โครงการสอนทีม่ ่งุ เน้นมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี
บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
รหัส 30101-2006 วชิ า งานเครอ่ื งสูบและเครื่องอัดอากาศ
หลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562
ประเภทวชิ าชา่ งอุตสาหกรรม
สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน ยานยนต์
จดั ทำโดย
นายอคั รนิ ทร์ กลบั สงู เนิน
ครสู าขาวชิ า ชา่ งยนต์ สาขางาน ยานยนต์
วทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
คำนำ
แผนการสอนวิชางานอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์เบื้องต้น รหัสวิชา 20101-2103 จัดทำขึ้นเพื่อใช้
เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน วิชา งานอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์เบื้องต้น ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ (ปวช.) พุทธศักราช 2563 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดย
จัดการเรยี นการสอนทงั้ หมด 18 สปั ดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชัว่ โมง เนื้อหาภายในแบง่ ออกเปน็ 4 หน่วย
ในแผนการสอนได้ วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา จุดประสงค์รายวิชา และสมรรถนะรายวิชา
ภาคทฤษฎี 27 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ 45 ชั่วโมง โดยได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย เช่นการสอนแบบฝึกปฏิบัติ การสอนแบบงานอิเล็กทรอนิกส์
รถยนตเ์ บือ้ งต้น ( piBL ) เป็นตน้ รวมถงึ ใช้วธิ ีการวัดและประเมนิ ตามสภาพจรงิ เพอ่ื ใหเ้ ห็นถึง การพัฒนา
สมรรถนะของผเู้ รยี น
ท้ายท่ีสุดนี้ ผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหล่งความรู้ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วน
สำคัญที่ทำให้แผนการสอนเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย และหากผู้ใช้พบข้อบกพร่องหรือมี
ขอ้ เสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจ้งผ้จู ดั ทำทราบดว้ ยจักขอบคุณย่งิ
ลงชอื่
(นายอัครินทร์ กลับสูงเนิน)
งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน วิทยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2564
ลกั ษณะรายวชิ า
รหัสและชือ่ วิชา 30101-2006 วิชา งานเคร่อื งสบู และเครื่องอัดอากาศ
หนว่ ยกิต (ท-ป-น) 1-3-2 เวลาเรียนตอ่ ภาคเรยี น 90 ชว่ั โมง
รายวิชาตามหลักสูตร
จดุ ประสงค์รายวิชา
1. เข้าใจหลกั การทํางานของเครอ่ื งสบู และเคร่อื งอดั อากาศ
2. สามารถตรวจซ่อม บรกิ าร บาํ รุงรกั ษาเครื่องสูบและเคร่ืองอดั อากาศ
3. มีความรับผิดชอบตรงตอ่ เวลาเจตคติทีด่ ีและเกดิ ความคิดรวบยอดเกย่ี วกับเครอื่ งสบู และเครื่องอดั
อากาศ
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกย่ี วกบหลักการทาํ งานของเครอ่ื งสูบและเครอ่ื งอดั อากาศ
2. ถอด ประกอบ ตรวจสอบชน้ิ สว่ น อปุ กรณ์ควบคุมความปลอดภัยของเครอ่ื งสบู และเครอื่ งอดั อากาศ
3. บาํ รุงรักษาเครอื่ งสบู และเครือ่ งอดั อากาศตามค่มู อื
คำอธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาและปฏิบัติเกย่ี วกับเครื่องสบู และเครอ่ื งอดั อากาศ หลกั การทํางาน การถอด ประกอบ ตรวจสอบ
และ การบํารงุ รักษาอุปกรณค์ วบคมุ ความปลอดภัยของเคร่อื งสบู และเครอ่ื งอดั อากาศ
งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน วิทยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก,2564
ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
รหสั 30101-2006 วชิ า งานเคร่ืองสบู และเครอื่ งอัดอากาศ หน่วยกติ . 2
ชัน้ . ปวช. สาขาวชิ า/กลุม่ วชิ า/. สาขาวิชาช่างยนต์
พทุ ธิพสิ ัย
ความรู้
พฤติกรรม ความข้าใจ
นำไปใ ้ช
ชอื่ หน่วย ิวเคราะห์
สังเคราะห์
ประเ ิมน ่คา
ทักษะพิ ัสย
ิจตพิ ัสย
รวม
ลำ ัดบความสำ ัคญ
จำนวนคาบ
ชนิดและประเภทของป๊ัม 222 1 3 1 5 1 10
ระบบการทำงานของปั๊ม 222 1 4 2 5 2 10
การเลือกใช้ป๊มั ใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน 222 1 3 2 5 3 10
วิธกี ารอนรุ ักษพลังงานของป๊มั 222 1 4 2 5 4 15
การทำงานระบบอัดอากาศ 222 1 4 2 10 5 15
การเลือกใช้เครื่องอัดอากาศและอุปกรณ์ใน 222 1 4 2 10 6 15
ระบบอดั อากาศ
การอนรุ กั ษพลงั งานในระบบอัดอากาศ 222 1 4 2 10 7 15
รวม 11 14 14 0 0 7 26 13 100 90
ลำดบั ความสำคัญ
หมายเหตุ ระดับพทุ ธิพสิ ยั 1 = ความจำ 2 = ความเข้าใจ
3 = การนำไปใช้ 4 = การวิเคราะห์
5 = การสังเคราะห์ 6 = ประเมนิ คา่
ระดับทักษะพิสัย 1 = การเลยี นแบบ 2 = ทำตามแบบ
3 = ความถูกต้องตามแบบ 4 = การกระทำอยา่ งต่อเนือ่ ง
5 = การทำจนเคยชนิ
ระดับจติ พสิ ยั 1 = การเรยี นรู้ 2 = การตอบสนอง
3 = การสรา้ งคุณค่า 4 = การจัดระบบ
5 = การสรา้ งลกั ษณะนสิ ัย
งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน วิทยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ ,2564
กำหนดการสอน
สปั ดาห์ ชัว่ โมง ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ /รายการสอน สมรรถนะประจำหนว่ ย/ จำนวน คา่ คะแนน
ท่ี ท่ี เกณฑ์การปฏบิ ตั ิงาน ช่วั โมง ประจำ
10 หน่วย
1-2 1-10 1.ชนิดและประเภทของปั๊ม (๑) แยกตามลักษณะการไหล
10 5
ของของเหลวในของป๊ัม
10 5
(๒) แยกตามลกั ษณะการขับ
10
ดันของเหลวในของปั๊ม
(๓) ตารางเปรียบเทยี บของ
ป๊ัม แต่ละชนิด
(๔) อัตราการสูบและความ
ดนั ของป๊มั แตล่ ะชนดิ
3-4 11- 2. ระบบการทำงานของปม๊ั (๑) การตดิ ตง้ั ป๊มั ในลักษณะ
20 ตา่ งๆ
(๒) การตอ่ ร่วมแบบขนาน
(๓) การต่อรว่ มแบบอนกุ รม
(๔) สมรรถภาพในการดดู
ของเคร่อื งสูบ (NPSH)
(๕) คาวเิ ตชัน่ (Cavitation)
(๖) ผลของความต้านทานใน
ท่อเปลย่ี น
(๗) การเปลย่ี นแปลง
ความเร็วรอบการหมุนของ
ปม๊ั
(๘) การเปลี่ยนแปลงขนาด
ใบพดั ของปัม๊
5-6 21-30 3.การเลือกใช้ปั๊มให้เหมาะสมกับ การใช้ (๑) การเลือกเครื่องปัม๊ น้ำสำ
งาน หรับบ้านพกั อาศัย
(๒) การเลือกเครื่องปั๊มน้ำ
ส ำ ห ร ั บ อ า ค า ร ข น า ด ใ ห ญ่
และโรงงานอตุ สาหกรรม
งานพฒั นาหลักสูตรการเรยี นการสอน วทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก,2564
7-9 31-45 4.วิธกี ารอนรุ ักษพลังงานของปัม๊ (๑) การเลือกป๊ัมที่เหมาะสม 15 10
ในการใชง้ าน
10-12 46-60 5.การทำงานระบบอดั อากาศ (๒) การเปลี่ยนใบพัดและ 15 10
13-15 61-75 6.การเลือกใชเ้ คร่ืองอัดอากาศและ การลดขนาดใบพดั 15 10
(๓) ควบคมุ การเปิด วาลว
อุปกรณ์ในระบบอดั อากาศ ดา้ นดดู และวาลว ดา้ นจา่ ย
(๔) การควบคุมความเรว็ รอบ
ของป๊ัมการควบคมุ ความเร็ว
ของป๊ัม
(๕) เลอื กเดนิ ปั๊ม
ประสิทธิภาพสงู เป็นหลัก
(๖) การออกแบบโดย
คุณลักษณะทเ่ี หมาะสม
(๗) การออกแบบทอ และ
อุปกรณ์อ่นื ท่ีสัมพันธ์กัน
อย่างเหมาะสม
(๘) การลดการ by-pass ใน
ระบบ
(๙) การปรบั ตั้งแนวการขับ
(Aliment)
๑) เครอ่ื งอดั อากาศท่ีใช
ลกั ษณะการแทนทข่ี อง
อากาศ (Dynamic)
(๒) เคร่ืองอัดอากาศทอี่ ัด
อากาศเชิงปรมิ าตร
(Displacement)
(๑) การเลอื กขนาดและชนดิ
ของเครือ่ งอัดอากาศที่
เหมาะสม
(๒) การเลอื กขนาดถงั เก็บ
อากาศ
(๓) การเลอื กขนาดทอสงจาย
อากาศอดั และการตดิ ต้งั ใช
งาน
(๔) การปรบั ปรงุ คุณภาพ
อากาศอัด (Treatment of
Compressed air)
งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก,2564
16-18 76-90 7.การอนุรักษพลงั งานในระบบอดั อากาศ (๑) การลดอุณหภมู ขิ อง 15 10
อากาศก่อนเขาเครอ่ื งอัด 90 30
อากาศ 20
(๒) การปรับปรุงทอเมนสง 100
จายอากาศอัด
(๓) การลดแรงดันในการ
ผลติ อากาศอัด
(๔) การลดการรั่วไหลของ
อากาศอดั
(๕) ปรบั ปรุงถังเก็บอากาศ
อัด (ถังเล็ก) เพอื่ การ
ประหยัดพลงั งาน
(๖) การจัดโหลดเครอ่ื งอัด
อากาศให้เหมาะสมกบั ความ
ตองการ
(๗) การลดพฤตกิ รรมการใช้
อากาศอัดทีไ่ ม่เหมาะสม
(๘) การเลือกใช้อปุ กรณ์
ประสิทธภิ าพสูง
(๙) การบำรงุ รักษากรอง
อากาศ และจดุ กรองอ่นื ๆ
ของระบบอดั อากาศ
18 90 ประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น
จิตพสิ ัย
งานพัฒนาหลกั สตู รการเรยี นการสอน วิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก,2564