามตนเองว่า เรอ่ื งทอี่ า่ นมีใคร ทําอะไร ทีไ่ หน
เมอื่ ไหร่ อยา่ งไร
- นาํ สงิ่ ทส่ี รปุ ไดม้ าเรยี บเรียงใจความสาํ คัญใหม่ด้วยสํานวนของตนเองเพื่อให้
เกิดความสละสลวย
ขนั้ ที่ 4 ขน้ั สอ่ื สารและนาํ เสนอ
8. แตล่ ะกลมุ่ ออกมานาํ เสนอผลของการทํากจิ กรรม การระดมสอมองใหเ้ พ่ือน
ฟัง โดยใช้วธิ จี ับฉลาก
* ขณะท่ีนักเรยี นนาํ เสนอครูพยายามสงั เกตพฤติกรรมทัง้ ของผู้ฟงั และผ้นู าํ เสนอ
เพอ่ื เก็บไปเป็นข้อมลู ในการพฒั นาปรับปรงุ ตอ่ ไป
พฤติกรรมทน่ี ําไปเป็นเงื่อนไขพัฒนา เชน่
- มารยาทในการพูดและการฟงั
- ความสนใจใหเ้ กียรติ
- การซกั ถาม เสนอแนวคดิ แยง้ หรือคลอ้ ยตามอยา่ งมีเหตุผล
- การใช้ทกั ษะทางภาษาเพือ่ การสื่อสาร
9. เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของเพื่อน
ลักษณะการนําเสนอของเพื่อน อย่างอิสระ นําจุดเด่นจุดด้อย จุดที่ควรพัฒนาส่ิงที่เหมือนกัน
และแตกตา่ งกนั ของแตแ่ ละกล่มุ มาแสดงใหน้ ักเรียนเห็นถึงความหลากหลายของความคดิ
ซ่ึงขึน้ อยกู่ ับเหตุผล
ขนั้ ท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพมิ่ คณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
10. นักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ บทเรียน ครูสรปุ เพิ่มเติมดว้ ยการสมุ่ ถามนักเรยี นบาง
คน เพือ่ เป็นการประเมินความเขา้ ใจไปในตัวด้วย
11. ใหน้ ักเรยี นนาํ ความรเู้ รือ่ ง การอา่ นจบั ใจความทไี ดเ้ รียนรไู้ ปใชเ้ พอ่ื การฝกึ
ทกั ษะการอ่านส่ือสารและแนะนาํ เพอ่ื น ๆ น้อง ๆ หรือคนใกล้ชดิ

คาบที่ 2-3 ขนั้ ที่ 1 ขนั้ รวบรวมขอ้ มลู
การเขยี นคดั ลายมอื 1. ครนู ําแบบตวั อักษรแบบตวั เหลี่ยม และแบบอาลักษณ์ ท่ีใช้ฝึกคัดลายมือมา

แสดงให้นักเรียนดูหน้าช้ันเรียน จากน้ันครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การคัดลายมือมีแบบ
ตัวอกั ษรทีห่ ลากหลายและมีความสวยงามแตกต่างกัน และเหมาะกับการนําไปใช้ในโอกาสท่ี
ตา่ งกัน

2. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 4-5 คน ออกมาคดั ลายมอื ตวั บรรจงบนกระดาน
โดยใหเ้ ลอื กพยญั ชนะ ก-ฮ มา 5 ตัว แลว้ ครแู ละเพ่อื นนักเรียนช่วยกนั แสดงความคิดเหน็ วา่

เพอื่ นเขียนตวั อักษรได้ถกู ต้องหรือไม่
3. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบวา่ ครจู ะสาธิตการคัดลายมือทถ่ี ูกต้องตามหลักวธิ ใี ห้

นักเรยี นดู
4. นักเรียนตอบคําถาม กระตุ้นความคิด โดยครูถามนําเพ่ือโยงเข้าสู่สาระ

การเรียนรแู้ ละกระตนุ้ ความสนใจผู้เรยี น โดยครูถามคําถามดังนี้

- นักเรียนคิดว่าการคัดลายมือมีกี่ประเภท และมีอะไรบ้างที่
นักเรียนรู้จัก (ตัวเหล่ียม อาลักษณ์ แบบมาตรฐานราชบัณฑิต) หากนักเรียนตอบไม่ครบ
ครคู วรใหค้ วามรเู้ พ่มิ เตมิ

- ตวั อยา่ งการคัดลายมอื ทีน่ กั เรียนดูจัดเปน็ การคดั ลายมือประเภท
ใด

- ปัจจุบนั นี้นักเรยี นใช้ตวั อักษรประเภทใดในการเขยี นหนังสอื
5. ครูตง้ั คาํ ถามเพอ่ื กระต้นุ ใหน้ กั เรยี นอยากคน้ หาคําตอบ เช่น

- ทําไมเราตอ้ งเรียนคัดลายมือ (คําถามนยี้ ังไมต่ อ้ งให้นกั เรียนตอบ
แตจ่ ะใหต้ อบขนั้ ของการสรปุ ความ)
ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

6. ครูนาํ แบบการคัดลายมอื มาใหน้ ักเรียนร่วมกนั วิเคราะห์ แล้วสนทนา โดย
ครถู ามคาํ ถามดังนี้

- การคดั ลายมอื ทง้ั สองแบบแตกตา่ งกนั อย่างไร
- จากการอา่ นขอ้ ความทัง้ สองแบบนกั เรียนคดิ วา่ แบบใดท่อี า่ นได้งา่ ย
และเข้าใจสงิ่ ท่ีส่ือสารไดเ้ รว็
7. นกั เรยี นฝึกคัดลายมอื ตวั บรรจงครึง่ บรรทัด
8. นกั เรยี นเข้ากลมุ่ ทํากจิ กรรมการจาํ แนกรปู แบบการคัดลายมอื แต่ละประเภท
ภายในเวลาท่ีกําหนด จากน้ันครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง
9. นกั เรียนคดิ ประเมนิ เพื่อเพิ่มคณุ คา่ โดยครถู ามคาํ ถามดังนี้
- การเรยี นรเู้ กี่ยวกับเรอ่ื งการคดั ลายมือมีประโยชน์ในการสือ่ สารอยา่ งไร
- นกั เรียนสามารถนาํ สิง่ ทเี่ รยี นไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างไร
10. นกั เรียนร่วมกนั สรปุ เกี่ยวกับประโยชน์ของการคดั ลายมือ
ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ัติ
11. ครูให้นักเรียนดูการเขียนหนังสือท่ีเป็นระเบียบสวยงาม และการเขียน
หนังสือที่ไม่เปน็ ระเบยี บ แลว้ รว่ มกันเปรยี บเทียบข้อดแี ละขอ้ เสียของแต่ละประเภท เพ่ือนําไปสู่
การสรุปความรู้
- นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ประโยชนข์ องการคัดลายมือดังน้ี

(ประโยชน์ของการคัดลายมือ นอกจากเพื่อความสวยงาม ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยแล้ว ยังช่วยในการฝึกสมาธิได้เป็นอย่างดี และท่ีสําคัญ ยังเป็น
การชว่ ยอนุรักษม์ รดกทางวฒั นธรรมไทยใหค้ งไว้ดว้ ย)
ขนั้ ที่ 4 ขนั้ สอื่ สารและนาํ เสนอ

12. นกั เรยี นนาํ เสนอผลการคดั ลายมือโดยการจัดป้ายนิเทศแสดงผลงานของ
แต่ละคน

* ขณะทน่ี กั เรียนนาํ เสนอครูพยายามสงั เกตพฤติกรรมท้ังของผฟู้ ังและผนู้ ําเสนอ
เพ่ือเก็บไปเปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาปรับปรุงต่อไป

พฤตกิ รรมทนี่ ําไปเปน็ เงอ่ื นไขพฒั นา เช่น
- มารยาทในการพูดและการฟงั
- ความสนใจใหเ้ กยี รติ
- การซกั ถาม เสนอแนวคิดแยง้ หรือคลอ้ ยตามอย่างมเี หตผุ ล
- การใช้ทักษะทางภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร

ขน้ั ท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ เพอ่ื เพม่ิ คณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
13. นักเรยี นชว่ ยกนั สรุปบทเรยี น ครสู รปุ เพม่ิ เก่ยี วกบั ความสาํ คัญของการ

คดั ลายมือ
14. ใหน้ ักเรียนนําความรเู้ ร่อื ง การคัดลายมือ ที่ได้เรียนรู้ไปใช้เพ่ือการฝึกทักษะ

การเขยี นส่อื สารและแนะนาํ เพอ่ื นๆ น้อง ๆ หรือคนใกลช้ ดิ ในเรอ่ื งการฝึกคัดลายมือ

คาบท่ี 4-5 ขนั้ ที่ 1 ขนั้ รวบรวมขอ้ มลู
1. ครใู หน้ กั เรียนมองรอบ ๆ ห้องเรียน แลว้ ช่วยกนั บอกว่าพบส่งิ ใดในหอ้ งเรยี นบา้ ง
พยางค์ คํา
และกลมุ่ คาํ แล้วเขียนส่ิงทนี่ กั เรียนบอกบนกระดานนักเรยี นร่วมกันสนทนาเกีย่ วกบั คําบนกระดานโดยครถู าม
นําเพอื่ โยงสสู่ าระการเรยี นร้แู ละกระตนุ้ ความสนใจของผู้เรยี นโดยครูถามคําถาม ดังน้ี

- คําและพยางค์แตกตา่ งกนั อย่างไร
- นักเรียนจะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าคําไหนเปน็ คาํ คาํ ไหนเปน็ วลี
* ในการตอบคําถามให้ครูใช้ไมเ้ รียกเลขท่ี เพื่อให้นักเรียนตอบทลี ะคน โดยถามคาํ ถามกอ่ นจะ
เรียกเลขที่เพ่ือให้ทุกคนได้คิด แตล่ ะคําถามควรให้นกั เรยี นนําเสนอ 4-5 คน
2. นกั เรียนและครูสนทนาเรอื่ ง คาํ และพยางค์ แลว้ ครูตดิ บัตรคาํ บนกระดานดํา
แล้ว ใหน้ ักเรยี นอ่าน
3. นักเรยี นศึกษาเรอ่ื งคําและพยางค์
ขน้ั ที่ 2 ขน้ั คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
4. ครตู ิดบัตรคําบนกระดานดังตวั อย่าง

กระดาน โต๊ะ มกราคม

ให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ โดยครถู ามคําถามดงั นี้
- คาํ วา่ โต๊ะ มกี พ่ี ยางค์
- คําวา่ กระดาน มีก่พี ยางค์
- คําว่ามกราคม มกี พี่ ยางค์

5. นักเรยี นสังเกตบตั รคํา คาํ และพยางค์ โดยครูตดิ ไวบ้ นกระดานดํา

โตะ๊ กระดาน

นักเรยี นร่วมกนั วเิ คราะหบ์ ตั รคําและพยางค์แลว้ ร่วมกนั สนทนาโดยครถู ามคําถามดังนี้
- บตั รคําทัง้ 2 แบบแตกตา่ งกันอยา่ งไร

6. นกั เรียนเล่นเกมส่งบัตรคําดอกไม้ โดยครูเปิดเพลงให้นักเรียนส่งบัตรคําต่อกัน
ไปเมื่อปดิ เพลงบตั รคําดอกไมอ้ ยู่ที่ใครให้คนนั้นออกมาหน้าชั้นเรียนและอ่านและบอกว่าเป็นคํา
หรือพยางคท์ อ่ี ยใู่ นบัตรคําเพ่อื น ๆ ชว่ ยตรวจสอบความถูกต้อง

7. นกั เรยี นฝึกอ่าน คาํ และพยางค์จากบตั รคําและอา่ นทีล่ ะคนโดยใชไ้ ม้เรยี กเลขท่ี
8. นักเรยี นคดิ ประเมนิ เพมิ่ คุณคา่ โดยครถู ามคําถามดงั ต่อไปน้ี

- นกั เรยี นสมารถนําเรื่อง การอ่านคาํ ละพยางค์ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วันได้
อยา่ งไร
ขนั้ ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ตั ิ

9. นักเรียนเข้ากลุ่มทํากิจกรรมยกตัวอย่างคําและพยางค์ ให้นักเรียนจับสลาก
เลือกศึกษาเร่ือง พยางค์ คํา และวลี ในหนังสือเรียนภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 แล้ว
นําเสนอผลการศกึ ษาให้เพ่ือนฟังครแู ละนักเรียนระดมสมองร่วมกันอภิปรายซักถามกันจนเข้าใจ
แลว้ ครูส่มุ ถามนักเรียนเพอื่ ทดสอบความเขา้ ใจ

10. ตัวแทนนักเรียนแตล่ ะกลุม่ จบั สลากเลอื กนิทานท่คี รูเตรียมมากลุม่ ละ 1 เรอ่ื ง
ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มปฏิบัตดิ ังนี้

1) เลือกคําจากในเนื้อเรือ่ งมาเขยี น และจัดประเภทคําพยางค์เดียว
คาํ สองพยางค์ คาํ สามพยางค์ คําสีพ่ ยางค์ คําห้าพยางค์ ฯลฯ

2) เขียนวลที ีพ่ บในเนื้อเร่ือง
11. นักเรยี นทาํ แบบฝึกหัด ใหว้ าดภาพประกอบคาํ และวลที ี่เขียนด้วย
12. นักเรียนชว่ ยกันสรุปเรอ่ื งคําและพยางค์
ขนั้ ท่ี 4 ขน้ั สอื่ สารและนาํ เสนอ
13. นักเรียนนําเสนอผลงาน โดยการจัดป้ายนิเทศแสดงผลงานของแต่ละคน
เพอ่ื น ๆ ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง

ขนั้ ท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพม่ิ คณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
14. นักเรียนนาํ ความรทู้ ่ีได้ไปช่วยสอนเพอื่ นๆทีไ่ มเ่ ขา้ ใจเนอ้ื หาและนาํ ไปใช้ใน

การอา่ นคําและพยางค์

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การประเมนิ วธิ กี าร เครอื่ งมอื

ด้านความรู้ (K) - การตอบคําถาม - คําถาม
- ทาํ แบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั
- แบบประเมนิ การอา่ นในใจ
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอา่ นในใจ - แบบประเมินการคดั ลายมือ
- ทักษะการเขียน - แบบฝึกหัด
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- ทกั ษะการอ่าน

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ - สงั เกตพฤตกิ รรมในการร่วม

ค่านิยม (A) กจิ กรรม การทาํ งานกลมุ่

7. สอื่ /อปุ กรณ/์ แหลง่ การเรยี นรู้

1. แบบฝึกหัด 2. บัตรคาํ 3. หนงั สอื ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5
6. ใบงาน
4. ไมเ้ รยี กเลขที่ 5. คําถาม

8. กิจกรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

vลvงชอื่ .............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สปั ดาห์ท่ี 2

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท.ี่ .…1…../.…........ ชอื่ ผสู้ อน ……………………………………………………..
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที …่ี …5..... จํานวน……5….คาบ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……2…… เรอ่ื ง......................ครอบครัวพอเพยี ง....................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั

มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคดิ เพ่ือนาํ ไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาในการดําเนินชีวิต และ
มีนสิ ยั รกั การอา่ น

ตวั ช้วี ัดที่ ป 5/1 อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/2 อธบิ ายความหมายของคํา ประโยคและขอ้ ความทเี่ ป็นการบรรยายและการพรรณนา
ตัวชีว้ ัดท่ี ป 5/8 มมี ารยาทในการอ่าน
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบต่าง ๆ
เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ตวั ช้ีวัดท่ี ป 5/3 เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน
ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 5/9 มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐานที่ ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นาํ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ
ตวั ชว้ี ดั ที่ ป 5/4 ทอ่ งจาํ บทอาขยานตามทีก่ ําหนดและบทร้อยกรองท่มี คี ณุ ค่าตามความสนใจ

2. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด

การอ่านจับใจความสําคัญ คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสําคัญหลักของข้อความ หรือเร่ืองที่อ่าน
การอ่านจับใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสําคัญท่ีใช้ในการอ่านเพื่อการส่ือสารมากท่ีสุด เพราะเป็นพ้ืนฐานสําคัญในการศึกษา
หาความรู้ จึงควรฝึกฝนใหเ้ กิดความชํานาญ

แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด เป็นวิธีท่ีใช้ในการเตรียมงานเขียนโดยนําความรู้หรือข้อเท็จจริงมาจัดระบบ
ซึ่งแผนภาพโครงเร่ืองมักใชใ้ นการวางโครงเรื่องท่ีมีตัวละคร ฉาก การดําเนินเร่ืองตามลําดับเหตุการณ์ ส่วนแผนภาพความคิดมักใช้ใน
การวางโครงเรอื่ งทีม่ ีความคิดรวบยอดเป็นสําคญั

มาตรา ก กา คอื คาํ ทีไ่ มม่ ตี ัวสะกด
มาตราสะกด คอื คาํ ท่มี ตี วั สะกด แบ่งออกเปน็ 8 มาตรา ตวั สะกดบางมาตราใชต้ ัวสะกดเพยี งตัวเดียวในการบงั คบั เสยี ง แต่
บางมาตรามีพยญั ชนะในการบังคบั เสียงหลายตวั

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. ระบขุ ้อคดิ ท่ีได้จากการท่องจาํ บทอาขยาน (K)
2. บอกความแตกต่างระหวา่ งแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิด (K)
3. รูแ้ ละเขา้ ใจหลักการอ่านการเขยี นมาตรา ก กา และมาตราสะกด (K)
4. ทอ่ งจําบทอาขยาน (P)
5. อา่ น เขยี นและจําแนกมาตราต่าง ๆ ได้ (P)
6. เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง (P)
7. เหน็ ความสาํ คัญของการใชแ้ ผนภาพโครงเร่อื งในการสอ่ื สาร (A)
8 เหน็ คุณค่าและความสาํ คญั ของการทอ่ งจําบทอาขยาน (A
9. กระตือรือรน้ และมีส่วนรว่ มกับการรว่ มกจิ กรรม (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

1. ระบขุ ้อคดิ ที่ไดจ้ ากการท่องจาํ บทอาขยานได้ถกู ตอ้ งเหมาะสม
2. บอกความแตกต่างระหว่างแผนภาพโครงเร่ืองและ
แผนภาพความคิดได้
3. รแู้ ละเข้าใจหลักการอา่ นการเขียนมาตรา ก กา และมาตราสะกด

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน
สาระสาํ คญั
คาบที่
การอา่ นจบั ใจความสําคัญ คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสําคัญหลักของ
คาบที่ 1-2 ข้อความ หรือเร่ืองท่ีอ่านการอ่านจับใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสําคัญท่ีใช้ในการอ่านเพื่อการ
สื่อสารมากท่ีสดุ เพราะเปน็ พน้ื ฐานสาํ คญั ในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้เกิดความชํานาญ
การอ่านจบั ใจความ ขน้ั ที่ 1 ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู
บทอาขยาน
1. นกั เรยี นสนทนาซักถามโดยใช้คาํ ถามเกี่ยวกบั การอ่านบทอาขยาน เพ่ือเปน็ การทบทวน
ความร้เู ดมิ ของนักเรียน โดยใชค้ ําถามดังตอ่ ไปนี้

- บทอาขยานคืออะไร
- การศึกษาเก่ียวกบั การอา่ นบทอาขยานมีประโยชน์อย่างไร
2. ครตู ้ังคําถามเพอื่ กระตนุ้ ให้นกั เรียนอยากคน้ หาคาํ ตอบ เชน่
- ทาํ ไมเราตอ้ งเรียนบทอาขยาน
ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
3. นกั เรียนดซู ีดีการอา่ นออกเสยี งบทอาขยาน แลว้ สนทนาซักถามนกั เรยี นโดยใช้คําถามดังนี้

- บทอาขยานทน่ี ักเรยี นฟงั มีใจความอยา่ งไร
- ขอ้ คดิ ท่ีไดจ้ ากบทอาขยานคือ
4. ครูอธบิ ายเกย่ี วกับหลกั การท่องบทอาขยาน เพอ่ื ให้การอา่ นออกเสยี งมีประสิทธภิ าพควร
ฝึกฝนดังน้ี
1. ฝึกเปล่งเสยี งใหพ้ อประมาณ ไม่ตะโกน ควรบังคบั เสียง เน้นเสียงปรบั ระดับเสียง
สูงตา่ํ ให้สอดคลอ้ งกับจงั หวะลีลา ทว่ งทํานอง และเนื้อหาที่อ่าน
2. ทอ่ งด้วยน้าํ เสียงท่ชี ดั เจน แจ่มใส ไพเราะ มกี ระแสเสียงเดยี ว ไมแ่ ตกพร่า เปล่ง
เสยี งจากลําคอโดยตรงดว้ ยความมนั่ ใจ
3. ท่องออกเสยี งใหถ้ กู อักขระวธิ ีหรอื ความนิยมและตอ้ งเขา้ ใจเน้ือหาของบทอาขยาน
กอ่ น
4. ออกเสียง ร ล ควบกล้าํ ให้ชดั เจน
5. ทอ่ งใหถ้ กู จงั หวะวรรคตอน
5.นักเรียนคดิ ประเมินเพื่อเพ่มิ คุณคา่ โดยครูถามคําถามดงั ต่อไปน้ี
- นักเรยี นสามารถนาํ เรอื่ งบทอาขยานไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้อย่างไร
ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ตั ิ
6. นักเรียนฝึกอ่านออกเสยี งบทอาขยานพรอ้ มกนั 2-3 รอบ ครสู งั เกตการอ่านออกเสยี ง
และการเว้นวรรคตอน
7. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม จากนนั้ ให้นักเรยี นฝกึ อ่านบทอาขยาน
ขนั้ ที่ 4 ขน้ั สอ่ื สารและนาํ เสนอ
8. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานําเสนอการอ่านบทอาขยานหน้าชั้นเรยี น ในขั้นตอนน้ี
นักเรียนยงั ท่องจําไมไ่ ดค้ รสู ามารถให้นักเรียนดูบทอาขยานได้แต่ให้สังเกตการอ่านของแตล่ ะกล่มุ
พร้อมท้ังเสนอแนะวธิ แี กไ้ ข
9. ครนู ัดหมายนักเรียนท่องบทอาขยานกบั ครเู ป็นรายบุคล
ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ เพอ่ื เพมิ่ คณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
10. นกั เรียนชว่ ยกันสรุปบทเรียน ครสู รุปเพิม่ เตมิ ด้วยการสุม่ ถามนกั เรยี นบางคนเพ่ือเปน็
การประเมนิ ความเขา้ ใจไปในตัวด้วย
11. นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครใู ช้คําถามดังนี้
- นักเรียนสามารถนําความรูเ้ ก่ยี วกับเรอื่ งที่เรยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมไดอ้ ยา่ งไร

คาบที่ 3 สาระสาํ คญั
แผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิด เป็นวิธีที่ใช้ในการเตรียมงานเขียน โดยนําความรู้
การเขยี นแผนภาพ
โครงเรอื่ ง หรือข้อเท็จจริงมาจัดระบบ ซึ่งแผนภาพโครงเร่ืองมักใช้ในการวางโครงเรื่องที่มีตัวละคร ฉาก
การดําเนินเร่ืองตามลําดับเหตุการณ์ ส่วนแผนภาพความคิดมักใช้ในการวางโครงเร่ืองท่ีมีความคิด

รวบยอดเป็นสาํ คญั
ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ รวบรวมขอ้ มลู

1. นักเรียนดตู ัวอย่างแผนภาพโครงเรือ่ ง ของรนุ่ พ่แี ล้วสนทนาซักถามโดยใชค้ าํ ถาม
ดงั ตอ่ ไปนี้

- การเขยี นแผนภาพโครงเร่อื งมคี วามสําคญั อยา่ งไร
- ส่ิงทีนกั เรียนเหน็ เรยี กวา่ อะไร
2. ครตู ั้งคําถามเพอื่ กระต้นุ ใหน้ กั เรียนอยากคน้ หาคําตอบ เชน่
- ทาํ ไมเราตอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การเขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ
(คาํ ถามนย้ี งั ไม่ต้องให้นักเรยี นตอบแต่จะใหต้ อบขั้นของการสรปุ ความ)
- นกั เรียนช่วยกนั บอกวา่ จะนําเรื่องการเขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งไปใชใ้ น
ชวี ิตประจําวันไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
* ในการตอบคําถามใหค้ รูใช้ไมเ้ รียกเลขท่ี เพอื่ ใหน้ ักเรยี นตอบทีละคน โดยถามคําถามก่อน
จะเรยี กเลขท่เี พื่อใหท้ กุ คนไดค้ ิด ในแต่ละคําถามควรใหน้ กั เรยี นนาํ เสนอ 4-5 คน
3. นักเรียนศึกษาวิธกี ารเขยี นแผนภาพโครงเร่อื งจากใบความรู้ และร่วมกันสนทนาโดยครู
ใชค้ าํ ถามดงั น้ี
- การเขียนแผนภาพโครงเรื่องทส่ี ําคัญคอื อะไร
ขน้ั ที่ 2 ขน้ั คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
4. สนทนาทบทวนเรื่อง “ครอบครัวพอเพยี ง” โดยใช้ภาพจาก บทเรยี นประกอบ
5. นักเรยี นชว่ ยกันอภปิ รายวิเคราะห์โครงเร่ือง ลําดบั เหตกุ ารณ์ของเรอ่ื ง บอกประเด็น
สําคัญ แล้วครเู ขียนบนกระดาษดาํ
6. เพ่ือให้นกั เรยี นไดม้ องเห็นภาพการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง จงึ ให้นักเรยี นดตู ัวอยา่ งการ
เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง
7. นักเรยี นคดิ ประเมินเพ่อื เพ่ิมคุณคา่ โดยครถู ามคําถามดงั ต่อไปน้ี
-นักเรียนสามารถนําเรอื่ งทเ่ี รยี นไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั ไดอ้ ย่างไร
ขนั้ ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏิบตั ิ
8. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 5 กลุม่ ครูชีแ้ จงในการจัดกลุ่มนกั เรียนโดยใหค้ ละ
ความสามารถ เกง่ ปานกลางและออ่ น ไวใ้ นแตล่ ะกลมุ่ เพอ่ื ให้เกิดความหลากหลายในการเรียนรู้
และมีทกั ษะในการทาํ งานกลุ่ม และใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ เลือกประธาน รองประธานและเลขานุการ
กลุ่ม โดยครูแนะนาํ บทบาทหน้าทีข่ องสมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ ให้นกั เรยี นเข้าใจบทบาทหนา้ ที่ของ
ตนเอง จากน้ันครูอธบิ ายวิธีการเขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งใหน้ กั เรยี นฟงั
9. นักเรียนซกั ถามแสดงความคดิ เหน็ อภปิ รายสรปุ รว่ มกัน เกีย่ วกบั หลกั ในการเขยี น
แผนภาพโครงเรื่อง
10. นักเรยี นทุกกลมุ่ อ่านในใจ จากหนังสอื เรียนภาษาไทย ชุดภาษาพาที ชั้นประถมศึกษา

ปที ี่ 5 หนว่ ยที่ 1 แลว้ รว่ มกนั เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ ง
ขนั้ ที่ 4 ขน้ั สอื่ สารและนาํ เสนอ

11. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม นําเสนอแผนภาพโครงเรื่อง หน้าช้ันเรียน
12. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มไดน้ ําไปเปรียบเทยี บ ปรบั ปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง และนําผลงานกลุ่ม
ไปตดิ แสดงไวท้ ี่ปา้ ยนิเทศ เพื่อใหน้ ักเรยี นทุกคนไดศ้ กึ ษา
ขน้ั ท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ เพอ่ื เพมิ่ คุณคา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
13. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปบทเรียนเรือ่ ง การเขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง และแนวทาง
ปฏิบัตทิ ีถ่ กู ตอ้ งในการเลา่ เรือ่ ง
14. นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คําถามดังน้ี

- นกั เรยี นสามารถนําความร้เู ก่ยี วกบั เรื่องทเ่ี รียนไปใชป้ ระโยชน์ในสงั คมไดอ้ ยา่ งไร

คาบที่ 4-5 สาระสาํ คญั
มาตรา ก กา คือคําท่ีไม่มีตัวสะกดตัวสะกด ส่วนมาตราสะกดแบ่งออกเป็น 8 มาตรา
มาตรา ก กา และ
มาตราตวั สะกด ตวั สะกดบางมาตราใช้ตัวสะกดเพยี งตวั เดียวในการบงั คับเสียง แต่บางมาตรามีพยัญชนะในการบังคับ
เสยี งหลายตวั
ขน้ั ที่ 1 ขนั้ รวบรวมขอ้ มลู

1. ครูใหน้ ักเรยี นมองรอบ ๆ หอ้ งเรยี น แลว้ ชว่ ยกันบอกวา่ พบสง่ิ ใดในห้องเรยี นบา้ ง แลว้ ครู
เขียนส่ิงท่ีนักเรียนบอกบนกระดาน

2. นักเรยี นอา่ นออกเสยี งคาํ บนกระดานพร้อมกัน แล้วสังเกตการออกเสยี งวา่ คํา ว่ามีลกั ษณะ
เหมอื นและแตกต่างกนั อย่างไร

3. นกั เรยี นบอกลกั ษณะของคาํ ว่าแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
4. นักเรียนศกึ ษาเกีย่ วกับมาตราไทย
ขน้ั ที่ 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
5. นักเรียนทาํ กิจกรรมสนทนาซกั ถาม โดยใช้คําถามดังนี้

- มาตราไทยหมายถงึ อะไร
- มาตราไทยมกี ี่มาตรามอี ะไรบา้ ง
6. นกั เรียนยกตัวอย่างคําในมาตราไทยท้งั 9 มาตรา คุณครเู ขยี นคําบนกระดานดาํ แลว้ ให้
นักเรียนฝึกอา่ นพร้อมกนั
7. นกั เรยี นคิดประเมินเพ่ือเพม่ิ คุณคา่ โดยครูถามคําถามดงั ตอ่ ไปน้ี
- นกั เรียนสามารถนําเรอ่ื งที่เรยี นไปใช้ในชวี ิตประจาํ วนั ไดอ้ ย่างไร
ขน้ั ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ตั ิ
8. นักเรียนเล่นเกมแยกมาตราไทย โดยให้นักเรียนอ่านบัตรคาํ แล้วเรียกนกั เรียนออกมาแยก
คาํ ท่ีละคน จนครบทุกคําหลงั จากทาํ กจิ กรรมเสร็จให้นกั เรยี นชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้อง

9. นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั เรอื่ งมาตราตัวสะกด
ขนั้ ที่ 4 ขนั้ สอ่ื สารและนาํ เสนอ

10. นักเรยี นออกมานําเสนอคําในมาตราต่างๆ โดยใชไ้ มเ้ รียกเลขที่ ออกมานําเสนอทีละคน
ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ เพอื่ เพมิ่ คุณคา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ

11. นักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ มาตราสะกด ครูสรุปเพิ่มเติมดว้ ยการสุม่ ถามนกั เรยี นบางคน เพ่ือ
เปน็ การประเมนิ ความเขา้ ใจไปในตัวดว้ ย

12. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาํ ถามดังน้ี
- นักเรียนสามารถนําความรูเ้ ก่ยี วกบั เร่ืองทเ่ี รียนไปใช้ประโยชนใ์ นสังคมไดอ้ ยา่ งไร

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การประเมนิ วธิ กี าร เครอื่ งมอื

ด้านความรู้ (K) - การตอบคาํ ถาม - คําถาม
- ทําแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด
- แบบประเมนิ การอ่านในใจ
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอ่านในใจ - แบบประเมนิ การคัดลายมือ
- ทักษะการเขียน - แบบฝึกหัด
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- ทักษะการอา่ น

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ - สังเกตพฤติกรรมในการร่วม

ค่านิยม (A) กิจกรรม การทาํ งานกลุ่ม

7. สอื่ /อปุ กรณ/์ แหลง่ การเรยี นรู้ 2. บทอาขยาน
4. ไม้เรียกเลขที่
1. แบบฝึกหัด 6. ตัวอย่างแผนภาพโครงเรอ่ื ง
3. หนังสอื ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5
5. คําถาม
7. บัตรคาํ มาตราตัวสะกด

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื .............................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอ่ื ................................................... ผู้บริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ที่ 3

โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่.ี .…1…../.…........ ชอื่ ผสู้ อน ……………………………………………………..
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที …ี่ …5..... จํานวน……5….คาบ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ..……3…..… เรอ่ื ง......................คนละไม้คนละมอื ....................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด

มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดําเนินชีวิต และ
มนี สิ ยั รักการอา่ น

ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/1 อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง
ตวั ชีว้ ัดที่ ป 5/2 อธบิ ายความหมายของคํา ประโยค และขอ้ ความที่เปน็ การบรรยายและการพรรณนา
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ป 5/3 อธิบายความหมายโดยในจากเรอื่ งท่ีอา่ นอย่างหลากหลาย
ตัวช้วี ดั ท่ี ป 5/4 แยกข้อเท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 5/5 วิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั เรื่องทีอ่ า่ นเพอื่ นําไปใชใ้ นการดําเนนิ ชีวิต
ตวั ช้ีวัดท่ี ป 5/8 มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐานท่ี ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบต่าง ๆ
เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตัวชี้วดั ที่ ป 5/2 เขยี นส่อื สารโดยใชค้ ําได้ถูกตอ้ งชดั เจนและเหมาะสม
ตวั ช้วี ัดท่ี ป 5/9 มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐานที่ ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลัง ของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ
ตวั ช้ีวัด ป 5/6 ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคําในประโยค

2. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด

การอ่านจับใจความสําคัญ คือ การอ่านเพ่ือจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสําคัญหลักของข้อความ หรือเร่ืองที่อ่าน
การอ่านจับใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสําคัญท่ีใช้ในการอ่านเพื่อการส่ือสารมากที่สุด เพราะเป็นพื้นฐานสําคัญในการศึกษา
หาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชาํ นาญ

คําขวญั เป็นถอ้ ยคาํ ทแี่ ตง่ ขึน้ เพือ่ เตือนใจหรอื เพ่ือเปน็ สิริมงคล มีลักษณะเปน็ การเชญิ ชวน หรือขอรอ้ งให้ผอู้ า่ นหรือผู้ฟังยึด
เปน็ แนวในการปฏบิ ัติ ถอ้ ยคาํ มกั มี ความคลอ้ งจอง หรือมสี ัมผัสเปน็ รอ้ ยกรองส้นั ๆ เพื่อใหจ้ ดจําขึ้นใจ

คาํ คลอ้ งจอง เปน็ คาํ ทใ่ี ชพ้ ดู กันมานานและยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบัน แม้บางคําจะให้ความหมายไม่ชัดเจนเพราะมุ่งหวัง
ใหค้ ลอ้ งจองกนั เทา่ นนั้ แตก่ แ็ สดงใหเ้ หน็ จึงความเปน็ เจ้าบทเจ้ากลอนของคนไทย

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายความหมาย และหลกั การอา่ นจบั ใจความสาํ คญั (K)
2. อธิบายลักษณะของคาํ ขวญั (K)
3. บอกจดุ มงุ่ หมายของการเขียนคาํ ขวญั (K)
4. รู้และเข้าใจหลกั การอ่าน การเขียนคําคลอ้ งจอง (K)
5. อ่านเรือ่ งได้คลอ่ งแคลว่ รวดเรว็ และถูกต้องตามอกั ขรวิธี (P)
6. แยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เหน็ จากเร่ืองทีอ่ ่าน (P)
7. เขียนคําขวัญ (P)
8. อ่านและเขียนคาํ คลอ้ งจองได้ (P)
9. เห็นความสาํ คญั ของการอ่านมารยาทในการอา่ นและนําความรูแ้ ละข้อคิดไปประยกุ ต์ใช้ใน (A)
10. เห็นความสําคัญของการใช้คําขวัญในการสือ่ สาร (A)
11. กระตอื รอื รน้ และมสี ่วนรว่ มกบั การจดั กจิ กรรมการ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

1. อธบิ ายความหมาย และหลักการอา่ นจับใจความสําคญั ได้ถูกตอ้ ง
2. อธิบายลักษณะของคาํ ขวัญได้
3. บอกจุดม่งุ หมายของการเขยี นคาํ ขวญั ได้
4. ร้แู ละเข้าใจหลักการอา่ น และการเขยี นคําคลอ้ งจอง

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน
สาระสาํ คญั
คาบที่
การอ่านจับใจความสําคัญ คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสําคัญ
คาบที่ 1 หลักของขอ้ ความ หรือเร่อื งท่อี ่านการอา่ นจบั ใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสําคัญท่ีใช้ในการอ่าน
อา่ นจบั ใจความ เพ่ือการสื่อสารมากท่ีสุด เพราะเป็นพื้นฐานสําคัญในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้
เกดิ ความชาํ นาญ
ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ รวบรวมขอ้ มลู

1. นักเรียนดูแผนภูมิเพลง “อ่านในใจ”แล้วอ่านออกเสียงพร้อมกันร้องเป็นเพลง
ตามครู 1 เท่ียว แล้วให้นักเรียนร้องเอง 2 เที่ยวและร่วมกันสนทนาซักถามเก่ียวกับเน้ือหา

ของเพลงโดยครถู ามนาํ เพื่อโยงเขา้ สู่สาระการเรียนรู้และการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน โดย
ใชค้ าํ ถามดงั ต่อไปน้ี

- การอา่ นสรุปใจความคอื อะไร
- นกั เรยี นใช้ทกั ษะอะไรบา้ งในการอา่ นสรปุ ใจความ
- นักเรียนจะนาํ หลักการอ่านสรปุ ความไปใช้ในชีวติ ประจาํ วันไดอ้ ยา่ งไร
* ในการตอบคําถามให้ครูใช้ไม้เรียกเลขที่ เพ่ือให้นักเรียนตอบทีละคน โดยถามคําถามก่อนจะ
เรียกเลขทเ่ี พือ่ ใหท้ กุ คนไดค้ ดิ ในแต่ละคําถามควรใหน้ ักเรยี นนําเสนอ 4-5 คน
2. นักเรยี นศกึ ษาวธิ ีการอา่ นจบั ใจความสําคญั จากใบความรู้ และสนทนาเกย่ี วกับ
การอา่ นจบั
ใจความสําคัญโดยครใู ช้คําถามดงั นี้
- การอ่านจบั ใจความสําคญั คอื อะไร
ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเร่ือง คนละไม้คนละมือ
ในหนงั สอื เรียนภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 โดยนาํ หลกั การอ่านภาษาไทยมาใช้ ครูสังเกต
การอ่านของนกั เรยี นแต่ละคนวา่ ปฏิบัติได้ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่านหรอื ไม่
4. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ พดู สรุปแนวคดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นเรอ่ื งคนละไมค้ นละมือ แลว้
ต้ังคาํ ถามกล่มุ ละ 10 คําถาม
5. ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ คิดประมลู เพ่ือเพิ่มคุณค่าโดยครูใช้คําถามดงั ต่อไปนี้
- นักเรียนสามารถนําความรู้ที่ได้จากการเรียนไปใชใ้ นชีวิตประจําวนั ไดอ้ ย่างไร
ขนั้ ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏิบตั ิ
6. นกั เรยี นทาํ กิจกรรมการถามตอบจากเร่อื งทศี่ กึ ษา
7. นักเรียนรว่ มกนั สรุปหลักการอา่ นจบั ใจความดังน้ี
หลักการจับใจความสําคัญ
- ต้ังจุดมุงหมายในหารอ่านให้ชัดเจน
- อ่านเรอื่ งราวอยา่ งคร่าวๆ พอเข้าใจและเกบ็ ใจความสําคัญของแตล่ ะย่อหนา้
- เมือ่ อา่ นจบให้ตัง้ คําถามตนเองว่า เร่อื งทอ่ี า่ นมีใคร ทาํ อะไร ที่ไหน
เมื่อไหร่ อย่างไร
- นาํ สิ่งที่สรปุ ไดม้ าเรยี บเรียงใจความสาํ คญั ใหมด่ ้วยสํานวนของตนเองเพื่อให้
เกิดความสละสลวย
ขน้ั ท่ี 4 ขน้ั สอ่ื สารและนาํ เสนอ
8. แต่ละกลมุ่ ออกมานําเสนอผลของการทํากจิ กรรม การระดมสอมองใหเ้ พ่อื นฟงั
โดยใชว้ ิธีจบั ฉลาก
* ขณะทีน่ กั เรียนนาํ เสนอครพู ยายามสังเกตพฤตกิ รรมท้ังของผู้ฟงั และผู้นาํ เสนอเพอื่

เกบ็ ไปเปน็ ข้อมลู ในการพฒั นาปรบั ปรุงต่อไป
พฤตกิ รรมที่นาํ ไปเปน็ เงอื่ นไขพฒั นา เชน่
- มารยาทในการพดู และการฟัง
- ความสนใจใหเ้ กยี รติ
- การซกั ถาม เสนอแนวคดิ แย้งหรอื คลอ้ ยตามอยา่ งมีเหตุผล
- การใชท้ ักษะทางภาษาเพอื่ การส่ือสาร
9. เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของเพื่อน

ลักษณะการนําเสนอของเพ่ือน อย่างอิสระ นําจุดเด่นจุดด้อย จุดท่ีควรพัฒนาสิ่งที่เหมือนกัน
และแตกต่างกัน ของแต่และกลุ่มมาแสดงให้นักเรียนเห็นถึงความหลากหลายของความคิด ซึ่ง
ข้ึนอย่กู ับเหตผุ ล
ขน้ั ที่ 5 ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพม่ิ คณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ

10. นักเรยี นชว่ ยกนั สรุปบทเรียน ครูสรุปเพ่ิมเตมิ ด้วยการสุ่มถามนกั เรยี นบางคน
เพือ่ เปน็ การประเมินความเข้าใจไปในตวั ดว้ ย

11. ใหน้ ักเรียนนาํ ความรู้เรอ่ื ง การอา่ นจบั ใจความทไี ดเ้ รยี นรูไ้ ปใชเ้ พอื่ การฝึกทกั ษะ
การอา่ นสอ่ื สารและแนะนําเพื่อนๆนอ้ งๆ หรอื คนใกล้ชดิ

คาบที่ 2-3 สาระสาํ คญั
เขยี นคาํ ขวญั คําขวัญเป็นถ้อยคําท่ีแต่งข้ึน เพ่ือเตือนใจหรือเพื่อเป็นสิริมงคล มีลักษณะเป็นการ

เชิญชวน หรือขอร้องให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังยึดเป็นแนวในการปฏิบัติ ถ้อยคํามักมี ความคล้องจอง
หรอื มีสัมผัสเปน็ รอ้ ยกรองสั้น ๆ เพอ่ื ใหจ้ ดจําขึน้ ใจ
ขน้ั ที่ 1 ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู

1. ครูตดิ คําขวัญจงั หวัดภูเกต็ บนกระดานดาํ แล้วให้นกั เรียนอ่านพร้อมกัน
ไขม่ กุ อนั ดามนั สวรรคเ์ มอื งใต้ หาดทรายสที อง สองวรี สตรี บารมหี ลวงพอ่ แชม่
เมอื่ นกั เรยี นอ่านเสร็จใหร้ ว่ มกันสนทนาโดยครใู ชค้ าํ ถามดงั นี้
- ขอ้ ความทีน่ กั เรียนอา่ นเรยี กวา่ อะไร
- คาํ ขวญั ทีน่ ักเรยี นอ่านเป็นของจงั หวัดอะไร

* ในการตอบคาํ ถามให้ครใู ช้ไม้เรยี กเลขที่ เพอ่ื ให้นักเรียนตอบทีละคน โดยถามคําถาม
ก่อนจะเรียกเลขที่เพือ่ ให้ทกุ คนได้คดิ ในแตล่ ะคําถามควรให้นกั เรยี นนาํ เสนอ 4-5 คน

2. นักเรียนศึกษาเรื่องการเขียนคําขวัญ ครูอธิบายเพ่ิมเติมดังนี้ คําขวัญ หมายถึง
ถ้อยคําท่ีแต่งขึ้นเพ่ือให้ข้อคิดหรือคติเตือนใจ หรือบอกเอกลักษณ์ คุณสมบัติของสถานที่ใด
สถานทีห่ นง่ึ
ขน้ั ที่ 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

5. นักเรียนรว่ มกนั วิเคราะห์กบั ลักษณะของคําขวญั จงั หวดั ภเู ก็ต โดยครูใชค้ าํ ถามดงั นี้

คาบที่ 4-5 - ข้อความในคาํ ขวัญมคี วามเกยี่ วข้องกบั จังหวัดภเู กต็ อยา่ งไร
คาํ คลอ้ งจอง 6. นกั เรยี นคิดประเมินเพ่อื เพ่ิมคณุ คา่ โดยครใู ช้คาํ ถาม ดังตอ่ ไปนี้

- นักเรยี นสามารถนําความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจําวัน
ได้อย่างไร
ขน้ั ท่ี 3 ขนั้ ปฏบิ ตั ิและสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ัติ

7. นักเรียนเลน่ เกมจับคจู่ งั หวดั กับคาํ ขวญั แลว้ ร่วมกนั สนทนาโดยครูใช้คาํ ถามดงั นี้
- นักเรียนใชเ้ กณฑอ์ ะไรในการจับคคู่ ําขวญั กับจงั หวดั

8. นักเรียนเขา้ กลมุ่ ร่วมกันแต่งคาํ ขวญั เรื่อง การประหยัดนํ้าและไฟฟ้า
9. นกั เรยี นทําแบบฝึกหดั
ขนั้ ท่ี 4 ขน้ั สอ่ื สารและนาํ เสนอ
10. แตล่ ะกลุ่มออกมานาํ เสนอคําขวญั การประหยัดนาํ้ และไฟฟ้า โดยใช้วิธีจบั ฉลาก
*ขณะทีน่ ักเรียนนาํ เสนอครูพยายามสงั เกตพฤตกิ รรมท้งั ของผู้ฟงั และผูน้ ําเสนอเพอ่ื เกบ็ ไปเป็น
ข้อมูลในการพฒั นาปรับปรงุ ตอ่ ไป
พฤติกรรมท่นี ําไปเป็นเงอื่ นไขพฒั นา เช่น

- มารยาทในการพูดและการฟัง
- ความสนใจให้เกียรติ
- การซกั ถาม เสนอแนวคิดแยง้ หรอื คลอ้ ยตามอย่างมีเหตผุ ล
- การใชท้ ักษะทางภาษาเพื่อการสือ่ สาร
11. เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของเพ่ือน
ลักษณะการนําเสนอของเพื่อน อย่างอิสระ นําจุดเด่นจุดด้อย จุดที่ควรพัฒนาสิ่งที่เหมือนกัน
และแตกต่างกัน ของแต่และกลุ่มมาแสดงให้นักเรียนเห็นถึงความหลากหลายของความคิด ซึ่ง
ขนึ้ อยกู่ บั เหตผุ ล
12. นักเรียนร่วมกนั สรปุ เก่ียวกับการเขียนคําขวัญ
ขนั้ ท่ี 5 ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพมิ่ คณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
13. นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ ําถามดงั นี้
- นกั เรยี นสามารถนําความรเู้ ก่ียวกับเรอ่ื งทีเ่ รียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นสงั คมได้อย่างไร
สาระสาํ คญั
คาํ คลอ้ งจอง เปน็ คําทใ่ี ช้พดู กันมานานและยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบัน แม้บางคําจะให้
ความหมายไมช่ ดั เจนเพราะม่งุ หวงั ให้คลอ้ งจองกันเท่าน้ัน แต่ก็แสดงให้เห็นจึงความเป็นเจ้าบท
เจ้ากลอนของคนไทย
ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู
1.ครเู ขียนคําคล้องจองชนิด 1 พยางค์ 2 พยางค์ 3 พยางค์ และ 4 พยางค์ ลง
บนกระดานดําให้นักเรียนอาสาสมัครอ่านให้เพื่อน ๆ ฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน

อกี ครงั้ ดังนี้
กา ตา มา นา
อกี า ตาดี สีแดง แกงเผด็
หวานเปน็ ลม ขมเปน็ ยา
เรอื ลม่ ในหนอง ทองจะไปไหน

เมอื่ นักเรยี นอา่ นจบรว่ มกนั สนทนาโดยครูใชค้ าํ ถามดังน้ี
- ขอ้ ความที่นักเรยี นอา่ นมลี กั ษณะเหมอื นและแตกตา่ งกนั อย่างไรกนั อย่างไร
- จากลกั ษณะดังกล่าวเราเรียกวา่ คําอะไร

* ในการตอบคาํ ถามให้ครใู ช้ไม้เรยี กเลขท่ี เพือ่ ให้นกั เรยี นตอบทลี ะคน โดยถามคําถาม
กอ่ นจะเรยี กเลขท่ีเพอ่ื ให้ทกุ คนไดค้ ดิ ในแต่ละคําถามควรให้นกั เรยี นนําเสนอ 4-5 คน

3. นักเรยี นศกึ ษาเร่อื งคําคล้องจอง
ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

4. ครูตดิ บตั รคาํ คล้องจองดังต่อไปน้ี
กา ตา ใหน้ กั เรียนอา่ นพรอ้ มกนั แลว้ รว่ มกันสนทนาโดยครใู ช้คําถามดังน้ี
- คําทั้งสองเหมอื นกนั อย่างไร ( ประสมด้วยสระอาเหมอื นกัน)
สแี ดง แกงเผด็ ใหน้ ักเรียนอา่ นพรอ้ มกันแลว้ ร่วมกนั สนทนาโดยครูใช้คําถามดังน้ี
- คาํ ทงั้ สองเหมือนกันอยา่ งไร ( คาํ ว่า แดง กบั แกง มสี ระ และตัวสะกดเหมอื นกนั )
หวานเปน็ ลม ขมเปน็ ยา นกั เรยี นอ่านพร้อมกนั แล้วรว่ มกนั สนทนาโดยครใู ช้คาํ ถาม

ดงั นี้
- คาํ ใดทอ่ี ่านออกเสยี งสระและตวั สะกดเหมอื นกนั (ขม กับ ลม)
เรือลม่ ในหนอง ทองจะไปไหน นกั เรียนอ่านพร้อมกนั แล้วรว่ มกันสนทนาโดยครูใช้

คําถามดังนี้
- คาํ ใดที่อ่านออกเสียงสระ และตัวสะกดเหมือนกัน ( หนอง กับ ทอง ประสม

ด้วยสระ ออ เหมอื นกนั )
5. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มคิดประมลู เพือ่ เพ่ิมคณุ ค่าโดยครูใชค้ ําถามดงั ตอ่ ไปนี้
- คําคล้องจองมกี ่ีประเภท
- แตล่ ะประเภทมกี ีพ่ ยางค์
- จากการศึกษาเร่ืองคาํ คล้องจอง นักเรียนสามารถนําไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้

อยา่ งไร
ขน้ั ที่ 3 ขนั้ ปฏบิ ตั แิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ตั ิ

6. นักเรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเป็น 4 กลมุ่ โดยคละนกั เรยี นเกง่ ปานกลาง และออ่ น
เทา่ ๆกนั ตวั แทนกล่มุ รับซองบตั รคาํ บัตรกลมุ่ คํา กล่มุ ละ 1 ซอง เพ่อื เล่นเกมคล้องจอง
มองสัมผัส โดยให้สมาชิกในกลมุ่ ชว่ ยกันเรียงบตั รคํา และบตั รกลมุ่ คําใหเ้ ป็นคาํ คล้องจองท่ี

มี 1 พยางค์ คําคล้องจอง 2 พยางค์ คาํ คล้องจอง 3 พยางค์ คําคล้องจอง 4 พยางค์

เมือ่ กลุ่มใดเรียงได้เสร็จก่อนให้ร้องคาํ ว่า ไชโย! พร้อมกัน ซ่งึ จะถือว่ากลุม่ นน้ั เปน็ ผชู้ นะ

7. นักเรียน และครรู ว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ชมเชยกลุม่ ทส่ี ามารถเรียงได้

ถกู ต้อง ให้กําลังใจกลุม่ ทย่ี งั เรียงไมถ่ ูกต้อง โดยมคี ําคลอ้ งจองดังนี้

เบา เตา

มากมาย ก่ายกอง

ยุใหร้ าํ ตําใหร้ ั่ว

ฉันเป็นคนไทย จิตใจงดงาม

8. นกั เรียนทําแบบฝึกหัด

ขน้ั ที่ 4 ขน้ั สอ่ื สารและนาํ เสนอ

9. นักเรียนนําเสนอการทาํ แบบฝกึ หดั คาํ คล้อง โดยครใู ชไ้ ม้เรียกเลขทีเ่ รยี กนักเรียน

ออกมานําเสนอหนา้ ชัน้ เรียน นักเรียนชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ เพอื่ เพมิ่ คุณค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ

10. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ช้คําถามดงั นี้

- นักเรยี นสามารถนําความรู้เก่ยี วกบั เรอ่ื งท่เี รยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้อยา่ งไร

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การประเมนิ วธิ กี าร เครอื่ งมอื

ดา้ นความรู้ (K) - การตอบคาํ ถาม - คาํ ถาม
- แบบฝึกหัด
- ทําแบบฝึกหัด - แบบประเมินการอา่ นในใจ
- แบบประเมินการคัดลายมอื
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) - ทักษะการอ่านในใจ - แบบฝกึ หัด
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- ทักษะการเขียน

- ทกั ษะการอา่ น

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ - สังเกตพฤติกรรมในการร่วม

คา่ นิยม (A) กจิ กรรม การทาํ งานกล่มุ

7. สอื่ /อปุ กรณ/์ แหลง่ การเรยี นรู้ 2. บัตรคําคําคล้องจอง
4. ไม้เรียกเลขที่
1. แบบฝึกหัด 6. เกมคําคลอ้ งจอง
3. หนงั สอื ภาษาไทยชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5
5. ตัวอย่างแผนผังความคิด

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)

สัปดาห์ที่ 4

โรงเรยี นขจรเกยี รติพฒั นา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนท.่ี .…1…../.…........ ชอ่ื ผสู้ อน ……………………………………………………..
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที …ี่ …5..... จาํ นวน……5….คาบ
หน่วยการเรียนรู้ ท่ี …….3…… เรอื่ ง…กําเนดิ ผิดพ้นคนท้งั หลาย(วรรณคดีลํานํา)...

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั

มาตรฐานท่ี ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคดิ เพ่อื นําไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดําเนนิ ชวี ติ และ
มนี ิสยั รกั การอา่ น

ตัวชวี้ ัดท่ี ป 5/2 อธิบายความหมายของคําประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา
มาตรฐานที่ ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวในรปู แบบตา่ ง ๆ
เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ ง

ตัวชว้ี ดั ที่ ป 5/2 เขยี นส่ือสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชดั เจนและเหมาะสม
ตวั ชี้วดั ที่ ป 5/9 มีมารยาทในการเขยี น
มาตรฐานท่ี ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็นวจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและนํามาประยกุ ต์ใช้
ในชีวติ จริง
ตัวชวี้ ดั ที่ ป 5/1 สรุปเรอ่ื งจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมที่อา่ น
ตวั ชี้วดั ท่ี ป 5/2 ระบุความร้แู ละขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีสามารถนาํ ไปใชใ้ นชีวิตจริง
ตวั ช้วี ดั ท่ี ป 5/3 อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม

2. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด

การอ่านจับใจความสําคัญ คือ การอ่านเพ่ือจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสําคัญหลักของข้อความ หรือเร่ืองที่อ่าน
การอ่านจับใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสําคัญที่ใช้ในการอ่านเพื่อการส่ือสารมากที่สุด เพราะเป็นพ้ืนฐานสําคัญในการศึกษา
หาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชาํ นาญ

การเขยี นคาํ อวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ ควรเลือกขอ้ ความที่เขยี นแสดงความยนิ ดี หรอื ความปรารถนาดีใช้คําให้เหมาะสมกับ
กาลเทศะ

คาํ พอ้ งรปู คอื คําทเี่ ขยี นเหมอื นกนั อา่ นออกเสียงตา่ งกัน ความหมายตา่ งกัน

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมาย และหลกั การอา่ นจบั ใจความสําคัญ (K)

2. บอกจดุ ม่งุ หมายของการเขยี นบตั รอวยพร (K)
3. รแู้ ละเขา้ ใจหลักการอา่ น การเขียนคําพ้องรปู (K)
4. อา่ นเรอ่ื งได้คล่องแคล่ว รวดเร็วและถกู ต้องตามอกั ขรวิธี (P)
5. แยกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอ่าน (P)
6. เขยี นบัตรอวยพรเนื่องในโอกาสตา่ งๆ (P)
7. อ่าน เขียน และจําแนกคาํ พอ้ งรูปได้ (P)
8. เห็นความสาํ คญั ของการอ่านมารยาทในการอา่ นและเห็นคณุ คา่ ของวรรณคดีไทย (A)
9. เหน็ ความสําคญั ของการใชภ้ าษาในการเขียนบัตรอวยพร (A)
10. กระตือรือร้นและมสี ่วนรว่ มกบั การจัดกิจกรรมการ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

1. อธบิ ายความหมาย และหลกั การอ่านจับใจความสําคัญของเร่ืองได้
2. บอกจดุ มุ่งหมายของการเขียนบตั รอวยพรได้
3. รูแ้ ละเขา้ ใจหลักการอ่าน การเขียนคาํ พ้องรปู

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน

คาบท่ี 1 สาระสาํ คญั
การอ่านจับใจความสาํ คัญ คอื การอ่านเพอ่ื จบั ใจความหรอื ข้อคดิ ความคดิ สําคัญหลกั ของ

การอ่าน ขอ้ ความ หรอื เร่ืองทอ่ี ่านการอ่านจับใจความสําคัญ ถือเป็นทักษะสาํ คัญท่ใี ชใ้ นการอา่ นเพ่อื การส่ือสาร

จับใจความกาํ เนดิ มากทีส่ ดุ เพราะเป็นพ้ืนฐานสาํ คญั ในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้เกิดความชํานาญ
ผิดพน้ คน
ทง้ั หลาย ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั รวบรวมขอ้ มลู
1. นักเรยี นทบทวนเกีย่ วกับการอ่านสรปุ ใจความ โดยใช้คําถาม ดงั ตอ่ ไปนี้

- การอา่ นสรปุ ใจความคอื อะไร

- นักเรยี นใชท้ ักษะอะไรบ้างในการอ่านสรุปใจความ

* ในการตอบคําถามให้ครูใชไ้ มเ้ รยี กเลขท่ี เพื่อใหน้ กั เรียนตอบทีละคน โดยถามคาํ ถามกอ่ นจะเรียก

เลขท่ีเพือ่ ใหท้ กุ คนไดค้ ิด ในแต่ละคําถามควรใหน้ ักเรยี นนําเสนอ 4-5 คน

ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ

2. แบ่งนักเรยี นออกเป็น 5 กลุ่ม ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่องกําเนิดผิดพ้นคนท้ังหลาย ใน

หนังสือเรียนภาษาไทย(วรรณคดีลํานํา)ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยนําหลักการอ่านภาษาไทยมาใช้ ครู

สงั เกตการอา่ นของนักเรียนแตล่ ะคนว่าปฏบิ ัติได้ถกู ต้องตามหลักการอา่ นหรือไม่


Click to View FlipBook Version