การ สอบเทียบ
คำ นำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฉบับนี้เป็น ส่วนหนึ่งของรายวิชา การสร้างหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ชั้น ชั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โดยมีวัตถุประ สงค์เพื่ิอศึกษาความรู้เรื่อง การสอบเทียบ ผู้จัดทำ ได้เลือกหัวข้อนี้ในการ ทำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เนื่องจากเป็น เรื่องที่น่าสนใจ หวังว่าหนังสืออิเล็กทรอ นิกส์ฉบับนี้จะให้ความและเป็นประโยชน์ แก่ท่านผู้อ่านทุกๆท่าน จัดทำ โดย เด็กหญิง กรองทอง อ่วยยื่อ ชั้น ชั้ 2/2
สารบัญ 1. สอบเทียบ คืออะไร 2. การสอบเทียบ (Calibration) กับ การปรับค่า (Adjustment) 3. การสอบเทียบ ดีอย่างไร ? 4. การสอบเทียบเครื่องมือวัด สำ คัญอย่างไร? 5. ทำ ไมต้องมีการสอบเทียบ 6.นักเรียนควรสอบเทียบไหม
1 สอบเทียบ คือ การสอบในหลักสูตรการเรียนอื่น ๆ ที่อยู่ใน ระดับเดียวกันกับระบบการศึกษาหลัก เช่น สอบเทียบ ม.6 ด้วยหลักสูตรอื่น ๆ แล้วได้วุฒิเทียบเท่า ม.6 มา เป็นต้น โดย การสอบเทียบนั้น นั้ ส่วนใหญ่แล้วเรามักจะเห็นในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายเป็นส่วนใหญ่ บางคนเรียกสอบเทียบ ม.6 บ้างก็อาจจะเรียกว่า สอบเทียบเข้ามหาวิทยาลัยก็ได้ ซึ่ง ในประเทศไทยจะมีหลักสูตรสำ หรับการสอบเทียบให้เลือกทั้ง ทั้ ภาคไทยปกติและแบบนานาชาติ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.), General Educational Development (GED), IGCSE & A Level หรืออาจจะเป็นระบบ Home School อื่น ๆ สอบเทียบ คืออะไร
2 โดยข้อสอบทุกวิชาจะเป็นภาษาอังกฤษทั้ง ทั้ หมด และส่วนใหญ่ จะเป็นแบบเลือกตอบ เติมคำ มีการเขียนตอบบ้างในบาง รายวิชา คะแนนเต็มวิชาละ 200 คะแนน กำ หนดเกณฑ์การ ผ่านที่วิชาละ 145 คะแนน เรียกได้ว่าเกณฑ์การผ่านนั้น นั้ ก็ไม่ ง่าย แต่ก็ไม่ได้ยากเสียทีเดียว โดยเมื่อสอบ GED ครบถ้วน แล้ว สิ่งที่เราจะได้มาคือ ประกาศนียบัตรการจบหลักสูตร หรือที่เรียกว่า Diploma ซึ่งก็คือวุฒินั่น นั่ เอง และนอกจากนี้จะ ได้รับใบรายงานผลคะแนนสอบ (Transcript) ของแต่ละวิชา อีกด้วย ซึ่งจะต้องนำ ไปใช้ยื่นสมัครเรียนในระดับ มหาวิทยาลัยต่อไป การสอบเทียบ GED มีจัดสอบทุกวัน ในแต่ละวันมีหลายช่วง เวลาให้เลือกสอบ ค่าสมัครสอบจะอยู่ที่ $75 ต่อรายวิชา ใคร ที่พื้นฐานไม่ดี ไม่มั่น มั่ ใจในการสอบ แอบมีข่าวดีมาบอกว่า หากเราสอบ GED ไม่ผ่านในรายวิชาใด เราสามารถสอบใหม่ ได้โดยไม่ต้องรอระยะเวลา ซึ่งกำ หนดโควตาการสอบใหม่ แบบนี้ ให้สูงสุดถึงวิชาละ 3 ครั้ง รั้ แต่ถ้าครบโควตานี้แล้ว แต่ ยังคงสอบไม่ผ่านและและอยากสมัครสอบใหม่ น้อง ๆ อาจจะ ต้องรอประมาณ 60 วัน ถึงจะสมัครสอบได้อีกครั้ง รั้ ค่ะ
การสอบเทียบ คืออะไรในเชิงวิชาการ การสอบเทียบ คือ การสอบเพื่อวัดระดับทักษะความรู้ของ บุคคลผู้นั้น นั้ ว่ามีเพียงพอที่จะก้าวขึ้นสู่การเรียนรู้ในรูปแบบที่ สูงขึ้นมากน้อยเพียงใด ปกติมักใช้กับการสอบในเรื่องการ เรียน เช่น การสอบเทียบเข้าเรียนต่อในระดับ ม.ปลาย โดย ไม่ต้องเรียน ม.ต้น หรือการสอบเทียบเพื่อเข้าเรียน อุดมศึกษา โดยไม่ต้องรอให้จบ ม.ปลาย แต่ทั้ง ทั้ นี้ตัวของผู้ สอบเองต้องมั่น มั่ ใจว่ามีทักษะ ความรู้ที่ไม่ใช่แค่การระดับการ ศึกษาที่ตนเองเรียน แต่ต้องรู้เกี่ยวกับทักษะที่ตนเองจะต้อง สอบหรือนำ ไปใช้เพื่อศึกษาต่อในอนาคตด้วย นอกจากเรื่องการเรียนแล้วจริง ๆ การสอบเทียบยังหมาย ถึงการสอบเพื่อวัดทักษะในด้านอื่น ๆ แล้วเลื่อนขั้น ขั้ ให้สูง กว่าเดิม เช่น สอบเทียบเข้าทำ งาน, สอบเทียบเพื่อขึ้นสู่ ตำ แหน่งตามแนวทางที่องค์กรจัดเอาไว้ เป็นต้น ภาพรวม จึงขึ้นอยู่กับว่ามีวัตุประสงค์เรื่องใดเป็นหลัก แต่ความหมาย ก็ไม่ต่างกันเท่าใดนัก 3
4 การสอบเทียบ (Calibration) กับ การปรับค่า (Adjustment) Calibration & Adjustment การสอบเทียบเครื่องมือวัดอย่างเดียว โดยไม่มี การปรับตั้ง ตั้ (Adjustment) หรือ ปรับค่าแก้ (Correction) ให้กับเครื่องมือวัดนั้น นั้ มันอาจจะส่ง ผลให้เครื่องมือวัดที่ใช้งานอยู่ จะมีค่าความผิด พลาดมากกว่าค่าความผิดพลาคที่ยอมรับได้ (Tolerance) เมื่อนำ เครื่องมือวัดนั้น นั้ ไปวัดงานโดย ไม่ได้คำ นึงถึงค่าความผิดพลาดที่ได้จากการสอบ เทียบ
รวมไปถึงทำ ให้ค่าความแน่นยำ (Accuracy) ของเครื่องมือ วัดนั้น นั้ ไม่อยู่ในขีคจำ กัดของความแน่นยำ (Accuracy Limit) และถ้าไม่มีการปรับตั้ง ตั้ หรือปรับค่าแก้ให้กับเครื่องมือ วัดหลายๆปีอาจส่งผลให้เครื่องมือวัดไม่สามารถปรับตั้ง ตั้ หรือ ปรับค่าแก้ให้กับเครื่องมือวัดนั้น นั้ ได้เลย การปรับตั้ง ตั้ หรือการปรับค่าแก้ให้กับเครื่องมือวัดอย่าง สม่ำ เสมอจะทำ ให้เครื่องมือวัดมีค่าที่แม่นยำ ที่ดีขึ้น และยัง ทำ ให้เครื่องมือวัดอยู่ในขีดจำ กัดของความแม่นยำ (Accuracy Limit) อายุการใช้งานของเครื่องมือวัดจะขึ้นอยู่กับเวลาการใช้งาน และวิธีการ ใช้งาน แต่ถ้ามีการปรับตั้ง ตั้ หรือการปรับค่าแก้ให้ กับเครื่องมือวัดก็จะทไให้อายุการใช้งานของเครื่องมือวัด ยาวนานยิ่งขึ้น จนกว่าจะถึงเวลาที่จะต้องซ่อมหรือบำ รุง รักษา (Maintenance) 5
6 การสอบเทียบ ดีอย่างไร ? จะดีแค่ไหน หากมีหลักสูตรสอบเทียบที่จะทำ ให้เราได้รับ วุฒิเทียบเท่า ม. ปลายได้รวดเร็วภายใน 1 เดือน ให้น้อง ๆ มีเวลาเหลือสำ หรับการเตรียมตัวเรียนต่อในระดับ มหาวิทยาลัยได้มากยิ่งขึ้น หากใครกำ ลังมองหาไลฟ์สไตล์ การเรียนแบบนี้อยู่ล่ะก็ ต้องไม่พลาดการสอบ GED เลยค่ะ เพราะนอกจากจะมีตารางสอบที่เปิดให้สอบบ่อยมากๆแล้ว รายวิชาที่ต้องสอบ ...
6 หลายคนอาจเคยได้ยินชื่อของ GED กันมาบ้างแล้ว ซึ่ง เป็นการสอบเทียบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบ เท่ากับจบ ม.6 จากในโรงเรียนนั่น นั่ เอง ตัวการสอบนั้น นั้ อ้างอิงจากหลักสูตรของสหรัฐอเมริกา โดย แบ่งออกเป็นการวัดความรู้ใน 4 แขนงหลัก ได้แก่ วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์กับการใช้เหตุผล, สังคมศึกษา, และ การอ่านเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อเทียบว่าความรู้ของ เรา ผ่านเกณฑ์จบการศึกษาในระดับม.ปลายได้หรือไม่ หลักเกณฑ์สำ คัญในการสอบ GED คือเราต้องมีอายุ 16 ปี ขึ้นไป หากผ่านปุ๊ปก็สามารถสมัครสอบที่ www.ged.com ได้เลย (ถ้ายังอายุไม่ถึง 18 ปี ยังต้องให้ผู้ปกครองเซ็นใบ อนุญาตก่อน และอาจต้องรอยืนยันประมาณ 1-2 อาทิตย์ ด้วยกัน)
8 การสอบเทียบเครื่อ รื่ งมือวัด สำ คัญอย่างไร? ในโรงงานอุตสาหกรรม “การสอบเทียบเครื่องมือ วัด” ถือได้ว่าเป็นเรื่องที่สำ คัญในทุกครั้ง รั้ ที่มีการใช้ งานเครื่องมือวัด ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งาน และธุรกิจ เกิดความมั่น มั่ ใจในผลลัพธ์ที่ตรวจสอบบันทึกและ ควบคุมได้ในภายหลัง ซึ่งเป็นที่รู้กันว่า เป้าหมาย ที่สำ คัญของการสอบเทียบ คือการลดความไม่ แน่นอนที่เกิดขึ้นโดยการรับรองความถูกต้องของ อุปกรณ์ทดสอบ ซึ่งวันนี้เราจะมาไขข้อสงสัยกัน ว่าCalibration คืออะไร? ความแตกต่างที่คนมัก เข้าใจกันผิดบ่อย ๆ อย่าง คำ ว่า “Calibrator” และ “Calibration” ใช้งานแตกต่างกันอย่างไร? และการสอบเทียบเครื่องมือวัดมีความสำ คัญ อย่างไรกับอุตสาหกรรมการผลิตที่จะช่วยให้คุณ เข้าใจและสามารถใช้งานเครื่องมือได้ถูกต้อง
9 การสอบเทียบมีความสำ คัญต่อชีวิตประจำ วันของ เรา ไม่ว่าจะเป็น ตลาดสด โรงพยาบาล ห้องปฏิบัติ การ อุตสาหกรรมขนาดย่อม โรงงานอุตสาหกรรมที่ ต้องการขอการรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ครอบคลุมไปถึงอุตสาหกรรมทุกประเภท เนื่องจาก การสอบเทียบ เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่จะช่วย สร้างความเชื่อมั่น มั่ ผลการวัดของ เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการผลิต ซึ่งเปรียบเสมือนหลัก ประกันที่ใช้ในการควบคุม คุณภาพในกระบวนการ ผลิตนั่น นั่ เอง ฉะนั้น นั้ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการ ผลิต ยกระดับมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และเสริม สร้างความแข็งแกร่งในการแข่งขันทางการค้า ระหว่างประเทศ การสอบเทียบจึงเป็นสิ่งที่สำ คัญใน การควบคุมคุณภาพของเครื่องมือ
10 ปัจจุบันการสอบเทียบเครื่องมือวัด (Calibration) เป็นกระ บวนการหนึ่งในอุตสาหกรรมที่ใช้สร้างความเชื่อมั่น มั่ ว่าเครื่อง มือวัดที่ใช้งานอยู่นั้น นั้ ยังคงคุณภาพและมาตราฐานถูกต้อง แม่นยำ เหมาะสมแก่การใช้งาน ในกระบวนการผลิต เพื่อ นำ ไปสู่ผลลัพธ์สุดท้าย คือ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมาได้อย่าง มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่โรงงานกำ หนด โดยการสอบ เทียบเครื่องมือวัด คือการเปรียบเทียบค่าของเครื่องมือวัด ตัวนั้น นั้ ๆ กับค่ามาตราฐานของห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ สามารถสอบกลับได้สู่มาตรฐานแห่งชาติ หรือมาตรฐาน ระหว่างชาติได้ โดยการสอบเทียบนั้น นั้ ห้องปฏิบัติการสอบ เทียบจะต้องรายงานค่าความไม่แน่นอนของการวัด วัตถุประสงค์ของการสอบเทียบ 1. เพื่อตรวจสอบสมรรถนะของเครื่องมือวัดนั้น นั้ ๆว่ายังเหมาะ สมกับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน 2.เพื่อให้ทราบค่าผลการวัดที่แท้จริงของเครื่องมือ และนำ ค่า แก้ (correction) ไปใช้งาน หรือไปประเมินผล 3. เพื่อนำ ผลการสอบเทียบที่ได้มายืนยันความใช้ได้ของ เครื่องมือ 4. เพื่อให้มีความถูกต้องแม่นยำ ของเครื่องมือทำ เกิดความเชื่อ มั่น มั่ กับผู้ใช้งานเครื่องมือวัด
10 ดังนั้น นั้ จึงจำ เป็นต้องมีการสอบเทียบเครื่อง มือเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าที่เครื่อง มือวัดบอก ระบบการวัด หรือค่าที่แสดง โดยเครื่องวัดกับค่าจริงที่ยอมรับร่วม กัน(Conventional True Value) (VIM 6.11) เพื่อเป็นการยืนยันความถูกต้องของเครื่อง มือและอุปกรณ์ที่ใช้อยู่ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากลและสามารถสอบกลับได้ ทางการวัด อีกทั้ง ทั้ ยังสามารถรักษาสภาพ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆให้คงอยู่ และเป็นไป ตามมาตรฐานของเครื่องมือวัดแต่ละชนิด
11 ทำ ไมต้องมีการสอบเทียบ คำ ถามยอดฮิตที่มีคนตั้ง ตั้ คำ ถามมากมายว่าทำ ไมต้อง ทำ การสอบเทียบเครื่องมือวัด ก่อนอื่นต้องขอยกตัวอย่างที่ เห็นได้ชัดเจนและใกล้ตัวเราที่สุด เช่น นาฬิกาข้อมือ ที่ใช้ กันอยู่ทุกวัน เคยสังเกตบ้างไหมว่า ในตอนที่ซื้อนาฬิกามา เราจะทำ การปรับตั้ง ตั้ เวลา ให้ถูกต้องกับเวลามาตรฐาน แต่ เมื่อใช้ไปซักพัก นาฬิกาอาจบอกเวลาช้าหรือเร็วกว่าปกติ ทั้ง ทั้ ที่แบตเตอร์รี่ของนาฬิกายังอยู่ในสภาพที่สามารถใช้งาน ได้ดี นอกจากนี้บ่อยครั้ง รั้ ที่ ต้องทำ การตรวจสอบว่านาฬิกา ยังคงบอกเวลาที่ถูกต้องอยู่หรือไม่ โดยอาจเทียบกับเวลา เคารพธงชาตื 08.00 น. หรือ 18.00 น. หรือเทียบกับเวลา มาตรฐาน ที่หมายเลขโทรศัพท์ 181 ซึ่งการตรวจสอบนี้จะ กระทำ เป็นระยะ ๆ ำพื่อให้แน่ใจว่า นาฬิกาของเรายังคง บอกเวลาได้ถูกต้องอยู่เสมอ ทั้ง ทั้ นี้เนื่องจากว่าถ้านาฬิกา สามารถบอกเวลา ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ย่อมจะไม่ กระทบต่อกิจกรรมและการดำ เนินชีวิตประจำ วัน และยัง เป็นปัจจัยสำ คัญที่ช่วยสนับสนุนให้การดำ เนินงานต่าง ๆ ประสพความสำ เร็จได้อย่างราบรื่น เช่น การประชุม การนัด หมาย หรือการปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น
12 เครื่องมือวัดที่ใช้ในกระบวนการผลิตของภาคอุต สหกรรมก็เช่นกัน โรงงานอุตสหกรรมก็จะมี กระบวนการในการตรวจสอบและสอบเทียบเครื่อง มือวัดให้มีความถูกต้องตามขอบข่าย ความคลาด เคลื่อนที่ยอมรับได้และกำ หนดไว้ เพื่อให้ได้มาตร ฐาาก่อนนำ ออกจำ หน่าย เมื่อภาคอุตสาหกรรมอื่น ๆ สั่ง สั่ ซื้อเครื่องมือดังกล่าว ก็จะได้รับรองผลการ ตรวจสอบ (inspection certificate) หรือใบรับรอง ผลการสอบเทียบ (colibration certificate) เครื่อง มือวัดนั้น นั้ ๆ มาด้วย ทั้ง ทั้ นี้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงในการ สั่ง สั่ ซื้อ โดนในใบรับรองผลการตรวจสอบหรือผล การสอบเทียบจะระบุสมบัติเฉพาะต่าง ๆ ของ เครื่องมือ เช่น พิสัยการวัด (range) ค่าความ ละเอียด (resolution) ค่าความถูกต้อง (accuracy) และสภาวะแวดล้อม ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นที่ เครื่องมือสามารถทำ งานได้ เป็นต้น
13 บรรณานุกรม chulatuto .(2023). https://www.chulatutor.com/blog/%E0%B8%AA%E 0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8% 97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A/#.Y9i -gnZBzGJ การสอบเทียบ (Calibration) กับ การปรับค่า (Adjustment) .(2023). https://www.maxvalue.co.th/th/content/6081/%E0%B8%81%E0%B 8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E 0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A %E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8 %B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0 %B8%9A%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2
14
15