1.5 การวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้
กระบวนการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบทส่ี ง่ ผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนได้เตม็ ตามศกั ยภาพ
หลกั ฐาน/ร่องรอยประกอบการกลน่ั กรอง
วิจัยในช้นั เรยี น
ตวั อยา่ ง
รายงานการวิจัยในช้นั เรียน
เร่ือง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/1
รายวิชา ง21104 การงานอาชีพ 2 โดยใชส่ือประสม
ผ้วู ิจัย
นายภสั พงษ์ โพธิเ์ มอื ง
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
โรงเรียนพระโขนงพทิ ยาลัย
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
บนั ทึกข้อความ
สว่ นราชการ โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย
ที่ วันที่ 11 มีนาคม 2565
เรื่อง สง่ รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรียน ปกี ารศึกษา 2564
เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นพระโขนงพทิ ยาลัย
ข้าพเจ้านายภัสพงษ์ โพธิ์เมือง ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชพี สอนรายวชิ า ง21104 การงานอาชพี 2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ตามท่ีกลมุ่ บริหารวชิ าการ กำหนดใหม้ กี ารทำ
วจิ ัยในชน้ั เรียน เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพ และแกป้ ญั หาในการจัดการเรียนการสอนในช้นั เรียน
บดั น้ี ข้าพเจา้ ไดด้ ำเนนิ การจัดทำวจิ ัยในชั้นเรยี นเสร็จเปน็ ที่เรียบร้อยแลว้ จงึ ขอส่งรายงานการวิจัยใน
ชั้นเรยี น เรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 รายวิชา ง21104 การงาน อาชีพ 2
โดยใชส่อื ประสม
จงึ เรียนมาเพื่อทราบ
(นายภสั พงษ์ โพธเ์ิ มือง)
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
ชือ่ เรอื่ ง การแกป้ ัญหาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/1 รายวชิ า ง21104 การงานอาชพี 2
โดยใชสือ่ ประสม
ชือ่ ผู้วจิ ัย นายภัสพงษ์ โพธิ์เมือง
บทคัดย่อ
เพอื่ แกป้ ัญหานักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/1 รายวชิ า ง21104 การงานอาชีพ 2 ทม่ี ีผลสัมฤทธ์ิต่ำกว่าค่า
เป้าหมาย (ร้อยละ 60 ) โดยใช้สื่อประสม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนา
จากการปฏิบัติกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2564 จำนวน 3 แผน รวมเวลาเรียน 6 ชั่วโมง และแบบประเมินผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา ง
21104 การงานอาชีพ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จากการวิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยได้ว่า จำนวน
นักเรียนมีผลการเรียนน้อยกว่าค่าเป้าหมายของโรงเรียน (ร้อยละ 60) ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ
(Active Learning) พบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 มีจำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนน้อยกว่าค่า
เป้าหมายของโรงเรยี น (ร้อยละ 60) ลดลง ร้อยละ 66.67